การสร้างกฎเกณฑ์การให้คะแนน

Download Report

Transcript การสร้างกฎเกณฑ์การให้คะแนน

โครงร่ างวิทยานิพนธ์

ชื่อภาษาไทย: การเปรี ยบเทียบความเที่ยงของคะแนนการประเมินผลงาน
โดยใช้กฎเกณฑ์การให้คะแนนที่นกั เรี ยนร่ วมสร้างกับกฎเกณฑ์การให้
คะแนนที่ครู สร้าง

ชื่อภาษาอังกฤษ: A Comparision of Score Reliability Obtain from
Scoring Rubrics Created by Students and Teacher and by Teachers.
ความเป็ นมาและความสาคัญของปัญหา




การวัดประเมินผลตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544
ปัจจุบนั การประเมินผลงานจากการปฏิบตั ิ นิยมใช้กฎเกณฑ์การให้
คะแนน หรื อ รู บริ ค (rubric)
การใช้กฎเกณฑ์การให้คะแนนมีวตั ถุประสงค์เพื่อพัฒนา ปรับปรุ ง
คุณภาพผลงาน
กฎเกณฑ์การให้คะแนนส่ วนใหญ่ยงั สร้างโดยครู ผสู ้ อน
ความเป็ นมาและความสาคัญของปัญหา
นักเรี ยนควรมีส่วนร่ วมสร้างหรื อออกแบบกฎเกณฑ์การให้คะแนน
 ผลที่ได้จากการใช้กฎเกณฑ์การให้คะแนนที่สาคัญประการหนึ่ ง
คือ ค่าความเที่ยง
 การเปรี ยบเทียบความแตกต่างใช้วิธีแปลงค่าความเที่ยงให้เป็ นคะแนน
มาตรฐานใช้สูตรของฟิ ชเชอร์และใช้การทดสอบ Z-Test

ความเป็ นมาและความสาคัญของปัญหา
ให้นกั เรี ยนมีส่วนร่ วมสร้าง แล้วนาไปใช้
 ผลการตรวจให้คะแนนมีคุณภาพทัดเทียมกับการใช้กฎเกณฑ์การให้
คะแนนที่ครู เป็ นผูส้ ร้างแต่เพียงฝ่ ายเดียวหรื อไม่
 พิจารณาจากประเด็นความเที่ยงของคะแนนที่ได้จากการประเมินผลงาน
จากโครงงานคณิ ตศาสตร์ที่ใช้กฎเกณฑ์การให้คะแนนทั้งสองแบบมีค่า
สัมประสิ ทธิ์ความเที่ยงแตกต่างกันหรื อไม่
 การทดสอบความแตกต่างของค่าสัมประสิ ทธิ์ แอลฟาของครอนบาค
ใช้สูตรที ตามแนวคิดของเฟลดท์

วัตถุประสงค์ ของการวิจัย

เพื่อเปรี ยบเทียบความเที่ยงของคะแนนการประเมินผลงานที่ใช้
กฎเกณฑ์การให้คะแนนที่นกั เรี ยนร่ วมสร้างกับใช้กฎเกณฑ์การให้
คะแนนที่ครู สร้าง
สมมติฐานของการวิจยั
จากแนวคิดของ เฮดิ ดูดริ ช ให้นกั เรี ยนมีส่วนร่ วมสร้างกฎเกณฑ์
การให้คะแนน
1. กรณี ที่ครู เป็ นผูต้ รวจผลงาน คะแนนการประเมินผลงานโดยใช้
กฎเกณฑ์การให้คะแนนที่นกั เรี ยนร่ วมสร้างมีค่าความเที่ยงสู งกว่า
คะแนนการประเมินผลงานโดยใช้กฎเกณฑ์การให้คะแนนที่ครู สร้าง
2. กรณี ที่นกั เรี ยนเป็ นผูต้ รวจผลงาน คะแนนการประเมินผลงานโดยใช้
กฎเกณฑ์การให้คะแนนที่นกั เรี ยนร่ วมสร้างมีค่าความเที่ยงสู งกว่า
คะแนนการประเมินผลงานโดยใช้กฎเกณฑ์การให้คะแนนที่ครู สร้าง
ขอบเขตของการวิจยั



