การจัดการความรู้ - มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

Download Report

Transcript การจัดการความรู้ - มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ทฤษฎีพนฐานด้
ื้
านการจัดการความรู ้
Theory in Knowledge Management
KM701
Session 1 introduction
ดร.ปิ ติพงษ ์ ยอดมงคล
่ และเทคโนโลยี
วิทยาลัยศิลปะ สือ
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
College of Arts Media and Technology,
Session 1: Introducing Knowledge Management
• บทนา
– 21st century knowledge society and economy
– ประเทศไทยและสงั คมเศรษฐกิจฐานความรู ้
• การจัดการความรู ้
[Definition of KM]
– ประวัตข
ิ อง KM [Historic overview]
– ความหมายของ KM
– ทาไมต ้อง KM และผลทีค
่ าดหวัง
• กรอบแนวคิดด้านการจัดการความรู ้ [KM
perspectives]
– มุมมอง KM ในด ้านต่างๆ
– Organization @ 21st century
Welcome to 21st century
What are 21st century
characteristics?
21st Century Characters
• โลกาภิวัฒน์
• ความก ้าวหน ้าทางเทคโนโลยี
–
–
–
–
ื่ สาร
การสอ
การขนสง่
Bio Tech
Cloud computing
ิ ทางปั ญญา
• ทรัพย์สน
• โลกร ้อน & วิกฤตพลังงาน
• Post modern
– Gen X Y Z
• สภาพแวดล ้อมทางธุรกิจ
– Changing rapidly
– Unpredictable
– Consumer=>Prosumers
21st century
เทคโนโลยี ICT
บรรษัทข้ามชาติ
ความรู ้ได้ถูกบันทึก/แพร่กระจาย กระจายการลงทุน
ง่ าย / ถูก / รวดเร็ว
กระจายการผลิตประเทศต่าง ๆ
่
กิตติ ลิมสกุ
ล
21st Business Practice
•
่ ความรู ้ และเทคโนโลยีระด ับสู งโดย
เป็ นสังคม/เศรษฐกิจทีใช้
่
มีเทคโนโลยีสนเทศและการสือสารเป็
นกระดู กสันหลัง
•
เกิดการสร ้างสรรค ์นวัตกรรมใหม่โดย Knowledge Workers
่ นผลผลิตสาหร ับอุตสาหกรรม
ทีเป็
•
เกิดคนงานความรู ้ (Knowledge Worker) เป็ นทร ัพยากรที่
่ ดขององค ์กร
สาคญ
ั ทีสุ
•
่
การปกป้ องทุน และทร ัพย ์สินทางปั ญญาทัวโลก
21st Century
KNOWLEDGE BASED
SOCIETY & ECONOMY
สงั คมฐานความรู ้:knowledge-based society
ความหมาย
• เป็ นสงั คมแห่งการสร ้างสรรค์และเรียนรู ้ตลอดชวี ต
ิ ก่อให ้เกิดระบบ
ของการประดิษฐ์คด
ิ ค ้นสงิ่ ใหม่
• องค์ความรู ้ทีเ่ กิดขึน
้ สามารถรวบรวม เผยแพร่ ประยุกต์ใช ้ และได ้รับ
การคุ ้มครองความรู ้ระหว่างประเทศ
ื่ สารจะทาให ้การเข ้าถึง
• เครือ
่ งมือเทคโนโลยีด ้านข ้อมูลและการสอ
ข ้อมูลของมนุษย์เป็ นไปอย่างสะดวก และเป็ นไปในวงกว ้างเพือ
่
สร ้างสงั คมทีย
่ งั่ ยืน
?
How business will be
survive in the 21st
century environment?
ลักษณะสาคัญของ สงั คมเศรษฐกิจฐานความรู ้
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
ความรู ้เป็ นปั จจัยการผลิตทีส
่ าคัญทีส
่ ด
ุ
ิ ค ้าและบริการ
ความรู ้เป็ นสว่ นสาคัญของสน
ิ ค ้าบริการเข ้ามามีบทบาทต่อธุรกิจอย่างสูง
สน
กฎทางเศรษฐศาสตร์ใหม่ (New Economic Law)
ิ ธิการเป็ นเจ ้าของสน
ิ ทรัพย์เปลีย
สท
่ น
การจ ้างงานลักษณะใหม่
การเปลีย
่ นแปลงองค์กรและรูปแบบธุรกิจ
1. ความรู ้เป็ นปั จจัยการผลิตทีส
่ าคัญทีส
่ ด
ุ
Old Economy:
ปั จจัยการผลิต
Man
Machine
Material
Methods
Money
1. ความรู ้เป็ นปั จจัยการผลิตที่
สาคัญทีส
่ ด
ุ
บริษัท NIKE ทาธุรกิจอะไร?
