โครงการวิจัยถ่ายทอดเทคโนโลยี

Download Report

Transcript โครงการวิจัยถ่ายทอดเทคโนโลยี

โครงการวิจัยถ่ ายทอดเทคโนโลยี
สู่ อตุ สาหกรรมชุมชน
โครงการย่อยที่ 1
การพัฒนากระบวนการผลิ ตและ
เครื่องมือสกัดโปรตีนไหมระดับ
อุตสาหกรรมชุมชน
โครงการย่อยที่ 2
การพัฒนาผลิ ตภัณฑ์และบรรจุภณ
ั ฑ์
อาหารและเครื่องสาอางจาก
ดักแด้ไหมและโปรตีนไหม
ตามหลัก GMP
โครงการย่อยที่ 3
โครงการย่อยที่ 4
การจัดการของเสียและสิ่ งแวดล้อม
การผลิ ตโปรตีนไหมระดับ
อุตสาหกรรมชุมชน
การศึกษาเศรษฐศาสตร์และกาหนด
กลยุทธ์ทางการตลาดของผลิ ตภัณฑ์
อาหารและเครื่องสาอางจากดักแด้
ไหมและโปรตีนไหม
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น
บทนำ
• ไหม เป็ นเส้ นใยโปรตีนธรรมชาติ มีความ
เหนียว ทนทาน และมันวาว สามารถนาไปใช้
ทอเป็ นผืนผ้ าได้ อย่างงดงาม เส้ นไหมนัน้
ได้ มาจากตัวอ่อนของตัวไหม หรื อผีเสื ้อไหม
รั งไหม (cocoon) และ เส้ นไหม (silk) จะ
ประกอบด้ วย โปรตีน (Proteinป 2 ชนิดหลัก คือ
ไฟโบรอิน (fibroin) ซึ่งประกอบด้ วย ไฟโบรอิน H
และ ไฟโบรอิน L ส่วนโปรตีนอีกชนิด คือ
เซริ ซิน (sericin) ซึ่งประกอบด้ วย เซริ ซิน a, b, c
และ d ซึ่งโปรตีนทังหมดได้
้
ถกู แยกโดยการใช้
น ้าหนักโมเลกุล โดยวิธี อิเลคโทรโฟเรซิส
ไฟโบรอิน
• เซริซนิ เป็ นโปรตีนที่ได้ จากไหมโดยมีคณ
ุ สมบัติเป็ นสารให้ ความชุ่มชื ้น
และยังมีฤทธิ์ยบั ยังการท
้
างานของเอนไซม์ไทโรซิเนส มีผลทาให้ สีผิว
แลดูสว่างขึ ้น
วัตถุประสงค์ การวิจัย
1.
เพื่อออกแบบและสร้ างเครื่ องผลิตผงโปรตีนจากใยไหมและ
รั งไหมเศษระดับอุตสาหกรรมขนาดเล็ก
2.
เพื่อทดสอบและประเมินสมรรถนะของเครื่องมือ โดยพิจารณาจาก
อัตราการผลิต คุณภาพของโปรตีนไหมและการประหยัดพลังงาน
3.
เพื่อถ่ ายทอดเทคโนโลยีและสาธิตการปลูกที่เหมาะสมแก่ กลุ่ม
เกษตรกรเป้าหมาย
4.
เพื่อผลิตผลิตภัณฑ์ อาหารจากดักแด้ และโปรตีนไหม
พร้ อมภาชนะบรรจุท่ เี หมาะสม
วัตถุประสงค์ การวิจัย -ต่ อ5.
เพื่อผลิตผลิตภัณฑ์ เครื่องสาอางจากผงโปรตีนไหม
6.
เพื่อถ่ ายทอดเทคโนโลยีแก่ กลุ่มเกษตร ภาครั ฐ และเอกชนที่สนใจ
7.
8.
9.
