ผลของการช่วยเสริมศักยภาพในการเรียนแบบใช้ปัญหาเป็นหลักบนเว็บ ที่มีต่อ

Download Report

Transcript ผลของการช่วยเสริมศักยภาพในการเรียนแบบใช้ปัญหาเป็นหลักบนเว็บ ที่มีต่อ

ผลของการช่วยเสริมศักยภาพในการเรียนแบบใช้ปัญหาเป็ นหลักบนเว็บ
ที่มีตอ่ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์
EFFECTSOF SCAFFOLDINGS IN PROBLEM-BASED LEARNING ON WEB
UPON SCIENCE SUBJECT LEARNING ACHIEVEMENT
โดย นางสาวศศิวรรณ ชานิยนต์
และอาจารย์ ดร.ปราวีณยา สุวรรณณัฐโชติ
บทนา
การศึกษาไทย
การเรียนโดยใช้ปัญหาเป็ นหลัก (Problem-based Learning ; PBL)
การช่วยเสริมศักยภาพ (Scaffolding)
การศึกษาไทย
ส่งเสริมให้ผเู้ รียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ
คิดเป็ น
ทาเป็ น
แก้ปัญหาเป็ น
การเรียนโดยใช้ปัญหาเป็ นหลัก
(Problem-based Learning ; PBL)
เกิดปฏิสมั พันธ์ระหว่างผูเ้ รียน
ยังคงรักษารูปแบบของการเรียนในชั้นเรียน
มีโอกาสได้เรียนรูด้ ว้ ยตนเอง
ได้เลือกปั ญหาวิธีการเรียนบนพื้ นฐาน
ของพัฒนาการและความสนใจ
ข้อดีของการเรียนโดยใช้ปัญหาเป็ นหลัก
ได้รบั ความรูใ้ นเนื้ อหาวิชาที่เป็ นการบูรณาการ 
สามารถพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหา ฝึ กทักษะในการแก้ปัญหา 
เรียนรูด้ ว้ ยตนเอง 
พัฒนากระบวนการทางานเป็ นทีม 
การใช้เหตุผลในการคิดวิเคราะห์ และตัดสินใจ 
พัฒนาทักษะในการเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง 
ขั้นตอนของการเรียนโดยใช้ปัญหาเป็ นหลัก
ขั้นที่ 1 ขั้นการนาเสนอปั ญหา 
ขั้นที่ 2 ขั้นการนาเสนอข้อเท็จจริง 
ขั้นที่ 3 ขั้นการตั้งสมมุติฐาน 
ขั้นที่ 4 ขั้นการค้นหาคาตอบ เสนอแนวทางแก้ไขปั ญหา 
ขั้นที่ 5 ขั้นการนาความรูท้ ี่ได้นามาประยุกต์ใช้แก้ปัญหาการ 
ขั้นที่ 6 ขั้นการสรุปและประเมินผล 
การช่วยเสริมศักยภาพ (Scaffolding)
การช่วยเสริมศักยภาพ (Scaffolding)
การช่วยเสริมศักยภาพ (Scaffolding)
การช่วยเสริมศักยภาพมีอยูด่ ว้ ยกัน 2 รูปแบบใหญ่ (Brush และ Saye, 2002)
การช่วยเสริมศักยภาพแบบปรับเปลี่ยน (Soft Scaffolding)
การช่วยเสริมศักยภาพ (Scaffolding)
การช่วยเสริมศักยภาพมีอยูด่ ว้ ยกัน 2 รูปแบบใหญ่ (Brush และ Saye, 2002)
การช่วยเสริมศักยภาพแบบคงที่ ( Hard Scaffolding)
วัตถุประสงค์การวิจยั
เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเ้ รียนจากการเรียน
แบบใช้ปัญหาเป็ นหลักบนเว็บ ที่มีการช่วยเสริมศักยภาพที่แตกต่างกันในรายวิชา
วิทยาศาสตร์ช้นั มัธยมศึกษาปี ที่ 3
เพื่อศึกษาความคิดเห็นของผูเ้ รียนที่มีต่อการเรียนแบบใช้ปัญหาเป็ น
หลักบนเว็บที่มีการช่วยเสริมศักยภาพที่แตกต่างกัน
สมมติฐานการวิจยั
ผูเ้ รียนที่ได้รบั การช่วยเสริมศักยภาพที่แตกต่างกัน ในการเรียนแบบ
ใช้ปัญหาเป็ นหลักบนเว็บมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ
ที่ระดับ .05
ประชากรและกลุม่ ตัวอย่าง
เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจยั
แผนการเรียนแบบใช้ปัญหาเป็ นหลัก แบ่งออกเป็ น 2 รูปแบบดังนี้
• แผนการเรียนแบบใช้ปัญหาเป็ นหลักที่มีรปู แบบการช่วยเสริมศักยภาพ
แบบปรับเปลี่ยน
• แผนการเรียนแบบใช้ปัญหาเป็ นหลักที่มีรปู แบบการช่วยเสริมศักยภาพ
แบบคงที่
เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจยั
เว็บที่ใช้การเรียนแบบใช้ปัญหาเป็ นหลักโดยแบ่งออกเป็ น 2 รูปแบบดังนี้
• เว็บที่ใช้การเรียนแบบใช้ปัญหาเป็ นหลักที่มีรปู แบบการช่วยเสริม
ศักยภาพแบบเปลี่ยนปรับเปลี่ยน
• เว็บที่ใช้การเรียนแบบใช้ปัญหาเป็ นหลักที่มีรปู แบบการช่วยเสริม
ศักยภาพแบบคงที่
เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจยั
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
แบบสอบถามความคิดเห็นของผูเ้ รียน


