การ เรียน การ สอน ผ่าน Facebook

Download Report

Transcript การ เรียน การ สอน ผ่าน Facebook

การเรียนการสอนผ่าน Facebook ร่วมกับ
การใช้ปัญหาเป็ นฐาน วิชาการออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์
Teaching and Learning Through Facebook
with Problem-based Learning in Software
Design and Development Subject
ิ
โดย ศราวุธ มากชต
เนื้อหา
ปั ญหาที่พบในการเรียนการสอน
 วัตถุประสงค์ของโครงการวิจยั
 คาถามเพือ่ การวิจยั
 ขอบเขตของโครงการวิจยั
 วิธีดาเนินการวิจยั
 ผลการวิจยั
 สรุปผลและอภิปรายผล

2
ปั ญหาที่พบในการเรียนการสอนรายวิชาดังกล่าว
๑. ด้านนักศึกษา พบว่า นักศึกษาลาหรือขาดเรียน นักศึกษาบางคนเข้าเรียนแต่ไม่เข้าใจ
หรือตามไม่ทนั เนื้อหาในชัน้ เรียน
๒. ด้านสือ่ การเรียนการสอน พบว่า สือ่ ทีใ่ ช้ในการเรียนการสอนยังไม่กระตุน้ ด้วยสถานการณ์ปัญหา
ให้นกั ศึกษาเกิดความต้องการแก้ปัญหา และยังขาดสือ่ การสอนทีม่ ีเทคโนโลยีในการนาเสนอ
อยูบ่ นเครือข่ายสังคมออนไลน์ ซึง่ ง่ายต่อการเข้าถึงและใช้งานสือ่ การสอน จึงทาให้การจัดการเรียน
การสอนไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์เท่าทีค่ วร
๓. ด้านผูส้ อน พบว่า ผูส้ อน สอนในวิชาการออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์ หลายกลุม่ เรียน
ซึง่ มีเนื้อหาทีเ่ หมือนกัน ทาให้ตอ้ งทาการสอนแบบเดิมๆ หลายครัง้
3
วัตถุประสงค์ของโครงการวิจยั
๑. เพื่อศึกษารูปแบบการสอนผ่าน Facebook ร่วมกับการใช้ปัญหาเป็ นฐาน
วิชาการออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์
๒. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียน
๓. เพื่อประเมินความพึงพอใจของนักศึกษา ทีม่ ีตอ่ การใช้ Facebook
ร่วมกับการใช้ปัญหาเป็ นฐานในการเรียนการสอน วิชาการออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์
4
คาถามเพือ่ การวิจยั
ทาอย่างไรให้นกั ศึกษาเข้าใจบทเรียนและมีทกั ษะในการเขียนโปรแกรม
รวมทัง้ สามารถสือ่ สารข้อมูลเพื่อสนับสนุนการเรียนการสอน
โดยทีส่ ามารถเรียนรูไ้ ด้ตลอดเวลา ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
5
ขอบเขตของโครงการวิจยั
ก) ประชากร : ประชากรทีใ่ ช้ในการวิจยั ครัง้ นี้ คือ นักศึกษาระดับปริญญาตรี ชัน้ ปี ที่ ๓ ทีเ่ ข้า
กลุม่ เรียนวิชาการออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์ ในปี การศึกษา ๒๕๕๕ เทอม ๒ จานวน ๓๐
คน
 ข) กลุม
่ ตัวอย่าง : กลุม่ ตัวอย่างทีใ่ ช้ในการวิจยั ครัง้ นี้ คือ นักศึกษาระดับปริญญาตรี ชัน้ ปี ที่ ๓
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี ทีล่ งทะเบียนเรียนวิชาการออกแบบและพัฒนา
ซอฟต์แวร์ ในปี การศึกษา ๒๕๕๕ เทอมที่ ๒ จานวน ๓๐ คน ซึง่ ได้มาจากการสุม่ ตัวอย่างแบบ
เจาะจง