เพื่อผลิตโปรตีนไหมจากของที่เหลือจากการสาวไหม นา้ ที่สาว
ไหม รังไหม และดักแด้
เพื่อผลิตผลิตภัณฑ์ ท่ สี ามารถนาเอาไปใช้ ประโยชน์ จากของที่
เหลือจากการสาวไหม นา้ ที่สาวไหม รังไหมและดักแด้
เพื่อถ่ ายทอดเทคโนโลยีแก่ กลุ่มเกษตร ภาครัฐ และเอกชนที่
สนใจ
โครงการวิจัยย่ อยที่ 1, 2 และ 3
ขอบเขตของโครงการวิจัย
1) การศึกษาวิธีการในการผลิตและสกัดสารโปรตีน ดาเนินการเก็บตัวอย่าง
และวิเคราะห์ในห้ องปฏิบตั ิการมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน
วิทยาเขตขอนแก่น และคณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
2) การถ่ายทอดเทคโนโลยีและสาธิต ดาเนินการในพื ้นที่เกษตรกร อ.ชนบท
จ.ขอนแก่น
3) การพัฒนาผลิตภัณฑ์บรรจุภณ
ั ฑ์อาหารและเครื่ องสาอางดักแด้ ไหมและผงโปรตีน
ไหมจะเป็ นอาหารสาเร็จรูป สาหรับสุขภาพอาจจะเป็ นผลิตภัณฑ์ขนมขบเคี ้ยว
หรื อ อาหารว่าง อาหารเสริมโปรตีน และเครื่ องสาอางบารุงผิวพรรณต่างๆ
เป็ นต้ น โดยผลิตภัณฑ์มีคณ
ุ ภาพปลอดภัยเป็ นที่ยอมรับ มุง่ สูม่ าตรฐาน
ผลิตภัณฑ์ชมุ ชนได้
โครงการวิจัยย่ อยที่ 1, 2 และ 3
ขอบเขตของโครงการวิจัย -ต่ อ-
3) การทดสอบในห้ องปฏิบตั ิการ ทดสอบ การยอมรับของผู้บริโภคจะทาการทดสอบ
ในเขตพื ้นที่เป้าหมายและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็ นการสุม่ ตัวอย่าง
4) การพัฒนาผลิตภัณฑ์บรรจุภณ
ั ฑ์อาหารและเครื่ องสาอางดักแด้ ไหมและผงโปรตีน
ไหมจะเป็ นอาหารสาเร็ จรู ป สาหรับสุขภาพอาจจะเป็ นผลิตภัณฑ์ขนมขบเคีย้ ว
หรื อ อาหารว่าง อาหารเสริ มโปรตีน และเครื่ องสาอางบารุ งผิวพรรณต่า งๆ เป็ น
ต้ น โดยผลิตภัณฑ์ มีคุณภาพปลอดภัยเป็ นที่ ยอมรั บ มุ่งสู่มาตรฐานผลิตภัณฑ์
ชุมชนได้
5) การทดสอบในห้ องปฏิบตั ิการ ทดสอบ การยอมรับของผู้บริ โภคจะทาการทดสอบ
ในเขตพื ้นที่เป้าหมายและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็ นการสุม่ ตัวอย่าง
คณะผู้วจิ ัยโครงการวิจัยย่ อย 1
หัวหน้ าโครงการวิจัย
ดร.ภานุวฒ
ั น์ ทรัพย์ปรุง – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น (60%)
ผู้ร่วมโครงการวิจัย
นายกษิเดช สิบศิริ - วิทยาเขตขอนแก่น (10%)
นายประสิทธิ์ โสภา - วิทยาเขตขอนแก่น (10%)
นายวัชรสิงห์ หลงแย้ ม - สถาบันวลัยรุกขเวช มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (10%)
นายวินยั รัญดร - สานักงานพัฒนาชุมขนอาเภอชนบท จ.ขอนแก่น (10%)
ที่ปรึกษาโครงการวิจัย
ศ.ดร.อรรคพล นุ่มหอม - Processing Technology, AIT
ผศ.ดร.โศภิษฐ์ เวทยสุภรณ์ - คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม อ.เมือง จ.มหาสารคาม
คณะผู้วจิ ัยโครงการวิจัยย่ อย 2
หัวหน้ าโครงการวิจัย
ดร.ภานุวฒ
ั น์ ทรัพย์ปรุง – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น (50%)