วิธีดาเนินการวิจยั
การจัดกลุ่มตัวอย่างเข้ากลุ่มทดลอง
Soft Scaffold
Hard Scaffold
วิธีดาเนินการวิจยั
PBL 6 ขั้นการเรียน
ผลการวิจยั
ผลการวิจยั
ผลการวิจยั
คะแนนความคิดเห็นของนักเรียนที่เรียนแบบใช้ปัญหาเป็ นหลักทีม่ ีการช่วย
เสริมศักยภาพแบบปรับเปลี่ยน อยูใ่ นระดับมาก และค่าเฉลี่ยของคะแนน
ความคิดเห็นของนักเรียนที่เรียนแบบใช้ปัญหาเป็ นหลักที่มีการช่วยเสริม
ศักยภาพแบบคงที่ อยูใ่ นระดับมาก แต่มีความคิดเห็นต่อการใช้หอ้ งสนทนา
ซึ่งเป็ นเครื่องมือหนึ่ งของการช่วยเสริมศักยภาพ แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญ
ทางสถิติที่ระดับ .05

อภิปรายผล
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน นักเรียนที่เรียนด้วยการเรียนแบบใช้ปัญหาเป็ นหลัก
บนเว็บ ที่มีการช่วยเสริมศักยภาพที่แตกต่างกัน มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไม่
แตกต่างกัน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05
อภิปรายผล
นักเรียนส่วนใหญ่มีความคิดเห็นต่อการเรียนแบบใช้ปัญหาเป็ นหลักบนเว็บที่
มีการช่วยเสริมศักยภาพไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05
และ นักเรียนที่เรียนด้วยการเรียนแบบใช้ปัญหาเป็ นหลักบนเว็บที่มีการช่วย
เสริมศักยภาพที่แตกต่างกัน นักเรียนมีความความคิดเห็นต่อการเรียนแบบใช้
ปั ญหาเป็ นหลักบนเว็บและการช่วยเสริมศักยภาพในระดับมากทุกด้าน

ข้อเสนอแนะในการนาผลวิจยั ไปใช้
1. สามารถนาไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนในกลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์
ของนักเรียนได้ ทั้งนี้ ผูส้ อนควรให้ความสาคัญกับการออกแบบรูปแบบการช่วยเสริม
ศักยภาพ
2. ในการศึกษาครั้งต่อไปอาจนารูปแบบการช่วยเสริมศักยภาพทั้ง 2 รูปแบบมา
ผสมผสานกันในการเรียน
3. สามารถนาไปเป็ นแนวทางในการออกแบบการเรียนแบบใช้ปัญหาเป็ นหลักบนเว็บที่
มีการช่วยเสริมศักยภาพ สาหรับการจัดการเรียนการสอนกลุ่มสาระอื่นๆ ในช่วงชั้น
มัธยมศึกษาตอนต้นได้
ข้อเสนอแนะสาหรับการวิจยั ครั้งต่อไป
1. ควรมีการศึกษาถึงกระบวนการปั ญหาของนักเรียนในการเรียนแบบใช้ปัญหา
เป็ นหลักในการทาวิจยั ครั้งต่อไป
2. ควรพิจารณาความเหมาะสมให้สอดคล้องกับระดับการเรียนรู ้ และระดับ
ความสามารถของนักเรียนในการช่วยเสริมศักยภาพให้มากยิ่งขึ้ น
ขอบพระคุณค่ะ