• Nike, the shoemaker company who makes no shoe, has $334
thousand in sales for each employee
ื ทีไ่ ม่มต
Amazon ร ้านหนังสอ
ี วั ตน
ื มากเป็ นอันดับต ้นๆ ของโลก
• ขายหนังสอ
(Steward, 1997)
2. ความรู ้เป็ นสว่ นสาคัญของ
ิ ค ้าและบริการ
สน
Apple: the world leader in innovation
ิ ค ้าและบริการ
2. ความรู ้เป็ นสว่ นสาคัญของสน
่
่ งทีเหมื
้ สงหนึ
อนกัน
ิ่
องค ์กรเหล่านี มี
these organizations work on knowledge
intensive tasks.
(Steward, 1997)
Traditional industrial products and Knowledge-based products
Knowledge productivity is the biggest challenge
3.สนิ ค ้าบริการเข ้ามามีบทบาทต่อธุรกิจอย่างสูง
The World's Most Valuable and Fastest Growing Brands
http://www.theatlantic.com/business/archive/2011/05/the-worlds-most-valuable-and-fastest-growing-brands-1/238697/
3. สนิ ค ้าบริการเข ้ามามีบทบาทต่อธุรกิจอย่างสูง
4. กฎทางเศรษฐศาสตร์ใหม่ (New Economic Law)
Old Economy Factors of Production
-Man -Machine -Material -Methods -Money
กฎการทดถอยของผลตอบแทน {Law of Diminishing Return}
่ ทร ัพยากรมากขึน
้ ผลการตอบแทนทีได้
่ จะลดน้อยลง
• ยิงใช้
(The more any given resource is used, the smaller is the increment return)
4. กฎทางเศรษฐศาสตร์ใหม่ (New Economic Law)
New Economy: Factors of Production =>Knowledge
่ นของผลตอบแทน
้
กฎของการเพิมขึ
(Law of Increasing Return)
่ ทร ัพยากรมากขึน
้ ยิงให้
่ ผลตอบแทนมากขัน
้
• ยิงใช้
(The more any given knowledge is used, the more is the increment return)
4. กฎทางเศรษฐศาสตร์ใหม่ (New Economic Law)
มูลค่า
เวลา
ิ ธิการเป็ นเจ ้าของปั จจัยการผลิต
5.สท
Knowledge Workers own factors of production
• แรงงานมีความรู ้ทีม
่ ค
ี ณ
ุ ค่าต่อองค์กรทีต
่ นทางาน (Those
who own valuable knowledge for the organization they work for)
• แรงงานผู ้ทีส
่ ามารถนาความรู ้มาสร ้างผลผลิต
(Those who know how to make knowledge productive)
• แรงงานผู ้ทีม
่ ค
ี วามกระตือรือร ้น
(Those who are self-motivated)
ิ ธิการเป็ นเจ ้าของปั จจัยการผลิต
5.สท
Today Company value creation
ิ ธิการเป็ นเจ ้าของปั จจัยการผลิต
5.สท
ทร ัพย ์สินทางปั ญญา [แกนกลางของสังคมความรู ้]
ิ ทางปั ญญาเป็ นสงิ่ ทีส
• ทรัพย์สน
่ ามารถถือครองเป็ นเจ ้าของ
– Copyright ลิขสิทธิ ์
– Patent สิทธิบต
ั ร
– Trademark ตราสินค ้า
– Layout - Designs Of Integrated Circuit แบบผังภูมข
ิ องวงจรรวม
– Trade Secrets ความลับทางการค ้า
ี้ างภูมศ
– Geographical Indication สงิ่ บ่งชท
ิ าสตร์
6.การจ ้างงานรูปแบบใหม่
7. การปรับเปลีย
่ นองค์กร
21 CENTURY => KNOWLEDGE BASED SOCIETY & ECONOMY
Knowledge is what you buy and sell
21 century => Knowledge – based Economy
the twentieth-first century knowledge economy stands on
three characters.