ศึกษากฎเกณฑ์การให้คะแนนแบบแยกองค์ประกอบ
ใช้ประเมินผลงานจากการปฏิบตั ิโครงงานคณิ ตศาสตร์ของนักเรี ยนที่ทา
โครงงานคณิ ตศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3
ตัวแปรที่ใช้ในการศึกษา มีดงั นี้
1. ตัวแปรต้น ได้แก่ ลักษณะกฎเกณฑ์การให้คะแนนมี 2 แบบ
คือ 1.1 แบบที่นกั เรี ยนร่ วมสร้าง 1.2 แบบที่ครู สร้าง
2. ตัวแปรตาม ได้แก่ ค่าความเที่ยงของคะแนนการประเมิน
ผลงานโดยใช้กฎเกณฑ์การให้คะแนนที่นกั เรี ยนร่ วมสร้างกับใช้
กฎเกณฑ์การให้คะแนนที่ครู สร้าง
ความสาคัญของการวิจยั
การวิจยั ครั้งนี้ เป็ นการศึกษาเปรี ยบเทียบความเที่ยงของคะแนน
การประเมินผลงานโดยใช้กฎเกณฑ์การให้คะแนนที่นกั เรี ยนร่ วม
สร้างกับกฎเกณฑ์การให้คะแนนที่ครู สร้าง ผลที่ได้จากการศึกษาจะ
เป็ นแนวทางในการปรับปรุ งและพัฒนาแบบประเมินผลงานการ
ปฏิบตั ิที่ใช้กฎเกณฑ์การให้คะแนนและนาไปใช้อย่างมีประสิ ทธิภาพ
ต่อไป
นิยามศัพท์



ความเที่ยงของคะแนนการตรวจผลงาน หมายถึง การที่คะแนนที่วดั
ได้ (observed score) มีค่าใกล้เคียงกับค่าที่แท้จริ ง (ture score) วัดจาก
อัตราส่ วนของความแปรปรวนของคะแนนจริ งต่อความแปรปรวน
ของคะแนนที่วดั ได้ ประมาณค่าโดยหาค่าสัมประสิ ทธิ์ความ
สอดคล้องภายใน (Internal Consistency) ด้วยค่าสัมประสิ ทธิ์แอลฟา
ของครอนบาค (Cronbach’s alpha Coefficient)
ผลงาน หมายถึง โครงงานคณิ ตศาสตร์
นักเรี ยน หมายถึง นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ที่ทาโครงงาน
คณิ ตศาสตร์
วิธีดาเนินการวิจยั