ผู้ร่วมโครงการวิจัย
ดร.ธีระ ฤทธิรอด - มหาวิทยาลัยขอนแก่น (20%)
ผศ. จิรพันธ์ ห้ วยแสน - วิทยาเขตขอนแก่น (10%)
นายวินยั รัญดร - สานักงานพัฒนาชุมขนอาเภอชนบท จ.ขอนแก่น (10%)
คณะผู้วจิ ัยโครงการวิจัยย่ อย 3
หัวหน้ าโครงการวิจัย
ผศ.วิทยา ชื่นอุปการนันท์ - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น (50%)
ผู้ร่วมโครงการวิจัย
นายวัชรสิงห์ หลงแย้ ม - สถาบันวลัยรุกขเวช มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (25%)
นางสาวอนัญญา ทองภูธร - วิทยาเขตขอนแก่น (25%)
ที่ปรึกษาโครงการวิจัย
ศ.ดร.อรรคพล นุ่มหอม - Processing Technology, AIT
ผศ.ดร.โศภิษฐ์ เวทยสุภรณ์ - คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม อ.เมือง จ.มหาสารคาม
โครงการวิจัยย่ อยที่ 1
ประโยชน์ ท่ คี าดว่ าจะได้ รับและ
แผนงานที่นาผลวิจัยไปใช้ ประโยชน์
>> ประโยชน์ ท่ คี าดว่ าจะได้ รับ
1. ได้ ต้นแบบเครื่ องผลิตผงโปรตีนจากใยไหม และรังไหมเศษเหลือ ระดับอุตสาหกรรมชุมชน
2. ได้ กระบวนการผลิต เทคโนโลยี และการควบคุมคุณภาพของโปรตีนได้ ย่างมีประสิทธิภาพ
ปลอดภัยต่อสิ่งแวดล้ อม
3. ผลิตผงโปรตีนที่มีคณ
ุ ภาพ และประหยัดพลังงาน
4. สามารถถ่ายทอดเทคโนโลยี และขยายผลสูก่ ารสร้ างและการผลิตในเชิงพาณิชย์ได้ ต่อไป
โครงการวิจัยย่ อยที่ 2
ประโยชน์ ท่ คี าดว่ าจะได้ รับและ
แผนงานที่นาผลวิจัยไปใช้ ประโยชน์
>> ประโยชน์ ท่ คี าดว่ าจะได้ รับ
1. ได้ ผลิตภัณฑ์อาหารเสริ มสุขภาพจากดักแด้ ไหมและโปรตีนไหม และเครื่ องสาอางจากผงโปรตีน
ไหม ที่มีคณ
ุ ภาพและได้ มาตรฐาน และสามารถพัฒนาต่อเป็ นผลิตภัณฑ์มลู ค่าเพิ่มที่มีคณ
ุ ภาพ
มาตรฐานสากลเพื่อส่งออกได้ ในอนาคต
2. เกษตรกรผู้ผลิตไหมจะมีตลาดรองรับที่แน่นอนมากขึ ้น มีรายได้ สงู ขึ ้นและค่อนข้ างแน่นอน
สม่าเสมอ กลุม่ เกษตรกรหรื อภาคเอกชนที่เป็ นผู้ผลิต ผลิตภัณฑ์แปรรูปจากพืชสมุนไพรก็จะมี
รายได้ เพิ่มขึ ้นสามารถพัฒนาสูร่ ะบบอุตสาหกรรมเพื่อการส่งออกได้ ในอนาคต
โครงการวิจัยย่ อยที่ 3
ประโยชน์ ท่ คี าดว่ าจะได้ รับและ
แผนงานที่นาผลวิจัยไปใช้ ประโยชน์
>> ประโยชน์ ท่ คี าดว่ าจะได้ รับ
1. เพื่อผลิตโปรตีนไหมจากของที่เหลือจากการสาวไหม น ้าที่สาวไหม รังไหมและดักแด้
2. เพื่อผลิตผลิตภัณฑ์ที่สามารถนาเอาไปใช้ ประโยชน์จากของที่เหลือจากการสาวไหม น ้าที่สาวไหม
รังไหมและดักแด้
3. เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีแก่กลุม่ เกษตร ภาครัฐ และเอกชนที่สนใจ
>> หน่ วยงานที่นาผลการวิจัยไปใช้ ประโยชน์
1. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น
2. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์การเกษตร
3. สานักงานเกษตรอาเภอ จังหวัดต่าง ๆ ที่สง่ เสริ มการเลี ้ยงไหม
4. คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