1. knowledge has become the most important factor of
production.
2. knowledge assets have become more important than
physical and financial assets for an organization.
3. an organization needs new management approaches,
new strategies, and new technologies to prosper in this
knowledge economy
(Stewart, 1997, 2001 &Roos, Roos, Dragonetti&Edvinsson, 1997)
สงั คมฐานความรู ้ knowledge-based society
พฤติกรรม
1. ความรู ้ทุกรูปแบบจะได ้รับการเผยแพร่โดยวิธแ
ี บบใหม่
2. การเข ้าถึงความรู ้ได ้ง่าย ทุกเวลา และหลากหลายวิธ ี
3. ประชาชนมีความเท่าเทียมกันในการเข ้าถึงความรู ้
่ งว่างในการศก
ึ ษา
4. ปิ ดชอ
ึ ษาด ้านอัตลักษณ์ วัฒนธรรมท ้องถิน
5. การศก
่
6. ความรู ้ได ้รับการปกป้ องโดยกฎหมาย
ื่ มต่อทาความเข ้าใจระหว่างสงั คมศาสตร์และ
7. มีการเชอ
วิทยาศาสตร์
8. องค์ความรู ้จะชว่ ยในการยุตก
ิ ารมีอคติทางเพศ
9. มุง่ พัฒนาคนรุน
่ ต่อไป โดยมีการเรียนการสอนแบบใหม่ท ี่
สร ้างสรรค์
ลักษณะของสังคม/เศรษฐกิจ
ฐานความรู ้
่
แรงขับเคลือน
หลัก
ความรู ้
ั
สงคมฐานความรู
้
ความรู ้ทาให้ประชาชนมี
่ งทางว
่
อานาจความมังคั
ัตถุ
และว ัฒนธรรมและเป็ นสังคม
่ งยื
่ น (WSF, 2003)
ทียั
เศรษฐกิจ
ฐานความรู ้
่ าค ัญในการสร ้าง
ความรู ้ถู กแปรเป็ นสินทร ัพย ์และปั จจัยการผลิตทีส
การเจริญเติบโตในทุกสาขาเศรษฐกิจ (APEC, 2000)
(กิตติ ลิม
่ สกุล )
ประเทศไทย
สังคมเศรษฐกิจฐานความรู ้
่ งประสงค ์ของเศรษฐกิจ/สังคมฐานความรู ้ของประเทศไทย
ภาพทีพึ
การเข้าถึงความรู ้ของ
่ น
้
ประชาชนเพิมขึ
ช่องว่างทางความรู ้ใน
สังคมลดลง
การยกระดบ
ั
คุณธรรมและ
จริยธรรมนาไปสู ่
สังคมสันติสุข
การยกระด ับและสร ้างมู ลค่าใน
อุตสาหกรรมและบริการ
ยุทธศาสตร ์
การสร ้างผลิตภัณฑ ์และ
บริการใหม่รว่ มกับ
ความรู ้และภู มป
ิ ั ญญา
ไทย
32
แนวคิดการสร ้างเศรษฐกิจ/สังคมฐานความรู ้
ภาคเศรษฐกิจ
เป้าหมาย
่
เพิมผลิ
ตภาพ/
นว ัตกรรม
กลยุทธ์
ทร ัพยากรมนุ ษย ์
ICT และ เทคโนโลยีอน
ื่ ๆ
กฎหมาย/แรงจู งใจ
ภาคร ัฐ
ภาคสังคม
่ ณภาพชีวต
เพิมคุ
ิ
่
เพิมประสิ
ทธิภาพ/
บริการ
ระบบนวัตกรรมแห่งชาติ
ระบบการสร ้าง
และจัดหาความรู ้
(knowledge
creation)
ระบบแพร่กระจาย
ความรู ้
(knowledge
diffusion)
ระบบการสร ้าง
มู ลค่า / คุณค่า
(value creation)
่
เพิมผลิ
ตภาพ
สร ้างนว ัตกรรม
ความรู ้ใหม่
Stock of
Knowledge
• วิจยั เอง
• จัดหาจากภายนอก
สู ่ภาค
เศรษฐกิจ
/สังคม
/ชุมชน
การเติบโตของGDP
สังคม/ชุมชน
เข้มแข็ง
วัฒนธรรม/จริยธรรม
้
การพัฒนาโครงสร ้างพืนฐาน
ระบบบริหารจัดการความรู(กิ้ ตติ ลิม่ สกุล)
่
แผนภาพการเปลียนผ่
านสังคมไทยเข้าสู ่ยุคสังคม/เศรษฐกิจฐานความรู ้
ลักษณะบุคคล
สังคมปั จจุบน
ั
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
10.
