หน่วยที่ 2

Download Report

Transcript หน่วยที่ 2

หน่วยที่ 2
คุณภาพชีวิต
ข้ อใดคือลักษณะของบุคคลทีม่ ีคุณภาพชีวติ
ก.
ข.
ค.
ความหมายของคุณภาพชีวติ
สภาวะแห่ งความพร้ อมของบุคคลทั้ง
ร่ างกาย จิตใจและปัจจัยทีใ่ ช้ ในการ
ดารงชีวติ
บุคคลทีม่ ีคุณภาพชีวติ ทีด่ ี ดังนี้
บุคคลทีม่ ีคุณภาพชีวติ ทีด่ ี ดังนี้
การพัฒนาคุณภาพชีวติ
สามารถพัฒนาได้ในด้านต่อไปนี้
การพัฒนาคุณภาพชีวติ
แนวทางในการพัฒนาคุณภาพชีวติ
การแก้ปัญหาโดยใช้ วธิ ีการทางวิทยาศาสตร์ 6 ขั้นตอน
1. ระบุปัญหา
2. สร้ างความเชื่อมั่น
ทราบว่ าปัญหาทีเ่ กิดขึน้ คืออะไร
เชื่อมั่นว่ าต้ องแก้ไขปัญหาที่
เกิดขึน้ ได้
แนวทางในการพัฒนาคุณภาพชีวติ
3. การกาหนดเป้าหมาย
ต้ องมีการวางแผนและ
กาหนดเป้าหมาย สร้ างแรงจูงใจ
4. การลงมือปฏิบตั ิ
เตรี ยมความพร้อม หาวิธีการ
ในการแก้ปัญหาทาตามแผน
ที่วางไว้ให้บรรลุผลตามเป้ าหมาย
แนวทางในการพัฒนาคุณภาพชีวติ
5. การปฏิบัติต่อ
วิธีการแก้ปัญหาทีต่ ้ องทาเป็ นนิสัย
หรือสร้ างพฤติกรรมเพือ่ แก้ปัญหา
6. ประเมินผลและแก้ไข
ผลจากการแก้ปัญหาไม่เป็ นที่
พอใจ ต้องปรับวิธีการคิด
ให้บรรลุเป้ าหมายที่ต้ งั ไว้ได้
คุณภาพของคนทีอ่ ยู่ในโลกของวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
1. ใช้ สติปัญญาอย่ างปัญญาชนคนมีการศึกษา
รู ้จกั คิด
รู ้ปฏิบตั ิ
คิดตามเหตุผล
2. การมีความฉลาดทางอารมณ์
1. Intelligence Quotient (IQ) หมายถึง ความสามารถใน
สติปัญญา เชาวน์ ไหวพริบ สติปัญญา ความสามารถในการแก้ปัญหา
2. Emotion Quotient (EQ) หมายถึง ความฉลาดทางอารมณ์
มีความสามารถในการระงับอารมณ์ เพือ่ ให้ ผู้ร่วมกับผู้อนื่ ได้ อย่ างมี
ความสุ ข มีทกั ษะสร้ างสรรค์ มีจินตนาการ
3. Adversity Quotient (AQ) หมายถึง ความฉลาดในการ
เผชิญปัญหา หรือความสามารถที่จะเผชิญความยากลาบาก
4. Moral Quotient (MQ) หมายถึง ความฉลาดทางคุณธรรม
ความสามารถในการควบคุมตนเอง มีความรับผิดชอบ
ซื่อสั ตย์ ความกตัญญู เป็ นคนดี มีระเบียบวินัย
มี
5. Physical Quotient (PQ) หมายถึง ความฉลาดทาง
พลานามัยมีความมั่นใจในการเคลือ่ นไหว ร่ างกายสมบูรณ์ แข็งแรง
ถ้ าจะเล่นก็เล่นอย่ างมีความสุ ข
6. Social Quotient (SQ) หมายถึง ทักษะทางสั งคม การ
ใช้ ชีวติ อยู่ร่วมกับผู้อนื่
3.มีคุณธรรม จริยธรรม ไม่ เห็นแก่ตวั ซื่อสั ตย์ สุจริต
4. สุ ขภาพร่ างกายแข็งแรง รู้ จักพักผ่ อน กิจกรรมนันทนาการ
5. เศรษฐกิจพอเพียง
6. รู้ จักเลือกใช้ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้ อม
เช่ น การเลือกใช้ พลังงานทดแทน
7. รู้ จักหน้ าทีข่ องตนเองว่ าอยู่ในสภาวะใด
ตามสภาพทีพ่ งึ ปฏิบัติ
8. การได้ รับการศึกษาทีถ่ ูกต้ อง ปลูกฝังวัฒนธรรม
แนวทางการปฏิบัตใิ ห้ เกิดความสมดุลระหว่ างกายและใจ
ดัชนีชี้วดั คุณภาพชีวติ
ข้อมูลจปฐ. คือ ข้อมูลระดับครัวเรื อนที่แสดงถึงความจาเป็ นของครัวเรื อน
ด้านต่างๆ
หมวดที่ 1 สุ ขภาพดี(13 ตัวชี้วดั )
หมวดที่ 2 มีบ้านอาศัย (8 ตัวชี้วดั )
หมวดที่3. ฝักใฝ่ การศึกษา (7 ตัวชี้วดั )
การศึกษาภาคบังคับ
คนในครัวเรื อนอ่าน/เขียนได้
หมวดที่ 4 รายได้ ก้าวหน้ า (3 ตัวชี้วดั )
หมวดที่ 5 ปลูกฝังค่ านิยม (6 ตัวชี้วดั )
หมวดที่ 6 ร่ วมใจพัฒนา ( 5 ตัวชี้วดั )
สรุป