5. พัฒนาชุมชนอาเภอชนบท จังหวัดขอนแก่น และ พัฒนาชุมชนอาเภออื่น ๆ
6. กลุม่ เกษตรกร และผู้ประกอบการภาคเอกชน
โครงการย่อยที่ 1
การพัฒนากระบวนการผลิตและ
เครื่องมือสกัดโปรตีนไหมระดับ
อุตสาหกรรมชุมชน
โครงการวิ จยั ย่อยที่ 1
ชุดเครื่องมือ และอุปกรณ์ การสกัดโปรตีนไหม
ถังนา้
ถังสารเคมี
ถังสารเคมี
ชุดควบคุม
ถังต้ มและปั่ นแห้ ง
ชุดควบคุม
ถังแช่ , ล้ าง
ชุดควบคุม
ชุดควบคุม
เครื่ องย่ อยรั งไหม
ถังตกตะกอน
เครื่ องทาแห้ งสุญญากาศแบบเย็น
(Cooling Vacuum Drier)
เครื่ องบรรจุ/ปิ ดผนึก
โครงการวิ จยั ย่อยที่ 1
เครื่องหั่นรังไหม
โครงการวิ จยั ย่อยที่ 1
ลักษณะของไหมที่ถูกหั่นแล้ ว
รั งไหมพันธุ์นางน้ อย
รั งไหมพันธุ์นางน้ อยที่ผ่านเครื่ องหั่น
รั งไหมพันธุ์ UB 1
รั งไหมพันธุ์ UB 1 ที่ผ่านเครื่ องหั่น
โครงการวิ จยั ย่อยที่ 1
ข้ อมูลระยะเวลาในการทดสอบ
ตัวอย่ าง
นา้ หนัก
ก่ อนหั่น
(กรัม)
นา้ หนัก
หลังหั่น
(กรัม)
เวลา
(นาที)
1
200
192.5
12.23
2
200
193.2
12.30
3
200
192.9
12.28
เฉลี่ย
200
192.8
12.27
โครงการวิ จยั ย่อยที่ 1
สรุ ปการหั่นรังไหม
จากการทดสอบหาความสามารถของเครื่องหันรั
่ งไหม
โดยใช้รงั ไหม 3 ชนิด มาทดสอบ พบว่าอัตราการทางาน
ทีด่ คี อื รังไหมพันธุ์ UB1 ซึ่งเป็ นรังไหมที่มรี งั แข็งและ
เส้นใยเกาะตัวกันดี ทาให้ใช้เวลาในการหันน้
่ อ ยและเส้น
ใยติดกัน เครื่อ งน้ อ ยท าให้เ กิดการสูญ เสีย ต่ อ น้ า หนัก
ดีกว่าพันธุอ์ ่นื ๆ ทีน่ ามาใช้ในการทดสอบ
โครงการวิ จยั ย่อยที่ 1
เครื่องต้ มรังไหม
ถังปั่นชั้นใน
ขนำดเส้นผ่ำนศูนย์กลำง
ควำมสูง
ควำมจุรังไหม
= 27 เซนติเมตร
= 40 เซนติเมตร
= 500 กรัม
ถังต้ มชั้นกลาง
ขนำดเส้นผ่ำนศูนย์กลำง
ควำมสูง
ปริ มำตร
= 40 เซนติเมตร
= 58 เซนติเมตร
= 72,885 ลูกบำศก์เซนติเมตร
ถังชั้นนอก
ควำมกว้ำง
ควำมยำว
ควำมสูง
= 50 เซนติเมตร
= 55 เซนติเมตร
= 65 เซนติเมตร
ภาพที่ 1 กระบวนการสกัดโปรตีนไฟโบรอินและเซริซิน
ผลการทดสอบและประเมินผลเครื่องต้ มรังไหมเพือ่ สกัดโปรตีนไฟโบรอิน
1) จากการทดสอบเครื่องต้ มรังไหมเพือ่ สกัดโปรตีนไฟโบรอินเหลว
เครื่องสามารถผลิตโปรตีนไฟโบรอินเหลวได้ เฉลีย่ ครั้งละ 23,725 กรัม
ผลการทดสอบและประเมินผลเครื่องต้ มรังไหมเพือ่ สกัดโปรตีนไฟโบรอิน
(ต่ อ)
2) นาโปรตีนไฟโบรอินเหลวมาผ่ านการกรองแล้ วล้ างด้ วยน้าและบิดให้ หมาด
ซึ่งจะได้ โปรตีนไฟโบรอิน เฉลีย่ ครั้งละ 518.98 กรัม
ผลการทดสอบและประเมินผลเครื่องต้ มรังไหมเพือ่ สกัดโปรตีนไฟโบรอิน
(ต่ อ)
3) ผลการทดสอบเพือ่ หาปริมาณของโปรตีนไฟโบรอินเหลวหลังผ่ านการอบ ได้
น้าหนักเปี ยกของโปรตีนไฟโบรอินเฉลี่ยครั้งละ 131.74 กรัม
4) ผลการทดสอบการหาความชื้นสุ ดท้ ายมาตรฐานเปี ยกของผงโปรตีนไฟโบรอิน
ได้ ความชื้นสุ ดท้ ายของผงไฟโบรอินเฉลีย่ ครั้งละ 5.88 เปอร์ เซ็นต์