เป็ นผู ้บริโภค
เป็ นผู ้ตาม
เป็ นผู ้ทีร่ ับทราบข ้อมูล
เป็ นผู ้ทีย
่ ด
ึ ความรู ้เดิม
เป็ นผู ้ทีอ
่ ยูใ่ นกรอบ
ทางานคนเดียว
ไม่ยด
ื หยุน
่
มุง่ ผลปานกลาง
สาเร็จรูป
ตามตะวันตก
ลักษณะบุคคล
สังคม/เศรษฐกิจฐานความรู ้
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
10.
เป็ นผู ้ผลิต
เป็ นผู ้นา
เป็ นผู ้ทีส
่ นใจข ้อมูล
เป็ นผู ้ทีส
่ ร ้างสรรค์
เป็ นผู ้ทีค
่ ด
ิ แจ ้งแทงตลอด
ทางานร่วมกัน
ยืดหยุน
่
มุง่ ผลเลิศ
มีความเฉพาะตัว
มีอต
ั ตลักษณ์ไทย
สังคม/เศรษฐกิจฐานความรู ้
เรียนรู ้
สร ้างความรู ้
้
ใชความรู
้
ผลผลิต
ิ ธิภาพ/คุณภาพ
ประสท
แข่งขันได ้/ความเป็ นไทย
(พิมพันธ ์ เดชะคุปต ์)
เศรษฐกิจสร ้างสรรค์
Creative Economy (NESDB)
การสร ้างมูลค่าทีเ่ กิดจากความคิดของมนุษย์
• นวัตกรรมในเชงิ แนวคิดการพัฒนาเพือ
่ สร ้างความสามารถในการ
ิ ค ้าและบริการใหม่ๆ โดย
แข่งขันทางเศรษฐกิจ ทีเ่ น ้นการสร ้างสน
ื่ มโยงเข ้ากับรากฐานทางวัฒนธรรม การสงั่ สมทางปั ญญา
เชอ
ของสงั คม ผนวกเข ้ากับเทคโนโลยี/นวัตกรรมสมัยใหม่นาเข ้าสู่
กระบวนการ
อุตสาหกรรมสร ้างสรรค์ UNCTAD
1. Cultural Heritage: ประวัตศ
ิ าสตร์ โบราณคดี วัฒนธรรม
ื่ และสภาพสงั คม
ประเพณี ความเชอ
ิ ปะ งานฝี มือ
– การแสดงทางวัฒนธรรมแบบดัง้ เดิม Traditional ศล
เทศกาล งานฉลอง
– กลุม
่ ทีต
่ ัง้ ทางวัฒนธรรม Cultural Sites ชุมชน โบราณสถาน
พิพธิ ภัณฑ์ ห ้องสมุด การแสดงนิทรรศการ
2. Arts
– Visual Art ภาพวาด ภาพถ่าย รูปปั น
้ วัตถุโบราณ
ั ว์ เต ้นรา
– Performing Art การแสดงดนตรี ละคร ละครสต
3. Media
ื่ สงิ่ พิมพ์
– Publishing and Printed Media สอ
– Audio Visual ภาพยนต์ วิทยุ
4. Functional Creation:
ั่ อัญมณี ของเล่น
– Design ออกแบบภายใน กราฟิ ค แฟชน
– New Media ซอฟต์แวร์ วีดโี อเกม เนือ
้ หาดิจต
ิ อล
– Creative Service งานวิจัยและพัฒนา บริการทางสถาปั ตยกรรม
บริการทีเ่ กีย
่ วกับความคิดสร ้างสรรค์
ภาพรวมอุตสาหกรรมสร ้างสรรค ์ของกลุม
่ จังหวัดภาคเหนือ
ตอนบน 1
อุตสาหกรรมสร ้างสรรค ์ในกลุม
่ จังหวัดภาคเหนื อตอนบน
1
เชียงใหม่
- หัตถกรรม
่
- ท่องเทียว
- ดิจต
ิ ลั คอนเทนท ์
(ซอฟต ์แวร ์
โฆษณา)