การสร้างกฎเกณฑ์การให้คะแนน
ลักษณะของกฎเกณฑ์การให้คะแนน
วิธีสร้างกฎเกณฑ์การให้คะแนน
การรวบรวมข้อมูล
การประมวลผลข้อมูล
การสร้ างกฎเกณฑ์ การให้ คะแนน
ลักษณะของกฎเกณฑ์การให้คะแนน
1. เป็ นแบบแยกองค์ประกอบ (Analytic Rubrics)
2. เกณฑ์การประเมิน 7 องค์ประกอบ คือ
1) ความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์
2) การสร้างข้อความคาดการณ์
3) ข้อมูลหรื อข้อเท็จจริ งประกอบการทาโครงงาน
4) การดาเนินการทาโครงงาน
การสร้ างกฎเกณฑ์ การให้ คะแนน
5) การจัดกระทากับข้อมูลที่ได้จากการเก็บรวบรวม
6) การสรุ ปผลและการแปลความหมาย
7) การนาเสนอ
3. ระดับคุณภาพ 5 ระดับ ตามตัวแบบจาลองการเรี ยนรู ้ของมนุษย์
แนวคิดของสจ๊วต ดรายฟัส
วิธีสร้างกฎเกณฑ์การให้คะแนน
1. ขอความร่ วมมือจากครู ผสู ้ อนและเป็ นที่ปรึ กษาโครงงานคณิ ตศาสตร์และ
นักเรี ยนที่จะทาโครงงานคณิ ตศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3
2. ปรึ กษา หารื อกับครู ผสู ้ อนและเป็ นที่ปรึ กษาโครงงานคณิ ตศาสตร์
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ถึงแนวทางในการสร้างกฎเกณฑ์การให้
คะแนนผลงาน ที่สอดคล้องกับผลการเรี ยนรู ้ที่คาดหวัง และขอยืม
ตัวอย่างโครงงาน รายงานที่ดีและไม่ดีจากครู
วิธีสร้างกฎเกณฑ์การให้คะแนน
3. กรณี ที่นกั เรี ยนร่ วมสร้าง ดาเนินการ
3.1 นัดหมายนักเรี ยนในชัว่ โมงว่าง
3.2 การสร้างใช้ข้นั ตอนการสร้างของเฮดิ กูดริ ช,
สมศักดิ์ ภู่วิภาดาวรรธน์และกิ่งกาญจน์ สิ รสุ คนธ์ ดังนี้
3.2.1 ให้นกั เรี ยนดูตวั อย่างโครงงานของผลงานที่ดี
และผลงานที่ไม่ดี
วิธีสร้างกฎเกณฑ์การให้คะแนน
3.2.2 นักเรี ยนร่ วมทารายการคุณลักษณะ
3.2.3 นักเรี ยนร่ วมทาระดับคุณภาพ 5 ระดับ
3.2.4 ฝึ กให้นกั เรี ยนใช้กฎเกณฑ์การให้คะแนนที่ร่วม
สร้างขึ้น โดยใช้ประเมินผลงานตัวอย่างที่ยมื มา
วิธีสร้างกฎเกณฑ์การให้คะแนน
3.2.5 ให้นกั เรี ยนทบทวนและปรับปรุ งกฎเกณฑ์การให้
คะแนนที่สร้าง โดยใช้ขอ้ ติชมที่ได้จากการฝึ ก
ใช้ประเมินผลงานตัวอย่างที่ยมื มา
3.2.6 ได้กฎเกณฑ์การให้คะแนนที่นกั เรี ยนร่ วมสร้าง
เพื่อใช้ในการประเมินผลงานตนเอง
3.3 ผูว้ ิจยั นากฎเกณฑ์การให้คะแนนที่นกั เรี ยนร่ วมสร้าง ให้อาจารย์ที่
ปรึ กษาวิทยานิพนธ์ พิจารณาความเหมาะสมแล้วปรับปรุ งแก้ไข
วิธีสร้างกฎเกณฑ์การให้คะแนน
4. กรณี ที่ครู สร้าง
- สนทนากับครู ผสู ้ อนและเป็ นที่ปรึ กษาโครงงานเกี่ยวกับองค์ประกอบ