5) ผลการทดสอบประสิ ทธิภาพในการทางานของเครื่องต้ มรังไหมเพือ่ สกัดโปรตีน
ไฟโบรอินเหลว ได้ ประสิ ทธิภาพการทางานของเครื่อง 71.41 เปอร์ เซ็นต์
ผลการประเมินความคุ้มค่ าทางเศรษฐศาสตร์
จากการคานวณหาจุดคุ้มทุนของเครื่องต้ มรังไหมเพือ่ สกัดโปรตีนไฟโบรอิน
เหลวต้ ม 1 ครั้งต่ อวันจะได้ จานวนรังไหมที่ต้ม 76.12 กิโลกรัมต่ อปี ราคาไฟโบรอินผง
กิโลกรัมละ 8,000 บาท โดยหักเป็ นค่ าสารเคมี ค่ าน้า ค่ าไฟฟ้ า ค่ าบารุงรักษา รวมเป็ น
6,721.5 บาท จะได้ กาไรจากการต้ มสกัดกิโลกรัมละ 1,278.5 บาท
ในกรณีหาจุดคุ้มทุนของเครื่องต้ มรังไหมเพือ่ สกัดโปรตีนไฟโบรอินเหลวที่
มูลค่ าเครื่อง 85,000 บาท ที่ราคาไฟโบรอินผงกิโลกรัมละ 8,000 บาท นี้ ต้ องต้ มรังไหม
เพือ่ สกัดโปรตีนไฟโบรอินผงทั้งหมด 76.12 กิโลกรัม คิดเป็ นการต้ มสกัด 580 ครั้ง
หรือ ต้ มสกัดเป็ นเวลา 2 ปี 3 เดือน
โครงการวิ จยั ย่อยที่ 1
เครื่องอบแห้ งสุญญากาศแบบเย็น
โครงการวิ จยั ย่อยที่ 1
การอบแห้ งผงโปรตีนไหม
โดยอบทุก 2 ชั่วโมง
อุณหภูมิ
(องศา
เซลเซียส)
10
15
20
ความดัน
(บาร์ )
พลังงาน
ไฟฟ้าที่ใช้
(กิโลวัตต์ )
นา้ หนัก
เริ่มต้ น
(กรั ม)
นา้ หนัก
เฉลี่ย ที่เวลา
2 ชั่วโมง
(กรั ม)
นา้ หนักที่
หายไป
(กรั ม)
0.7
2.1
58.82
56.25
1.95
0.8
2.0
58.90
56.59
2.31
0.9
2.1
58.73
56.57
1.73
0.7
1.9
56.25
54.86
1.39
0.8
2.0
56.59
55.28
1.31
0.9
2.0
56.57
55.49
1.08
0.7
1.8
54.86
53.75
1.11
0.8
1.9
55.28
54.19
1.09
0.9
1.8
55.49
54.64
0.85
โครงการย่อยที่ 2
การพัฒนาผลิตภัณฑ์และบรรจุ
ภัณฑ์อาหารและเครือ่ งสาอางจาก
ดักแด้ไหมและโปรตีนไหม
ตามหลัก GMP
โครงการวิ จยั ย่อยที่ 2
ผลิตภัณฑ์ จากไหม, รังไหม และดักแด้
ประเภทนา้ พริกและขนมขบเคีย้ ว
น้ ำพริ กนรก
นา้ พริกนรก จานวน 1,000 กรัม
ควำมพึงพอใจ
มาก
น้ ำพริ กเผำ
นา้ พริกเผา จานวน 1,000 กรัม
ควำมพึงพอใจ
มาก
น้ ำพริ กปลำร้ำ
นา้ พริกปลาร้ า
จานวน 1,000 กรัม
ควำมพึงพอใจ
มาก
ขนมกระหรี่ พบั
ขนมกระหรี่พบั
จานวน 1,000 กรัม
ควำมพึง
พอใจ
มาก
ข้ำวเกรี ยบ
ข้ าวเกรียบ
จานวน 1,000 กรัม
ควำมพึง
พอใจ
มาก
ขนมกรอบเค็ม
ขนมกรอบเค็ม
จานวน 1,000 กรัม
ควำมพึง
พอใจ
มาก
ตัวอย่ำงบรรจุภณั ฑ์และฉลำกสิ นค้ำ
ไม่ ใส่ สี
ไม่ ใส่ สี
ไม่ ใส่ สี
ไม่ ใส่ วตั ถุกันเสี ย
ไม่ ใส่ วตั ถุกันเสี ย
ไม่ ใส่ วตั ถุกันเสี ย
ข้อมูลโภชนาการ
หนึ่ งหน่ วยบริ โภค : 1 ช้อนโต๊ะ
(18 กรัม) จานวนหน่ วยบริ โภคต่ อ
ขวด : 5คุณค่าทางโภชนาการต่อหนึ่ ง
หน่ วยบริ โภค : พลังงานทั้งหมด 40
กิโลแคลอรี่ : พลังงานจากไขมัน 0
กิโลแคลอรี่ : ไขมันทั้งหมด 0 ก.:
โปรตีน 2 ก.: คาโบไฮเดรต 8 ก.:
ใยอาอหาร 1 ก.: น้ าตาล 5 ก.:
โซเดียม 720 มก.:
ข้อมูลโภชนาการ
หนึ่งหน่วยบริ โภค : 1 ช้อนโต๊ะ (18
กรัม) จานวนหน่วยบริ โภคต่อขวด : 5