ลาพูน
่
- แฟชัน
่
(ผ้า เครืองประดั
บ)
- แปรรูปอาหาร
- หัตถกรรม (ไม้)
ลาปาง
- การออกแบบ
- หัตถกรรม
(เซรามิค, ไม้)
แม่ฮ่องสอน
่
- ท่องเทียว
วัฒนธรรม
- ผลิตภัณฑ ์สุขภาพ
- สมุนไพรไทย
KNOWLEDGE MANAGEMENT
การจัดการความรู ้
KNOWLEDGE MANAGEMENT
เครือ
่ งมือการบริหาร 1960s-2000s (Tiwana, A. 2002)
The 2000s
Knowledge Management
Intellectual Capital
Enterprise Integration
The 1990s
Core competencies
Reengineering
Management of Information System
The 1980s
Total Quality Management
Theory Z
Corporate Culture
The 1970s – 1960s
Strategic Management
Portfolio Management
Theory Y
Centralization & Decentralization
KM คืออะไร ?
the world today:
Knowledge – based
economy
organization today:
Learning Organization
Knowledge products
Knowledge workers:
KM?
การจัดการความรู ้
การจัดการความรู ้ - ความหมาย
• การจัดการความรู ้: การรวบรวมองค์ความรู ้ทีม
่ อ
ี ยู่ ซงึ่ กระจัด
กระจายอยูใ่ นตัวบุคคลหรือเอกสาร มาพัฒนาให ้เป็ นระบบ
เพือ
่ ให ้ทุกคนในองค์กรสามารถเข ้าถึงความรู ้ และพัฒนา
ิ ธิภาพ
ตนเองให ้เป็ นผู ้รู ้ รวมทัง้ ปฏิบต
ั งิ านได ้อย่างมีประสท
อันจะสง่ ผลให ้องค์กรมีความสามารถในเชงิ แข่งขันสูงสุด
[วิจารณ์ พานิช]
• การจัดการความรู ้: การบริหารจัดการองค์กรโดยเน ้นการใช ้
ความรู ้และประสบการณ์ของคนทางาน รวมทัง้ สารสนเทศ
้
ทีจ
่ าเป็ นต ้องใชในการท
างานเพือ
่ เพิม
่ ผลผลิตแก่องค์กรให ้
แข่งขันได ้ในอุตสาหกรรมนัน
้ ๆ เพือ
่ การดารวอยูข
่ ององค์กร
ิ ฎ์จัก
และชวี ต
ิ และครอบครัวของพนั กงานร่วมกัน [ณพศษ
พิทักษ์ ]
การจัดการความรู ้ - ความหมาย
การจัดการความรู ้ - ความหมาย
การจัดการความรู ้ - ความหมาย
• KM is interdisciplinary business model that has
knowledge within the framework of an organization
and its focus. [Awad, M. E. &Ghaziri, M. H.]
• KM is the process of capturing a company’s
collective expertise wherever it reside-in data bases,
on paper, or in people’s head – and distributing it to
wherever it can help produce the biggest payoff.