- ดาเนินการสร้างโดยใช้ข้นั ตอนการสร้างที่สรุ ปจากขั้นตอนของ
เมิร์ทเลอร์ และกิ่งกาญจน์ สิ รสุ คนธ์ ดังนี้
วิธีสร้างกฎเกณฑ์การให้คะแนน
4.1 ปรึ กษาหารื อกับครู ผสู ้ อนและเป็ นที่ปรึ กษาโครงงานถึงคุณลักษณะ
ที่ครู ตอ้ งการให้นกั เรี ยนแสดงออกในผลงาน
4.2 หาวิธีการเขียนข้อความที่สามารถประเมินได้
4.3 ฝึ กใช้กฎเกณฑ์การให้คะแนนที่ครู สร้าง
4.4 ผูว้ ิจยั นากฎเกณฑ์การให้คะแนนที่ครู สร้าง ให้อาจารย์ที่ปรึ กษา
วิทยานิพนธ์ พิจารณาความเหมาะสมแล้วปรับปรุ งแก้ไข
5. นาไปใช้จริ ง โดยมอบกฎเกณฑ์การให้คะแนนทั้ง 2 แบบ ให้นกั เรี ยนใช้
เป็ นแนวทางทาผลงานจากการปฎิบตั ิ
การรวบรวมข้อมูล
1. ขอความอนุเคราะห์จากผูบ้ ริ หารโรงเรี ยนและครู ที่ปรึ กษาโครงงาน
1.1 นักเรี ยนมีวิธีให้คะแนนผลงานกลุ่มของตนเอง คือ
1.1.1 ให้นกั เรี ยนทราบกฎเกณฑ์การให้คะแนนทั้ง 2 แบบอีกครั้ง
1.1.2 นักเรี ยนดูผลงานกลุ่มตนเองแล้วให้คะแนนตามกฎเกณฑ์การ
ให้คะแนนทั้ง 2 แบบ ใช้มติกลุ่มเสี ยงส่ วนมาก
1.1.3 การให้คะแนนผลงาน ให้คะแนนในแต่ละองค์ประกอบแยก
เป็ นตามลาดับความสามารถแล้วรวมเป็ นคะแนนรวมทั้งผลงาน
การรวบรวมข้อมูล
1.2 ครู ผสู ้ อนและเป็ นที่ปรึ กษาโครงงาน มีวิธีให้คะแนนผลงาน
นักเรี ยน ดังนี้
1.2.1 ดูเกณฑ์การให้คะแนนทั้ง 2 แบบให้เข้าใจ จึงเริ่ มทาการ
ประเมิน
1.2.2 ดูผลงานของนักเรี ยน แล้วตรวจให้คะแนนตามกฎเกณฑ์
การให้คะแนนทั้ง 2 แบบของแต่ละผลงาน จนครบทุกกลุ่ม
1.2.3 การให้คะแนนผลงาน ให้คะแนนในแต่ละองค์ประกอบแยก
เป็ นตามลาดับความสามารถแล้วรวมเป็ นคะแนนรวมทั้ง
ผลงาน
การรวบรวมข้อมูล
2. ตรวจสอบความสมบูรณ์ของคะแนนแล้วบันทึกคะแนนลงในแบบ
บันทึกตะแนน 4 ชุด คือ
ชุดที่ 1 ผูต้ รวจให้คะแนน คือนักเรี ยน ใช้กฎเกณฑ์การให้คะแนน
ที่นกั เรี ยนร่ วมสร้าง
ชุดที่ 2 ผูต้ รวจให้คะแนน คือนักเรี ยน ใช้กฎเกณฑ์การให้คะแนนที่
ครู สร้าง
ชุดที่ 3 ผูต้ รวจให้คะแนน คือครู ใช้กฎเกณฑ์การให้คะแนนที่นกั เรี ยน
ร่ วมสร้าง
ชุดที่ 4 ผูต้ รวจให้คะแนน คือครู ใช้กฎเกณฑ์การให้คะแนนที่ครู สร้าง
การรวบรวมข้อมูล
3. นาคะแนนทั้ง 4 ชุด มาคานวณหาค่าต่าง ๆ ดังนี้
3.1 ค่าสถิติพ้นื ฐาน ได้แก่ ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ
ประมาณค่าความเที่ยงแบบความสอดคล้องภายในคานวณโดยใช้ค่าสัม
ประสิ ทธ์แอลฟาของครอนบาค
3.2 คานวณหาค่าสัมประสิ ทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สนั ระหว่างคะแนน