คุ ณ ค่ า ทางโภชนาการต่ อ หนึ่ ง หน่ ว ย
บริ โภค : พลังงานทั้งหมด 40 กิโ ล
แคลอรี่ : พลังงานจากไขมัน 0 กิโล
แคลอรี่ :
ไขมัน ทั้งหมด 0 ก.:
โปรตีน 2 ก.: คาโบไฮเดรต 8 ก.:
ใยอาอหาร 1 ก.: น้ าตาล 5 ก.:
โซเดียม 720 มก.:
ข้อมูลโภชนาการ
หนึ่งหน่วยบริ โภค : 1 ช้อนโต๊ะ (18
กรัม) จานวนหน่วยบริ โภคต่อขวด : 5
คุ ณ ค่ า ทางโภชนาการต่ อ หนึ่ ง หน่ ว ย
บริ โภค : พลังงานทั้งหมด 40 กิโ ล
แคลอรี่ : พลังงานจากไขมัน 0 กิโล
แคลอรี่ :
ไขมัน ทั้งหมด 0 ก.:
โปรตีน 2 ก.: คาโบไฮเดรต 8 ก.:
ใยอาอหาร 1 ก.: น้ าตาล 5 ก.:
โซเดียม 720 มก.:
ตัวอย่ำงบรรจุภณั ฑ์และฉลำกสิ นค้ำ
สวนผสม INGREDIENT
แป้งสาลี 28% พริกไทย 1%
กระเทียม 2% น้าตาล 8%
ผงดักแด้ 10%
ข้ อมูลโภชนาการ
หนึ่งหน่ วยบริโภค : 1 ช้ อนโต๊ ะ(18 กรัม) คุณค่ าทางโภชนาการต่ อ
หนึ่งหน่ วยบริโภค: พลังงานทั้งหมด 40 กิโลแคลอรี่ :กิโลแคลอรี่ :
โปรตีน 2 ก.:คาโบไฮเดรต 8 ก.:ใยอาอหาร1 ก.: นา้ ตาล5 ก.:
ไม่ ใส่ สี
สวนผสม INGREDIENT
พริกไทย 5% กระเทียม 2%
น้าตาล 28% เผือก 57%
ผงดักแด้ 10%
ไม่ ใส่ วตั ถุกนั เสี ย
ข้ อมูลโภชนาการ
หนึ่งหน่ วยบริโภค : 1 ช้ อนโต๊ ะ(18 กรัม) คุณค่ า
ทางโภชนาการต่ อ หนึ่ ง หน่ วยบริ โ ภค: พลั ง งาน
ทั้งหมด 40 กิโลแคลอรี่ :กิโลแคลอรี่ : โปรตีน 2
ก.:คาโบไฮเดรต 8 ก.:ใยอาอหาร1 ก.: น้าตาล5
ก.:
สวนผสม INGREDIENT
แป้งสาลี 28%
ไก่ 30%
นา้ ตาล 12%
หอมหัวใหญ่ 6%
ผงดักแด้ 10%
ข้ อมูลโภชนาการ
หนึ่งหน่ วยบริโภค : 1 ช้ อน
โต๊ ะ (18 กรั ม ) คุ ณ ค่ า ทาง
โ ภช น า ก า ร ต่ อ ห นึ่ ง ห น่ ว ย
บริโภค: พลังงานทั้งหมด 40
กิ โ ล แ ค ล อ รี่ :กิ โ ล แ ค ล อ รี่ :
โปรตีน 2 ก.:คาโบไฮเดรต 8
ก.:ใยอาอหาร1 ก.: น้าตาล5
ก.:
ไม่ ใส่ วตั ถุกนั เสี ย
ไม่ ใส่ สี
ไม่ ใส่ สี
ไม่ ใส่ วตั ถุกนั เสีย
โครงการวิ จยั ย่อยที่ 2
ผลิตภัณฑ์ จากไหม, รังไหม และดักแด้
ประเภทเครื่องสาอาง
สู ตรตารับ
ผลิตภัณฑ์ ปรับสภาพเส้ นผม
ส่ วนประกอบ
ปริมาณ
Serecin
5 g
Properlyne glycol
9 g
HPMC 4000
0.1 g
Sodium citrate
0.1 g
Sodium benzoate
0.1 g
น้ ำและ อื่นๆ
105 g
โครงการวิ จยั ย่อยที่ 2
เจลบารุ งผิว (ผิวมัน และแห้ ง) แบบหลอด
สู ตรตารับ
ส่ วนประกอบ
ปริมาณ
ประโยชน์
emulsion
Serecin
3.0 g
Moisturizing
Jojoba oil
2.5 g
Emollient
Span 80
2.825 g
Emulsifier
Tween 80
2.175 g
Emulsifier
Glycerin
2.5 g
Humectant
Propylene glycol
2.5 g
Humectant
gel
บำรุ งผิว สำหรับผิวมัน ทำให้ผวิ ชุ่มชื้น
วิธีใช้ : ทำวันละ 1-2 ครั้ง
Propylene glycol
Humectant
Paraben conc.
Preservative
น้ ำและ อื่นๆ
73.5 g
โครงการวิ จยั ย่อยที่ 2
เจล
สู ตรตารับ
ส่ วนประกอบ
ปริมาณ
ประโยชน์
Serecin
3.0 g
Moisturizing
Carbopol 940
0.75 g
Emollient
Paraben conc.
