รศ.ดร.ทวีศักดิ์ จินดานุรักษ์ คาสาคัญเกีย่ วกับการวัด และ การประเมิน Measurement = Evaluation = Assessment = การวัด ให้ ได้ ตัวเลขตาม ลักษณะทีก่ าหนด การประเมินผล ตัดสิ น(ใจ) โดยอิงข้ อมูลจากการวัด เทียบกับ เกณฑ์ การประเมิน เป็ นการกาหนด เกณฑ์ เชิงคุณลักษณะ แล้ วระบุ ตัวเลขเพือ่ การตัดสิ.

Download Report

Transcript รศ.ดร.ทวีศักดิ์ จินดานุรักษ์ คาสาคัญเกีย่ วกับการวัด และ การประเมิน Measurement = Evaluation = Assessment = การวัด ให้ ได้ ตัวเลขตาม ลักษณะทีก่ าหนด การประเมินผล ตัดสิ น(ใจ) โดยอิงข้ อมูลจากการวัด เทียบกับ เกณฑ์ การประเมิน เป็ นการกาหนด เกณฑ์ เชิงคุณลักษณะ แล้ วระบุ ตัวเลขเพือ่ การตัดสิ.

รศ.ดร.ทวีศักดิ์ จินดานุรักษ์
คาสาคัญเกีย่ วกับการวัด และ การประเมิน
Measurement
=
Evaluation
=
Assessment
=
การวัด ให้ ได้ ตัวเลขตาม
ลักษณะทีก่ าหนด
การประเมินผล ตัดสิ น(ใจ)
โดยอิงข้ อมูลจากการวัด เทียบกับ
เกณฑ์
การประเมิน เป็ นการกาหนด
เกณฑ์ เชิงคุณลักษณะ แล้ วระบุ
ตัวเลขเพือ่ การตัดสิ น
คาสาคัญเกีย่ วกับการวัด และ การประเมิน
Authentic Assessment
=
การประเมินตามสภาพจริง
เป็ นการวัดและประเมินการทางาน
ของสมองและจิตใจของผู้เรียน
อย่ างตรงไปตรงมาตามสิ่ งทีเ่ ขาทา
โดยพยายามตอบคาถาม “How”
และ “Why” เป็ นการช่ วย
พัฒนา
ผู้เรียนและ
พัฒนาการสอนของ
ผู้สอน
คาสาคัญเกีย่ วกับการวัด และ การประเมิน
Portfolio
=
แฟ้ มบรรจุหลักฐานการทางาน
เป็ นเครื่องมือ (Tool) 1 ใน 50
ชนิด ของการประเมินตาม
สภาพจริง
แนวคิดการประเมินแบบเก่า VS การประเมินตามสภาพจริง
1. ผู้เรียนมีพนื้ ฐานเหมือนกัน
การเรียนรู้ และการประเมินใช้
มาตรฐานเดียวกัน
2. ใช้ เครื่องมือวัด แบบทดสอบมาตรฐาน
3. เน้ นการประเมินที่คะแนนอิงเกณฑ์
หรืออิงกลุ่ม
4. การสอบแยกจากการการสอน
5. การประเมินเน้ นการทาข้ อสอบ
เน้ นคาตอบถูก-ผิด
6. เน้ นการสอบได้ -ตก การจัดลาดับ
1. ผู้เรียนมีความแตกต่ างกัน การวัด
และประเมิน ใช้ เครื่องมือหลากหลาย
2. ใช้ เครื่องมือวัดหลากหลายรู ปแบบ
3. เน้ นการประเมินทางตรงทีอ่ งิ การ
ปฏิบัติ
4. การสอบไม่ แยกจากการสอน
5. การประเมินเน้ นที่ความก้าวหน้ าของ
ผู้เรียน
6. เสริมกาลังใจเพือ่ พัฒนาและ
ปรับปรุ ง
ลักษณะสาคัญของการประเมินตามสภาพจริง
1. เป็ นการประเมินที่กระทาไปพร้ อมๆ กับการจัด
กิจกรรมการเรียนการสอน
2. ยึดพฤติกรรมแสดงออกของผู้เรียน ทีแ่ สดงออกมาจริงๆ
3. เน้ นการพัฒนาผู้เรียนอย่ างเด่ นชัด
4. เน้ นการประเมินตนเองของผู้เรียน
5. ตั้งอยู่บนพืน้ ฐานของสถานการณ์ ทเี่ ป็ นจริง
ลักษณะสาคัญของการประเมินตามสภาพจริง
6. ใช้ ข้อมูลหลากหลาย
7. เน้ นคุณภาพของผลงานทีผ่ ้ ูเรียนสร้ างขึน้
8. เน้ นการวัดความสามารถในการคิดระดับสู ง
(ทักษะการคิดทีซ่ ับซ้ อน) เช่ น การคิด
วิเคราะห์
การคิดสั งเคราะห์
9. ส่ งเสริมปฏิสัมพันธ์ เชิงบวก
10. เน้ นการมีส่วนร่ วมระหว่ าง ครู นักเรียน
ผู้ปกครอง และอืน่ ๆ
การกาหนดเกณฑ์ การให้ คะแนน
Holistic Rubrics - การกาหนดเกณฑ์ แบบองค์
รวม กว้ างๆ ไม่ แยกให้ คะแนนตามแต่ ละองค์ ประกอบ
ย่ อย Rubrics - การกาหนดเกณฑ์ แบบองค์ รวม กว้ างๆ
Analytic