[Hibbard]
• KM is getting the right knowledge to the right
people at the right time so they can make the best
decision. [Petrash]
Knowledge Management
• เป็ นการบริหารจัดการโดย อ ้างอิง ความรู ้
(Knowledge – Based Management)
• มิได ้เป็ นเพียงแค่เครือ
่ งมือ (tool) แต่เป็ นทฤษฎี
่ รัชญาการจัดการใหม่
ใหม่ (theory) ทีน
่ าไปสูป
ในระบบเศรษฐกิจฐานความรู ้ (knowledge –
based economy)
การจัดการความรู ้
่
การบริหารจัดการความรู ้ เป็ นเครืองมื
อ/ทฤษฎี สมัยใหม่ทจ
ี่ าเป็ น
ของผู บ
้ ริหาร ไม่ได้มุ่งเน้นไปที่
การจัดการความรู ้โดยตรง แต่
่
“การบริหารจัดการความรู ้มุ่งเน้นไปทีการบริ
หาร
่ ความรู และ
่ จากการ
ทีมี
้ ประสบการณ์
ทีได้
่ มประสิ
่
ปฏิบต
ั งิ านจริง เพือเพิ
ทธิภาพ
่ ดความสามารถในการแข่งขันของ
ในการทางานดีขน
ึ้
และเพิมขี
องค ์กร”
บุคคลากร
การบริหารจัดการความรู ้เป็ นการบริหารแบบบู รณาการMultidisciplinary
Nonaka, I.
การจัดการความรู ้ = การบริหารแบบบูรณาการ
• การบูรณาการศาสตร์ตา่ งๆเข ้าด ้วยกัน
– เทคโนโลยี
– การจัดการสารสนเทศ
– การจัดการเกีย
่ วกับบุคคล
– การจัดการองค์กร
– การบริหารธุรกิจ
– จิตวิทยาและสงั คมวิทยา
– พฤติกรรมองค์กร
่
ผลลัพธ ์ทีคาดหวั
ง บุคคล
่
ผลลัพธ ์ทีคาดหวั
ง องค ์กร
 มีความสามารถในการตัดสินใจ
 ลดเวลาในการทางาน
่
 ลดความเสียงขององค
์กร ในการ
่
เปลียนแปลงด
้านเทคโนโลยี และ
สภาพแวดล ้อมทางเศรษฐกิจและสังคม
 มีความสามารถในการจัดการการ
่
เปลียนแปลง
 สามารถสร ้างนวัตกรรมอย่างต่อเนื่ อง
 มีความสามารถในการแข่งขัน
่
College of Arts, Media and Technology, Chiang Mai University
KM Historical Overview
The 2000s
IT integration
KM Culture & Structure
Applications: KM, IC, ERP
The 1990s
Information Technology
Intellectual Property
The 1980s
Value of knowledge
Develop Thinking machine
Manage AI & EP
The 1970s
MIT / Stanford => diffused knowledge [first KM]
Nonaka => tacit & explicit knowledge [Japanese Knowledge
Creation]
การจัดการความรู ้: มุมมองในด ้านต่างๆ
KM perspectives
มุมมองของการจัดการความรู ้
1. มุมมองด ้านกรอบความคิด:Conceptual
perspective
2. มุมมองด ้านกระบวนการ:Process perspective
3. มุมมองด ้านเทคโนโลยี:Technology perspective
4. มุมมองด ้านองค์กร:Organizational perspective
5. มุมมองด ้านการบริหารจัดการ:Management
perspective
6. มุมมองด ้านการปฎิบัต:ิ Implementation
perspective
(Liebowitz, J)
1. KM มุมมองด ้านกรอบความคิด:
Conceptual perspective
1. KM is young [new]
2. Multi disciplinary
3. Variety of views& meanings
Consideration
• Knowledge Storage media
• Knowledge Accessibility
• Knowledge Typologies [tacit & explicit]
• Knowledge Hierarchy
• Knowledge Principles [share, learn, apply]
2. KM มุมมองด ้านกระบวนการ:Process perspective
Marquardt
1 Acquisition
2 Creation
3 Transfer &
utilization
4 Storage
Wiig
1 Creation &
Sourcing
Holsapple
O’Dell
Beckman
1 Acquiring
1 Identify
1 Identify
2 Selecting
2 Collect
2 Capture
3 Adapt
3 Select
4 Organize
4 Store
5 Apply
5 Share
6 Share
6 Apply
7 Create
7 Create
2 compilation &
Transformation
3 Internalizing
3 dissemination
4 Using
4 Application &
Value realization
5 Generating
6 Externalizing
8 Sell
กระบวนการจัดการความรู ้ (in
general)
• การจัดหาความรู ้ (knowledge acquisition)
• การจัดเก็บและค ้นคืนความรู ้ (knowledge storage and
retrieval)
้
• การใชความรู
้ (knowledge Utilization)
• การเคลือ
่ นย ้าย กระจาย แบ่งปั นความรู ้ (knowledge
transfer, distribution, sharing)
• การสร ้างความรู ้ใหม่ (knowledge creation)
(Sveiby, 2003; Wiig, 2003; Kucza, 2001; Probst at al, 2000; Trapp, 1999 and Marquardt, 1996)
3. มุมมองด ้านเทคโนโลยี:
Technology perspective
1.