2.825 g
Emulsifier
EDTA
0.1 g
Antioxidant
น้ ำและ อื่นๆ
93.25 g
บำรุ งผิว สำหรับผิวมัน ทำให้ผวิ ชุ่มชื้น สำหรับผิวมัน
วิธีใช้ : ทำก่อนนอน หรื อ ตอนกลำงวัน ป้ องกันผิวแห้ง
โครงการวิ จยั ย่อยที่ 2
เจล
สู ตรตารับ
ส่ วนประกอบ
ปริมาณ
ประโยชน์
Serecin
3.0 g
Moisturizing
Stearic acid
23.0 g
Stiffening agent
Paraben conc.
2.0 g
Preservative
TEA
1.35 g
Emulsifier
Sodium metabisulphide
0.1 g
Antioxidant
น้ ำและ อื่นๆ
70.45 g
บำรุ งผิว ทำให้ผวิ ชุ่มชื้น สำหรับผิวแห้ง
วิธีใช้ : ทำก่อนนอน
โครงการวิ จยั ย่อยที่ 2
โลชั่นทาผิว
สู ตรตารับ
ส่ วนประกอบ
Cetyl alcohol
BHT
Tween 80
Span 80
EDTA
Glycerine
Paraben conc.
Serecin
ปริมาณ
8 g
0.1 g
5.05 g
2.95 g
0.1 g
3 g
2 g
3 g
น้ ำและ อื่นๆ
10.7 g
โครงการย่อยที่ 3
การจัดการของเสียและสิ่งแวดล้อม
การผลิตโปรตีนไหมระดับ
อุตสาหกรรมชุมชน
โครงการวิจัยย่ อยที่ 3
การจัดการของเสียและสิ่งแวดล้อมการผลิตโปรตีนไหม
ระดับอุตสาหกรรมชุมชน
การบาบัดนา้ เสี ย
การบาบัดนา้ เสี ย แบ่ งได้ 3 วิธี ดังนี้
1. การบาบัดน้าเสี ยด้ วยวิธี ทางกายภาพ เช่ น
แรงโน้มถ่วง แรงเหวีย่ ง แรงหนีศูนย์กลำง
เป็ นต้น เพื่อกำจัดหรื อขจัดเอำสิ่ งสกปรกออก
จำกน้ ำเสี ย โดยเฉพำะสิ่ งสกปรกที่ไม่ละลำยน้ ำ
ซึ่งมีหลำยวิธีได้แก่
1) กำรกรองด้วยตะแกรง
2) กำรทำให้ลอย
3) กำรตัดย่อย
4) รำงดักกรวดทรำย
5) กำรปรับสภำพกำรไหล
6) กำรตกตะกอน
2. การบาบัดนา้ เสี ยด้ วยวิธีทางเคมี เป็ นกำร
ใช้สำรเคมีหรื อกำรทำให้เกิดปฏิกิริยำเคมี
เพื่อบำบัดน้ ำเสี ย มีวตั ถุประสงค์ ดังนี้
1) เพื่อรวมตะกอนหรื อของแข็งแขวนลอย
ขนำดเล็กในน้ ำเสี ยให้มีขนำดโตพอ
ที่จะตกตะกอนได้ง่ำย
2) เพื่อให้ของแข็งที่ละลำยในน้ ำเสี ยให้
กลำยเป็ นตะกอน
3) เพื่อทำกำรปรับสภำพน้ ำเสี ยให้มี
ควำมเหมำะสมที่จะนำไปบำบัดด้วย
กระบวนกำรอื่นต่อไป
4) เพื่อทำลำยเชื้อโรคในน้ ำเสี ยก่อนปล่อยลง
สู่แหล่งน้ ำตำมธรรมชำติ หรื อก่อนที่จะ
บำบัดด้วยวิธีกำรอื่น ๆ ต่อไป
โครงการวิจัยย่ อยที่ 3
3. การบ าบั ด น้ า เสี ย ด้ ว ยวิ ธี ท างชี ว ภาพ เป็ นกำรใช้
สิ่ งมีชีวิตเป็ นตัวช่วยในกำรเปลี่ยนสภำพของของเสี ยใน
น้ ำให้อยู่ในสภำพที่ ไม่ก่อให้เกิ ดปั ญหำ ภำวะมลพิษต่ อ
แหล่งน้ ำธรรมชำติ ได้แก่ เปลี่ยนให้กลำยเป็ นแก๊ส ทำให้
มีกลิ่นเหม็น เป็ นต้น
การจัดการของเสี ยและสิ่ งแวดล้ อมการผลิตโปรตีนไหมระดับอุตสาหกรรมชุ มชน
ขั้นตอนการทางานของเครื่องการบาบัดนา้ เสี ยจากการสกัดโปรตีนจากรังไหม
เครื่องบาบัดนา้ เสี ยจากการสกัดโปรตีนจากรังไหม
ชุดกลัน่ ไอนา้
