(แนวทาง) การให้คะแนน - มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

Download Report

Transcript (แนวทาง) การให้คะแนน - มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

1
กฎเกณฑ์ (แนวทาง) การให้ คะแนน:
แนวคิดพืน้ ฐานและวิธีการสร้ างเครื่องมือวัดประเมินผลการเรียนรู้
ตามกรอบ TQF
รองศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์
ภาควิชา การวัดผลและวิจัยการศึกษา
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
บรรยาย ณ มหาวิ ทยาลัยอุบลราชธานี
วันที่ 3-4 มิ ถนุ ายน พ.ศ. 2557
2
หัวข้ อบรรยาย: กฎเกณฑ์การให้ คะแนน
• ความหมาย
• ความสาคัญ
• ประเภท
• ข้ อดีและข้ อจากัด
• องค์ ประกอบ
• ข้ อแนะนาการใช้
3
ความหมาย
• กฎเกณฑ์ การให้ คะแนน ( Scoring rubrics) คือ
• แนวทางสาหรั บใช้ ประกอบการตัดสินใจในการให้ คะแนน (Scoring
guidelines) บ่ งชีผ้ ลการเรี ยนรู้ ของผู้เรี ยนได้ อย่ างเที่ยงตรง คงเส้ นคง
วาและยุตธิ รรม
• เกณฑ์ การให้ คะแนน (Scoring criteria) ผลการเรี ยนรู้ ของผู้เรี ยนที่
นามาใช้ เพื่อให้ ม่ ันใจในความเที่ยงตรง ความคงเส้ นคงวาและความ
ยุตธิ รรมของการวัดประเมิน
• เครื่ องมือสาหรั บใช้ ให้ คะแนน (Scoring tool) ที่ระบุความคาดหวัง
อย่ างเจาะจงสาหรั บงานหรื อหน้ าที่ท่ มี อบหมายให้ ผ้ ูเรี ยนปฏิบัติ
4
ความสาคัญ
• ช่ วยนิยามความคาดหวังของอาจารย์ (ผู้ทาการวัดประเมิน) ชัดเจนยิ่งขึน้
• ช่ วยนิยามผลการเรี ยนรู้ ท่ ซ
ี ับซ้ อน/เป็ นนามธรรมมีความชัดเจนขึน้
• ช่ วยให้ ได้ สารสนเทศป้อนกลับ (Feedback) ไปยังผู้เรี ยนได้ ทันเหตุการณ์
• ทาให้ แรงจูงใจและผลสัมฤทธิ์ของผู้เรี ยนเพิ่มสูงขึน้ โดยอาศัยตัวแบบ
ผลผลิตและการปฏิบัตงิ านที่มีคุณภาพเป็ นสิ่งเสริมแรง
• ช่ วยให้ ผลการวัดประเมินการเรี ยนรู้ ของผู้เรี ยนด้ านเดียวกันมีความเที่ยงตรง
และความเชื่อมั่น
• ช่ วยให้ การสื่อสารกับผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียกับการวัดประเมินเข้ าใจตรงกัน
• ให้ แนวทางใน “การปรั บการเรี ยน” ของผู้เรี ยน และ “เปลี่ยนการสอน” ของ
อาจารย์
• กระตุ้นการคิดอย่ างมีวจิ ารณญาณ (Critical thinking) และส่ งเสริมทักษะ
การวัดประเมินการเรี ยนรู้ ของตนเองตลอดชีวติ
• เอือ้ อานวยการตรวจให้ คะแนนดาเนินไปอย่ างมีประสิทธิภาพ
5
ประเภท
• กฎเกณฑ์ แบบองค์ รวม (Holistic rubrics)
• เป็ นการให้ คะแนนสิ่งที่ต้องการวัดประเมินแบบกว้ างๆ โดยรวม 1 ค่ า ( A single overall or
global scoring)
• กฎเกณฑ์ แบบวิเคราะห์ (Analytic rubrics)
• เป็ นการให้ คะแนนสิ่งที่ต้องการวัดประเมินแบบแบ่ งแยกส่ วนสาหรั บแต่ ละเกณฑ์ ของมาตรวัด
ประเมิน (Separate scoring for each of the criteria of the assessment scale)
McMillan (2004: p.224)
6
ข้ อดีและข้ อจากัดของกฎเกณฑ์ การให้ คะแนนแต่ ละประเภท
แบบองค์ รวม
แบบวิเคราะห์
ข้ อดี
ข้ อดี
• สาหรับใช้ วดั ประเมินการปฏิบัตงิ านอย่ างรวดเร็ว