ผลงานที่ใช้กฎเกณฑ์การให้คะแนนที่นกั เรี ยนร่ วมสร้างและใช้กฎเกณฑ์
การให้คะแนนที่ครู สร้างจากผูต้ รวจผลงานที่เป็ นนักเรี ยนและเป็ นครู
4. ทดสอบสมมติฐานการวิจยั ตามขั้นตอนที่กาหนดไว้
การประมวลผลข้อมูล
1. หาค่าสถิติพ้นื ฐานของคะแนนการประเมินผลงาน
2. หาค่าความเที่ยงของคะแนนการประเมินผลงาน โดยประมาณค่าความเที่ยง
แบบความสอดคล้องภายในคานวณโดยใช้ค่าสัมประสิ ทธ์แอลฟาของ
ครอนบาค
3. หาค่าสหสัมพันธ์ระหว่างคะแนนการประเมินผลงาน ที่ได้จากการใช้
กฎเกณฑ์การให้คะแนนทั้ง 2 แบบ ของผูต้ รวจผลงานที่เป็ นนักเรี ยนและ
เป็ นครู
การประมวลผลข้อมูล
4. ทดสอบความแตกต่างของค่าความเที่ยงของคะแนนการประเมินผลงาน
ที่ได้จากกฎเกณฑ์การให้คะแนนแต่ละแบบของผูป้ ระเมินแต่ละฝ่ าย ใช้
การทดสอบ t-test dependent ของสัมประสิ ทธิ์แอลฟาของครอนบาค
สองค่า จากสูตร
t N 2 
เมื่อ
1
( W  1)( N  2 ) 2
1
( 4 W (1  rx21 x 2 )) 2
W
1  rtt 2
1  rtt 1
; df = N-2
การวิเคราะห์ขอ้ มูล
ตารางที่ 1 ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและค่าสัมประสิ ทธิ์
สหสัมพันธ์ระหว่างคะแนนตรวจผลงานที่ใช้กฎเกณฑ์การให้คะแนนที่
นักเรี ยนร่ วมสร้างกับครู สร้าง
การวิเคราะห์ขอ้ มูล
ตารางที่ 2 ค่าสัมประสิ ทธิ์ความเที่ยงและค่าสถิติทีในการทดสอบความ
แตกต่างของค่าสัมประสิ ทธิ์ความเที่ยงของคะแนนผลงานที่ตรวจให้
คะแนนโดยนักเรี ยนและครู ใช้กฎเกณฑ์การให้คะแนนที่นกั เรี ยนร่ วม
สร้างกับครู สร้าง
**p<0.01
สรุปผลการวิจัย
1. กรณี ผตู ้ รวจผลงานเป็ นนักเรี ยน ค่าสัมประสิ ทธิ์ความเที่ยงของคะแนน
การประเมินผลงานโดยใช้กฎเกณฑ์การให้คะแนนที่นกั เรี ยนร่ วมสร้าง
กับครู สร้างเป็ น 0.831 และ 0.751 ตามลาดับ เมื่อทดสอบความแตกต่าง
ของค่าสัมประสิ ทธิ์ความเที่ยงพบว่ามีนยั สาคัญทางสถิตทิ ี่ระดับ 0.01
2. กรณี ผตู ้ รวจผลงานเป็ นครู ค่าสัมประสิ ทธิ์ความเที่ยงของคะแนนการ
ประเมินผลงานโดยใช้กฎเกณฑ์การให้คะแนนที่นกั เรี ยนร่ วมสร้างกับครู
สร้างเป็ น 0.849 และ 0.767 ตามลาดับ เมื่อทดสอบความแตกต่างของค่า
สัมประสิ ทธิ์ความเที่ยง พบว่ามีนยั สาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01
สรุปผลการวิจัย
กรณี ผตู ้ รวจผลงานเป็ นนักเรี ยนและเป็ นครู พบว่าการทดสอบ
ความแตกต่างของค่าสัมประสิ ทธิ์ความเที่ยงมีนยั สาคัญทางสถิติที่
ระดับ 0.01 แสดงว่า คะแนนการประเมินผลงานโดยใช้กฎเกณฑ์การให้
คะแนนที่นกั เรี ยนร่ วมสร้างมีค่าความเที่ยงสูงกว่าคะแนนการประเมิน