6
ขอบเขตของโครงการวิจยั
แบ่งเนื้อหาออกเป็ น ๖ บทเรียน
๑) Flow chart, DFD (Data flow diagram), ER-diagram
and Data dictionary
๒) Create database (Access 2007)
๓) Modules, Connection string, Advanced message box,
Comments and Try catch
๔) Menu Strip, Combo box, Login form and Linking forms
๕) Insert, update, delete and select data for show with list view
๖) Report (Crystal report)
7
วิธีดาเนินการวิจยั
8
การพัฒนาบทเรียนวิชาการออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์
Flowchart, DFD(Dataflowdiagram),
ER-diagramand Datadictionary
Modules, Connection string, Advanced
message box, Commentsand Try catch
Create database (Access
)
Menu Strip, Combo box, Login
formand Linkingformsreport)
Insert, update, delete and select datafor
showwith list view
Report (Crystal report)
9
แผนภูมิระดมความคิดเห็นทางด้านเนื้อหา (Brainstorming Chart)
การพัฒนาบทเรียนวิชาการออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์
Flow chart
DFD (Data
flow diagram)
MS
Access
Menu Strip
ER-diagram
Combo box
Data dictionary
Flow chart, DFD (Data flow diagram),
ER-diagram and Data dictionary
Create database (Access
)
Login form
Linking forms
Menu Strip, Combo box, Login
form and Linking forms
Modules, Connection string, Advanced
message box, Comments and Try catch
Modules
message box
Report (Crystal report)
Insert, update, delete and
select data for show with list view
Try catch
Connection
string
SQL
Dataset
SQL
DataTable
Comments
SQL
SQL
แผนภูมิหวั เรือ่ งสัมพันธ์ (Content Chart Creation)
SQL
10
Flow chart
การพัฒนาบทเรียน
วิชาการออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์
Flow chart,
DFD (Data flow diagram),
ER-diagram,
Data dictionary
1
2
Combo box
8
Login form
4
ER-diagram
5
9
10
11
Linking forms
Modules
14
DFD
Data dictionary
Menu Strip
Menu Strip,
Combo box,
Login form,
Linking forms
3
16
Try catch
17 20
Connection string
Comments
18
6
Modules,
Connection string,
13
12
message box,
Comments,
Try catch
15
message box
7
Create database
(Access
)
21
Insert,update,delete,
select data for show
with list view
MS Access
19
SQL
23
29
SQL
22
แผนภูมิโครงข่ายเนื้อหา
(Content Network Chart Creation)
SQL
SQL
24
25
27
Report
(Crystal report)
28
Dataset
30
DataTable
31
SQL
32
26
33
11
องค์ประกอบของบทเรียน
Facebook
Facebook
12
แสดงแผนภูมิการนาเสนอลาดับการเรียนทัง้ รายวิชา (Course Flow Chart)
การหาค่าความยากง่ายและค่าอานาจจาแนก