แยกการให้ คะแนนตาม แต่ ละองค์ ประกอบย่ อย แล้ วสรุป
เป็ นคะแนนรวมทีหลัง
ข้ อดีของ Holistic Rubrics
• ประเมินคุณภาพงานในภาพรวม
• ทุกขั้นตอนของงานมีความสาคัญเท่ ากัน
• เน้ นกระบวนการคิดและการนาเสนอความคิด
ข้ อดีของ Analytic Rubrics
•
•
•
•
ให้ ความสาคัญกับส่ วนต่ าง ๆ ในงาน
เหมาะกับการนาผลการประเมินไปใช้ เพือ่ ชี้จุดเด่ นจุดด้ อย
กระบวนการบางอย่ างอาจได้ รับความสาคัญมากกว่ า
ง่ ายต่ อการนาไปใชิ
ตัวอย่ างเกณฑ์ การให้ คะแนนแบบองค์ รวมที่ใช้ ได้
ทั่วไปกับการคิดแก้ ปัญหาต่ าง ๆ
4
ประการ
3
หลักฐาน
ดีมาก
ทางานเสร็จสมบูรณ์ ครบถ้ วนทุก
ดี
มีข้อผิดพลาดเพียงเล็กน้ อย แต่ มี
ที่แสดงว่ าเข้ าใจประเด็น
สาคัญ
2
ร่ องรอยว่ า
พอใช้
มีข้อผิดพลาดทีร่ ้ ายแรง แต่ มี
ตัวอย่ างเกณฑ์ การให้ คะแนนแบบแยกส่ วนย่อย
ที่ใช้ ทั่วไปกับการคิดแก้ ปัญหาต่ าง ๆ
เข้ าใจปัญหา 0
: ปราศจากความเข้ าใจปัญหาโดยสิ้นเชิง
3 : ตีความบางส่ วนของปัญหา
ผิดพลาด
วางแผน
หาคาตอบ
ถูกต้ อง
6 : เข้ าใจปัญหาอย่ างสมบูรณ์
0 : ไม่ แสดงความพยายามในการวางแผน
หรือวางแผนทีไ่ ม่ ถูกต้ อง
3 : แผนถูกต้ องบางส่ วนบนพืน้ ฐาน การตีความ
ปัญหาถูกต้ องบางส่ วน
6 : การวางแผนนาไปสู่ คาตอบที่
ตัวอย่ างเกณฑ์ การให้ คะแนนแบบแยกส่ วนย่อยที่ใช้
ทั่วไปกับการคิดแก้ ปัญหาต่ าง ๆ
การได้ คาตอบ 0 : ไม่ แสดงคาตอบหรือได้ คาตอบทีไ่ ม่ ถูกต้ อง
บนพืน้ ฐานของแผนทีไ่ ม่ เหมาะสม
1 : ลอกข้ อมูลผิด คานวณผิด หรือตอบ
เพียงบางส่ วน
2 : ได้ คาตอบผิด เพราะดาเนินตามแผนที่
ไม่ ถูกต้ อง
3 : แสดงวิธีทาชัดเจน คาตอบถูกต้ อง
ครบถ้ วน
การสร้ างแบบทดสอบการคิด
สิ่ งทีม่ ุ่งหวัง
(นามธรรม)
รูปธรรม
(ตัวชี้วดั )
ความสามารถทางการคิด
ทบ.การคิด
โครงสร้ างหรือองค์ประกอบ
ของความสามารถทางการคิด
นิยามเชิงปฎิบัติการ
เครื่องมือใช้ วดั
เขียนคาถามเชิงพฤติกรรม
การคิดสร้ างสรรค์
คือ กระบวนการทางปัญญาระดับสู งทีใ่ ช้ ลกั ษณะ
การคิดหลาย ๆ อย่ างมารวบกัน เพือ่ สร้ างสรรค์ สิ่งใหม่ เป็ น
ความคิดเชิงบวก
องค์ ประกอบของความคิดสร้ างสรรค์
4 อย่ าง คือ
1. คิดคล่ อง (Fluency)
2. คิดหลากหลาย(ยืดหยุ่น) (Flexibility)
3. คิดริเริ่ม (Originality)
4. คิดละเอียด (Elaboration)
ความคิดสร้ างสรรค์
คิดคล่อง
จานวนมาก
คิดยืดหยุ่น
คิดละเอียด
คิดริเริ่ม
จัดเป็ น
จาพวก
ได้ มาก
มี
รายละเอียด
มาก
มีความ
แปลกใหม่
มีสัตว์ 2 ชนิด คือนกกับหนู นับหัวรวมกันได้ 7 หัว
นับขารวมกันได้ 20 ขา มีนกและหนูอย่ างละกีต่ วั
หลักในการกาหนดเกณฑ์ การให้ คะแนน
1. กาหนดเกณฑ์ ในการให้ คะแนนกับงานก่อนนางานนั้นไปใช้ ในชั้น
เรียน
2. เกณฑ์ การให้ คะแนนต้ องสอดคล้องกับเป้าหมายของงาน
3. เกณฑ์ การให้ คะแนนมุ่งตัดสิ นระดับคุณภาพมากกว่ าการนับจานวน
ข้ อคาถามทีต่ อบถูกหรือข้ อคาถามทีต่ อบผิด
4. เกณฑ์ การให้ คะแนนใช้ เพือ่ ประเมินการกระทา (Performance) ของ
ผู้เรียนมากกว่ าตัวผู้เรียน
หลักในการกาหนดเกณฑ์ การให้ คะแนน
5. ผู้เรียนมีส่วนร่ วมและรับรู้เกณฑ์ การให้ คะแนน
6. มีการปรับปรุงเกณฑ์ การให้ คะแนนหลังการนาไปใช้ แล้ว
7. การกาหนดตัวบ่ งชี้ของการปฏิบัตใิ ห้ เริ่มต้ นทีจ่ ุด ซึ่งใช้ เป็ น
มาตรฐานต่าสุ ดทีย่ อมรับได้