ผลงานโดยใช้กฎเกณฑ์การให้คะแนนที่ครู สร้าง
อภิปรายผลการวิจยั
คะแนนการประเมินผลงานที่ใช้กฎเกณฑ์การให้คะแนนที่นกั เรี ยน
ร่ วมสร้างมีค่าความเที่ยงสูงกว่าคะแนนการประเมินผลงานที่ใช้กฎเกณฑ์
การให้คะแนนที่ครู สร้างของผูต้ รวจให้คะแนนที่เป็ นนักเรี ยนและเป็ นครู
และค่าสัมประสิ ทธิ์ความเที่ยงของกฎเกณฑ์การให้คะแนนที่นกั เรี ยน
ร่ วมสร้างสูง (สุ ชีรา ภัทรายุตวรรตน์, 2548, หน้า 77) พอเพียงที่เชื่อมัน่
ได้วา่ ผลที่ได้จากการวัดคงที่ ทั้งนี้เนื่องมาจาก
อภิปรายผลการวิจยั
1. กฎเกณฑ์การให้คะแนนที่นกั เรี ยนร่ วมสร้าง มีความชัดเจน ตีความได้
ตรงกันทั้งของผูต้ รวจผลงานที่เป็ นนักเรี ยนและเป็ นครู มากกว่ากฎเกณฑ์
การให้คะแนนที่ครู สร้าง
2. ในขั้นตอนการร่ วมสร้าง นักเรี ยนได้ช่วยกันวิเคราะห์และระบุลกั ษณะ
ของโครงงานที่ดีและไม่ดีจากโครงงานตัวอย่าง ทาให้นกั เรี ยนมีความ
เข้าใจในลักษณะงานที่จะต้องปฏิบตั ิ และผลงานที่นกั เรี ยนแสดงออกมา
นั้นจะมีลกั ษณะเป็ นไปตามที่นกั เรี ยนคาดหวังมากกว่าที่ครู คาดหวังให้
นักเรี ยนแสดงออกในผลงาน
อภิปรายผลการวิจยั
3. นักเรี ยนได้รับการฝึ กหัดใช้กฎเกณฑ์การให้คะแนนที่นกั เรี ยนร่ วมสร้าง
และทราบถึงข้อติชมในขั้นตอนการร่ วมสร้างที่ใช้ประเมิน ผลงาน
ตัวอย่างที่ดี-ไม่ดีที่ครู นามาเป็ นตัวอย่างมาแล้ว ทาให้นกั เรี ยนใช้
กฎเกณฑ์การให้คะแนนที่นกั เรี ยนร่ วมสร้างอย่างคุน้ เคยมากกว่า
การใช้กฎเกณฑ์การให้คะแนนที่ครู สร้าง
อภิปรายผลการวิจัย
4. นักเรี ยนได้ทราบกฎเกณฑ์การให้คะแนนก่อนล่วงหน้าที่จะทาผลงาน
และได้ปรับแนวทางการทางานให้เป็ นไปตามเกณฑ์การให้คะแนน
นักเรี ยนจะให้ความสนใจในกฎเกณฑ์การให้คะแนนที่นกั เรี ยนร่วมสร้าง
มากกว่ากฎเกณฑ์การให้คะแนนที่ครู สร้าง
ข้ อเสนอแนะ
1. ข้อเสนอแนะในการนาไปใช้
จากผลการวิจยั ในครั้งนี้ พบว่าคะแนนการประเมินผลงานโดยใช้
กฎเกณฑ์การให้คะแนนที่นกั เรี ยนร่ วมสร้างมีค่าความเที่ยงสูงกว่า
คะแนนการประเมินผลงานโดยใช้กฎเกณฑ์การให้คะแนนที่ครู สร้าง
เพราะฉะนั้นในเบื้องต้นนี้ จึงเห็นว่าควรให้นกั เรี ยนมีส่วนร่ วมในการ
สร้างหรื อออกแบบกฎเกณฑ์การให้คะแนน เพื่อใช้เป็ นแนวทางในการ
ประเมินผลงานจากการปฏิบตั ิของนักเรี ยนให้มีคุณภาพ
ข้อเสนอแนะ
2. ข้อเสนอแนะในการทาวิจยั ต่อไป
ทาวิจยั ในเรื่ องเดียวกันนี้ แต่เปลี่ยนกลุ่มเป้ าหมายเป็ นระดับชั้นอื่น
กลุ่มสาระอื่น ชิ้นงานหรื อผลงานจากการปฏิบตั ิชิ้นอื่น ๆ เป็ นต้น