นาแบบทดสอบไปทดลองใช้กบั นักศึกษาทีเ่ คยลงทะเบียนเรียนวิชาการออกแบบและพัฒนา
ซอฟต์แวร์ แล้วนาผลการทดสอบมาวิเคราะห์หาค่าความยากง่าย (p) ค่าอานาจจาแนก (r)
ของแบบทดสอบเป็ นรายข้อการหาค่าความยากง่าย
13
การแปลความหมายค่าความยาก (P) ของข้อสอบ
ค่า p
ความหมาย
๐.๐๐ – ๐.๐๙
๐.๑๐
- ๐.๑๙
๐.๒๐
- ๐.๓๙
๐.๔๐
- ๐.๖๐
๐.๖๑
- ๐.๘๐
๐.๘๑
- ๐.๙๐
๐.๙๑
- ๑.๐๐
ยากมาก
ยาก
คอนข
างยาก
่
้
พอเหมาะ
คอนข
างง
่
้ าย
่
งาย
่
งายมาก
่
14
การแปลความหมายค่าอานาจจาแนก (R) ของข้อสอบ
ค่า r
ความหมาย
๐.๒๐ – ๑.๐๐
๐.๑๐ – ๐.๑๙
๐.๐๑ – ๐.๐๙
๐.๐๐
ติดลบ
จาแนกสูง
จาแนกคอนข
างต
า่
่
้
จาแนกตา่
ไมมี
่ อานาจจาแนก
จาแนกกลับ
15
ผลการวิเคราะห์คา่ ความยากง่าย ค่าอานาจจาแนก และ ค่าความเชือ่ มัน่ ของ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อน และหลังเรียน
ข้อ
ที่
ค่าความยาก
ง่าย (p)
๑
๒
๓
๔
๕
๖
๗
๘
๙
๑๐
๑๑
๑๒
๑๓
๑๔
๑๕
๑๖
๑๗
๑๘
๑๙
๒๐
๐.๕๗
๐.๔๓
๐.๕๓
๐.๕๗
๐.๔๓
๐.๔๐
๐.๕๐
๐.๕๓
๐.๕๐
๐.๖๐
๐.๔๗
๐.๖๐
๐.๔๗
๐.๔๗
๐.๕๐
๐.๕๗
๐.๕๓
๐.๖๐
๐.๕๐
๐.๕๗
ค่าอานาจจาแนก ข้อ ค่าความยากง่าย ค่าอานาจจาแนก
(r)
(p)
(r)
ที่
๐.๔๐
๐.๔๐
๐.๓๓
๐.๒๗
๐.๖๐
๐.๓๓
๐.๓๓
๐.๖๗
๐.๒๗
๐.๓๓
๐.๘๐
๐.๒๗
๐.๓๓
๐.๓๓
๐.๓๓
๐.๖๐
๐.๓๓
๐.๒๗
๐.๒๗
๐.๔๗
๒๑
๒๒
๒๓
๒๔
๒๕
๒๖
๒๗
๒๘
๒๙
๓๐
๓๑
๓๒
๓๓
๓๔
๓๕
๓๖
๓๗
๓๘
๓๙
๔๐
๐.๖๓
๐.๕๓
๐.๔๓
๐.๖๓
๐.๔๗
๐.๕๓
๐.๔๗
๐.๖๐
๐.๕๓
๐.๕๗
๐.๕๗
๐.๖๐
๐.๔๐
๐.๕๓
๐.๖๐
๐.๔๐
๐.๖๐
๐.๖๐
๐.๕๗
๐.๖๐
๐.๓๓
๐.๔๗
๐.๔๗
๐.๒๗
๐.๔๗
๐.๖๗
๐.๔๐
๐.๔๗
๐.๖๐
๐.๒๗
๐.๕๓
๐.๔๐
๐.๔๗
๐.๓๓
๐.๔๐
๐.๓๓
๐.๔๐
๐.๓๓
๐.๔๐
๐.๒๗
16
ตัวอย่างหน้าจอ FACEBOOK ทีก่ าลังสอนนักศึกษา
การสร้างกลุม่ ผูเ้ รียน
17
ตัวอย่างหน้าจอ FACEBOOK ทีก่ าลังสอนนักศึกษา
การอัพโหลดเอกสารเพื่อให้นกั ศึกษาดาวน์โหลด
18
ตัวอย่างหน้าจอ FACEBOOK ทีก่ าลังสอนนักศึกษา
การสร้างกาหนดการ (Event) ของการสอนในแต่ละคาบเรียน
19
ตัวอย่างหน้าจอ FACEBOOK ทีก่ าลังสอนนักศึกษา
20
การพูดคุยกับนักศึกษาหลังจากอัพโหลดบทเรียนให้นกั ศึกษา
ตัวอย่างหน้าจอ YOUTUBE ทีก่ าลังสอนนักศึกษา
21
ตัวอย่างหน้าจอ FACEBOOK ทีก่ าลังสอนนักศึกษา
22
ตัวอย่างหน้าจอ FACEBOOK ทีก่ าลังสอนนักศึกษา
23
ตัวอย่างหน้าจอ FACEBOOK ทีก่ าลังสอนนักศึกษา
24
ตัวอย่างหน้าจอ FACEBOOK ทีก่ าลังสอนนักศึกษา
25
ผลการวิจยั

ผลการหาประสิทธิภาพของบทเรียนผ่าน Facebook ร่วมกับการใช้ปัญหาเป็ นฐานใน
การเรียนการสอน วิชาการออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์
การสอบ
แบบทดสอบระหวางเรี
ยน
่
(คะแนนเต็ม (๖๐ คะแนน)
แบบทดสอบวัดผลสั มฤทธิ ์
(คะแนนเต็ม ๔๐ คะแนน)
ค่าเฉลี่ยร้อยละ
๕๐.๕๖
๘๔.๒๗
๓๖.๑๓
๙๐.๓๓
การใช้บทเรียนผ่าน Facebook ร่วมกับการใช้ปัญหาเป็ นฐานในการเรียนการสอน ทีส่ ร้างขึ้น
นี้มีประสิทธิภาพ ๘๔.๒๗/๙๐.๓๓ ซึง่ สูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานทีก่ าหนดไว้ คือ ๘๐/๘๐ ถือได้วา่ เป็ น
บทเรียนทีม่ ีประสิทธิภาพดี สามารถนาไปใช้ได้
26
ผลการวิจยั

ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาก่อนและหลังการเรียนรู ้
ด้วยบทเรียนผ่าน Facebook ร่วมกับการใช้ปัญหาเป็ นฐานในการเรียนการสอน วิชาการ
ออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์
การสอบ
(เต็ม ๔๐ คะแนน)
N
S.D.
กอนเรี
ยน
่
๓๐
๑๗.๔๗
๕.๗๒
หลังเรียน
๓๐
๓๖.๑๓
๒.๙๖
D
D๒
t
๕๖๐
๑๑๑๓๖
๒๑.๐๗**
** มีนยั สาคัญทางสถิตทิ รี่ ะดับ .๐๑ (t.๐๑, ๒๙ = ๒.๔๖๒)
เมื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาก่อนและหลังเรียน
พบว่าคะแนนเฉลี่ยของนักศึกษาหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนยั สาคัญทางสถิตทิ รี่ ะดับ .๐๑
27
ผลการวิจยั

การศึกษาความพึงพอใจของผูเ้ รียนทีม่ ีตอ่ บทเรียนผ่าน Facebook ร่วมกับการใช้ปัญหาเป็ นฐาน
ในการเรียนการสอน วิชาการออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์
สรุปจากแบบสอบถามได้วา่ นักศึกษาทีล่ งทะเบียนเรียนวิชาการออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์ มีความ
พึงพอใจต่อการเรียนการสอนผ่าน Facebook ร่วมกับการใช้ปัญหาเป็ นฐาน วิชาการออกแบบ
และพัฒนาซอฟต์แวร์ โดยรวมทุกข้อมีคา่ เฉลี่ย ๔.๒๙ ซึง่ อยูใ่ นระดับ มากทีส่ ุด
28
สรุปผล
๑. ค่าประสิทธิภาพของบทเรียนผ่าน Facebook ร่วมกับการใช้ปัญหาเป็ นฐานในการเรียน
การสอน ทีพ่ ฒ
ั นาขึ้นมีประสิทธิภาพ ๘๔.๒๗/๙๐.๓๓ ซึง่ เป็ นไปตามเกณฑ์ ๘๐/๘๐
๒. นักศึกษามีคะแนนเฉลี่ยของหลังเรียนด้วยบทเรียนผ่าน Facebook ร่วมกับการใช้
ปัญหาเป็ นฐานสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนยั สาคัญทางสถิตทิ รี่ ะดับ .๐๑
๓. จากการสารวจความพึงพอใจของนักศึกษาทีเ่ รียนด้วยบทเรียนผ่าน Facebook ร่วมกับ
การใช้ปัญหาเป็ นฐานในการเรียนการสอน พบว่านักศึกษามีความพึงพอใจต่อการเรียนอยูใ่ น
ระดับมากทีส่ ุด
29
อภิปรายผล
๑. ผูส้ อนควรให้ความช่วยเหลือ แนะนา แก้ปัญหาหรือตอบข้อสงสัยทีเ่ กิดขึ้น ทัง้ ในด้านเนื้อหา
บทเรียนและแบบฝึ กหัด หรือข้อทดสอบต่างๆ
๒. ในการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์นกั ศึกษาควรอ่านคาอธิบายและวิธีการใช้บทเรียนอย่างละเอียด
และนักศึกษาควรศึกษาความรูจ้ ากแหล่งความรูอ้ นื่ ๆ เพิ่มเติม เพื่อให้สามารถใช้บทเรียนและ
เข้าใจบทเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น
๓. ควรมีการสนับสนุนให้มีการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ในการจัดการเรียนการสอนผ่าน
Facebook ร่วมกับการใช้ปัญหาเป็ นฐาน กับนักศึกษาในวิชาอืน่ ๆ ทีเ่ หมาะสมแก่การใช้
บทเรียนคอมพิวเตอร์ เพื่อให้นกั ศึกษามีความกระตือรือร้น สนใจและฝึ กความรับผิดชอบใน
การเรียนมากยิ่งขึ้น เป็ นการส่งเสริมให้นกั ศึกษารูจ้ กั การเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง
๔. นักศึกษาจะต้องดาเนินกิจกรรมทุกอย่างด้วยตนเอง และควบคุมการเรียนจนเสร็จสิ้น
กระบวนการ ซึง่ อาจทาให้นกั ศึกษามีปฏิสมั พันธ์กบั ผูส้ อน หรือ กับนักศึกษาน้อยลง ดังนัน้ จึง
ควรจัดกิจกรรมการเรียนให้มีปฏิสมั พันธ์ระหว่างผูส้ อนกับนักศึกษา หรือ นักศึกษากับ
นักศึกษาให้มากขึ้น นอกจากจะพูดคุยกันผ่าน Facebook เพียงอย่างเดียว
30
ANY QUESTIONS ?
31