IT architecture and standard
–
–
2.
IT platform
–
3.
LAN
WAN
Hardware
Software application
–
–
–
–
–
–
Groupware
Transaction system
Simulation
Multimedia
Decision support system
Intelligent system [ES, ML, KD etc.,]
P.S. Knowledge must be readily accessible, understandable & retrievable
4. มุมมองด ้านองค์กร:
Organizational perspective
1. Knowledge Organization Characteristic
–
–
–
–
Customer-focused
Excellence-driven
Innovative
Flexibility and amativeness
2. Organizational Structure
– KM department
– CKO
3. Organizational Culture
– Trust
– Sharing
5. มุมมองด ้านการบริหารจัดการ:
Management perspective
1. Management practices
– Leadership and motivation
– Empowerment index
– Training
2. Measuring and Valuing intellectual capital
–
–
–
–
Customer capital
Organizational capital
Human capital
Social capital
6. มุมมองด ้านการปฎิบัต:ิ
Implementation perspective
•
•
•
•
•
•
Create knowledge-oriented culture
CEO support
IT system support
Clarify of vision and language
Multiple channels for knowledge transfer
Link to Org. Value
Organization today
องค์กรในยุคปั จจุบน
ั
KM perspective
การจัดการองค ์กรหนึ่ งๆ
Sponsor
Buy
Objectives
Share
Holders
Products/Services
Vision/Missions
Tasks
Staff
An Organization
Members
College of Arts, Media and Technology, Chiang Mai University
Customers
การจัดการความรู ้ในองค์กรสมัยใหม่
People
Technology
Org.
Processes
[Awad, M. E. &Ghaziri, M. H.]
จุดเน้น (Focus) ของการจัดการ
ความรู ้



การพัฒนากลุ่มนักปฏิบต
ั ห
ิ รือผู ท
้ างาน
ใช้ความรู ้ (Communities of
Practice/Knowledge Workers
Development)
การสร ้างแนวทางปฏิบต
ั ท
ิ เหมาะสมกั
ี่
บ
สถานการณ์ขององค ์กร (Best Practice
Development)
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
(Knowledge Management System)
เปรียบเทียบองค ์กรเก่า กับ KM (ด้านบุคลากร People)
องค ์กรบริหารแบบเก่าเน้น
Functional
องค ์กรบริหารแบบใหม่เน้น
Knowledge Worker
•Job Description
• Specialized
• Degree Based
• Competency Based
• Business Line Meeting
• Team Learning
• Defensive Routine
• Innovation
• Training
• Learning
เปรียบเทียบองค ์กรเก่า กับ KM (ด้านการบริหาร
Process)
องค ์กรบริหารแบบเก่าเน้น
Functional
องค ์กรบริหารแบบใหม่เน้น
Knowledge Worker
• Hierarchy Structure
• Flat (3 Levels)
• Plan-Focused
• Strategy-Focused
• Top Down/Bottom up
Process
• Middle-Up-Down
• Command and Control
• Conduct
• New Business
Unit/Level
• Spin Out
เปรียบเทียบองค ์กรเก่า กับ KM (สารสนเทศ
Technology)
องค ์กรบริหารแบบเก่าเน้น
Functional
องค ์กรบริหารแบบใหม่เน้น
Knowledge Worker
• Information Flow
from Bottom
• Knowledge Flow
from Top
• Work Procedure
• KM/LO
• Workflow
• Collaboration
• Database
• Knowledge Base
• ICT Cost Center
• ICT Resulting Center
Knowledge Management
มุมมองวิชาการ KM แบบ
ต่างๆ
IT
Human
Resources
Intellectual
Capital
Behavioral
Sciences
KM
Records Mgt
Competitive/Bus.
Intelligence
Education
Library
Science
Process
Improvement
Q&A
Assignment1
1.1 การจัดการความรู ้คืออะไร?