• กระบอกลดไอน ้า
• ท่อไอน ้า
- ทาจากสแตนเลสหนา
ถังต้ มสาร
• ขนาด 100 ลิตร
• ท่อด้ านบนทาจากสแตนเลส
• หัวกลัน่ ทาจากท่อสแตนเลส
ถังเติมออกซิเจน
• ถังเติมออกซิเจน มีหน้ าที่เพิ่มอากาศให้ แก่น ้า
โดยมีสว่ นประกอบ คือ
- แผ่นสแตนเลสหนา 1.2 มิลลิเมตร เส้ นผ่าน
ศูนย์กลาง 60 เซนติเมตรความสูง 60 เซนติเมตร
- สายยางใส่หวั พ้ นฝอยเส้ นผ่านศูนย์กลาง 8
มิลลิเมตร ความยาว 2 เมตร
- หัวฉีดฝอยพลาสติก 10 อันมีมมุ เอียงด้ านล่าง
ของถัง 25 องศา
ถังพักน้า
• ถังพัก มีหน้ าที่ ให้ น ้าเข้ าสูส่ ภาพปกติ มี
ส่วนประกอบ คือ
- แผ่นสแตนเลส หนา 1.2 มิลลิเมตร เส้ นผ่านศูนย์กลาง 60 เซนติเมตร ความสูง 60
เซนติเมตร และมุมเอียงด้ านล่างของถัง 25
องศา
ปั๊มน้าสแตนเลส
ถังเก็บเอทธิลแอลกอฮอล์
• ความสามารถในการจ่ายน ้า 5 45 ลิตร / นาที มีความเร็วรอบ
800 รอบต่อนาทีโดยมีกาลังส่ง
สูง 13.5 - 31.5 เมตร และ กาลัง
มอเตอร์ ขนาด 0.6 แรงม้ า
ถังเก็บเอทธิลแอลกอฮอล์ใช้ เกณฑ์การ
ออกแบบโดยใช้ ถงั พลาสติก บรรจุน ้าได้ 20
ลิตร และเป็ นแบบฝาเปิ ดปิ ดได้ เพื่อไม่ให้ สาร
เอทธิลแอลกอฮอล์ระเหยได้ และเพื่อการตวง
สารเอทธิลแอลกอฮอล์ได้ ง่าย
ถังน้าหล่ อเย็น
• ถังเก็บน ้าพลาสติก บรรจุน ้าได้
450 ลิตร และเป็ นแบบฝาเปิ ดปิ ด
ได้ เพื่อง่ายต่อการเติมน ้าใช้ เป็ น
ถังปั๊ มน ้าที่ไปหล่อเย็นให้ แก่ทอ่
กลัน่
สรุป
- ผลการสกัด
ขันตอนที
้
่ 1 เป็ นการสกัดโดยจะมีการแยกเซริ ซีนออกจากไฟโบรอินโดยการต้ ม
สารละลาย Na2Co3 0.5 เปอร์ เซ็นต์ ซึง่ จะได้ ไฟโบรอิน
ขันตอนที
้
่ 2 นาไฟโบรอินมาต้ มด้ วยสารละลาย CaCl2, H2O, C2H5OH ใน
อัตราส่วน 1:8:2 แล้ วแยกไฟโบอินออกจากน ้าเสีย
- ผลการออกแบบสร้ างเครื่ อง โครงสร้ างและอุปกรณ์ติดตั ้งอยู่บนฐาน ซึง่ มีความกว้ าง 120 เซนติเมตร ความยาว 180
เซนติเมตร ความสูง 60 เซนติเมตร โดยมีองค์ประกอบหลักอยู่ 2 ส่วน
1.เครื่ องกลัน่ แอลกอฮอล์ทามาจากเหล็กสแตนเลสเส้ นผ่านศูนย์กลาง 60 เซนติเมตร ความสูง 120 เซนติเมตร
2.เครื่ องเติมอากาศทาจากเหล็กสแตนเลสเส้ นผ่านศูนย์กลาง 60 เซนติเมตร ความสูง 60 เซนติเมตร
- ผลจากการศึกษาความคุ้มค่ าทางเศรษฐศาสตร์ ระยะเวลาในการคืนทุนคือ 67 วัน
- ผลการประเมินสมรรถนะของเครื่ อง เครื่ องมีความสามารถในการทางาน 48,000 ลิตรต่อปี เมื่อใช้ งาน 240 วันต่อปี
ค่าจ้ างบาบัดน ้าเสีย 2 บาทต่อลิตร ได้ กาไร 192,185 บาทต่อปี โดยมีราคาเครื่ อง 46,895 บาท ทางานได้ สะดวก น ้าเสียที่
ผ่านการบาบัดอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานน ้าทิ ้ง
จบการนาเสนอ
ขอบคุณผู้เข้ าร่ วมอบรมทุกท่ าน