– ให ้คานิยาม และยกตัวอย่าง 1 A4
1.2 ความรู ้คืออะไร มีกป
ี่ ระเภท ยกตัวอย่าง
ประกอบ?
References
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
Awad, M. E. &Ghaziri, M. H. (2004). Knowledge Management. Pearson
Education: New Jersey.
Beckman, T. (1997). A Methodology for Knowledge Management.
International Association of Science and Technology for Development (IASTED)
AI and Soft Computing Conference. Banff: Canada.
Holsapple, C. & Joshi, K. (1997) Knowledge Management: A Three –Folds
Framework. Kentucky Initiative for Knowledge Management Paper, No 104.
Kucza, Timo. (2001) Knowledge Management Process Model. Available from:
http://www.inf.vtt.fi/pdf/ publications/2001/p455.pdf
Liebowitz, J. (1999). Knowledge Management Handbook. CRC Press:
Washington, D.C.
Marquardt, M. (1996). Building the Learning Organization. McGraw Hill: New
Jersey.
Nonaka, I. (1995). The knowledge – Creating Company. Oxford University
Press: London.
O’Dell, C. (1996). A Current Review of Knowledge Management Best Practice.
Conference on Knowledge Management and the Transfer of Best Practices.
Business Intelligence: London.
Probst, G.J.B., S.P. Raub and K. Romhardt (2000). Managing Knowledge:
Building Blocks for Success. John Wiley & Sons, London.
Roos, J., Roos, G., Dragonetti, C. N., &Edvinsson, L. (1997). Intellectual capital:
Navigating the new business landscape. MACMILLAN PRESS: London.
References
•
•
•
•
•
•
•
•
Sveiby, Karl E. (2003) A Knowledge-based Theory of the Firm to Guide Strategy
Formulation. Available
from:http://www.sveiby.com/articles/knowledgetheoryoffirm.htk
Sveiby, Karl E. (2003) What is Knowledge Management. Available from:
http://www.co-i-l.com/coil/knowkedge- garden/kd/whwtiskm.shtml
Steward, A. T. (1997). Intellectual capital: the new wealth of organizations. A
Division of Bantam Doubleday Dell Publishing Group: New York.
Steward, A. T. (2001). The wealth of knowledge: Intellectual capital and the
twenty- first century organization. Nicholas Brealey Publishing: London.
Tiwana, A. (2002). Knowledge Management Toolkit. Peason Education: New
Jersey
Trapp, Holger. (1999) Benefits of an Intranet-based Knowledge Management
System-Measuring the Effects. Available from:
http://www.avinci.de/competence/publikationen/diplomarbeitholgertrapp.pdf
Wiig, Karl M. (2003) Knowledge Management Has Many Facets. Available
from: http://www.krii.com/ downloads/Four KM Facets.pdf
Wiig, K. (1993). Knowledge Management Foundation. Schema Press: Taxas.
References
่ งั คมและ
• กิตติ ลิม
่ สกุล (2548) โลกาภวัตน์กบ
ั การนาประเทศไทยเข ้าสุส
เศรษฐกิจฐานความรู,้ นาเสนอ พณฯ นายกรัฐมนตรี ตึกไทยคูฟ
่ ้ า ทาเนียบ
รัฐบาล, www.grad.ku.ac.th/gradresearch5/files/dr_kitti.pp [retrieved 25
April 2003]
ิ ฏ์ จักรพิทักษ์ (2552) ทฤษฎีการจัดการความรููู ้, ธนาเพรส จากัด,
• ณพศษ
กรุงเทพมหานคร
• พิมพันธ์ เดชคุปต์ (2553) ทฤษฎีการเรียนการสอน เพือ
่ จัดการเรียนการสอน ที่
เน ้นผู ้เรียนเป็ นศูนย์กลาง,www.academic.chula.ac.th/.../ทฤษฎีการเรียนรู ้
เพือ
่ การจัดการเรียนการ,ppt [retrieved 28 April 2003]
ั่
• วิจารณ์ พานิชย์ (2548) การจัดการความรู ้ฉบับนักปฏิบต
ั ,ิ ตถาตา พับลิเคชน
จากัด, กรุงเทพมหานคร