• ใช้ เมื่อให้ ความสาคัญด้ านความรวดเร็วมากกว่ าความ
• ใช้ เมื่อให้ ความสาคัญด้ านความละเอียดถูกต้ องในการ
ข้ อจากัด
บรรยายคุณภาพมากกว่ าความรวดเร็ว
• สาหรับใช้ เป็ นสารสนเทศป้ อนกลับให้ ผ้ เู รียนนาไป
พัฒนา/ปรับปรุงการเรียนรู้ของตน
• ใช้ กบ
ั ผลงานหรือกระบวนการปฏิบัติงานที่ซับซ้ อนและ
ต้ องใช้ มิติ/เกณฑ์ หลายด้ านสาหรับใช้ บ่งชี้คุณภาพของ
งานจึงจะคลอบคลุมและชัดเจน
• อาจมีผ้ เู รียนได้ คะแนนเท่ ากันด้ วยเหตุผลหรือใช้
ข้ อจากัด
ถูกต้ องแม่ นยา
• ใช้ กบ
ั ผลงานหรือกระบวนการปฏิบัตงิ านที่เรียบง่ าย
ไม่ ซับซ้ อน
สมรรถนะแตกต่ างกัน
• ไม่ เหมาะสาหรับการระบุจุดแข็ง/จุดอ่ อนของผู้เรียน
• ไม่ เหมาะสาหรับผู้เรียนนาไปใช้ เพือ่ วัดประเมินเพือ่
พัฒนาสมรรถนะของตนเอง
• ใช้ เวลาและกาลังสมองมากในการตรวจให้ คะแนน
• ใช้ เวลาในการเรียนรู้นาน
• อาจไม่ เหมาะสาหรับใช้ วดั ประเมินงานที่ม่ ุงเน้ นด้ าน
กระบวนการมากกว่ าผลผลิต (ยกเว้ นแต่ จะใช้ วดิ ีทัศน์
ช่ วยบันทึกภาพกระบวนการปฏิบัติงานไว้ สาหรับตรวจ
ให้ คะแนนภายหลัง)
7
คาถามชวนคิด?
• ควรใช้ กฎเกณฑ์ การให้ คะแนนแบบองค์ รวมหรื อแบบวิเคราะห์
จึงจะเหมาะสาหรับงานที่มอบหมายให้ ผ้ ูเรียนปฏิบัตติ ่ อไปนี ้
• การกาหนดกรอบคิดและการวิเคราะห์ ปัญหาที่นิยามคลุมเครื อ (Ill-defined problem)
• การคิดอย่ างมีวิจารณญาณ (Critical thinking)
• การเขียนจดหมายราชการและธุรกิจ
• การรู้ สารสนเทศ (Information literacy)
• ความสามารถในการทางานเป็ นทีม
• ความสามารถในการราไทย
เฉลย:
1. Holistic
2. Holistic
3. Analytic
4. Analytic
5. Analytic
6. Holistic or Analytic
Note: การตัดสินใจเลือกขึน้ อยู่กับจุดมุ่งหมาย เวลา รวมทัง้ ลักษณะของงานและผู้เรียนที่จะทา
การวัดประเมิน
8
องค์ ประกอบของกฎเกณฑ์ การให้ คะแนน
• การอธิบายงานหรื อภารกิจที่มอบหมายให้ ปฏิบัติ
(ผลการเรียนรู้ )
• มาตรวัดประเมิน (ระดับผลการปฏิบัตงิ านหรื อสมรรถนะ)
• มิตห
ิ รือเกณฑ์ การวัดประเมิน
• ตัวบอกสมรรถนะการปฏิบัตงิ าน (ข้ อความบรรยายคุณสมบัติ
หรือคุณภาพในการปฏิบัตงิ าน)
9
แผนภาพ: ความสัมพันธ์ ระหว่ างผลการเรียนรู้ งาน กฎเกณฑ์ การให้ คะแนน
โดยเฉพาะและโดยรวม
ทีม่ า: Nitko (1996: 242)
10
กฎเกณฑ์ การให้ คะแนนรู ปแบบพืน้ ฐาน
คาอธิบายงานหรื อภารกิจที่มอบหมายให้ ปฏิบัติ (Task Description)
มิติ 1
มิติ 2
มิติ 3
มิติ 4
มาตรระดับ 1
มาตรระดับ 2
มาตรระดับ 3
ระดับการปฏิบตั ิ
เบือ้ งตน
ระดับการปฏิบตั ิ
เบือ้ งตน
ระดับการปฏิบตั ิ
เบือ้ งตน
ระดับการปฏิบตั ิ
เบือ้ งตน
ระดับการปฏิบตั ิ
ผ่านมาตรฐาน
ระดับการปฏิบตั ิ
ผ่านมาตรฐาน
ระดับการปฏิบตั ิ
ผ่านมาตรฐาน
ระดับการปฏิบตั ิ
ผ่านมาตรฐาน
ระดับการปฏิบตั ิ
สูงสุด
ระดับการปฏิบตั ิ
สูงสุด
ระดับการปฏิบตั ิ
สูงสุด
ระดับการปฏิบตั ิ
สูงสุด
เป็ นการอธิบายหรื อบรรยายรายละเอียดเกี่ยวกับงานหรื อภารกิจ
บางอย่ างที่ผ้ ูเรี ยนจะต้ องปฏิบัติ และคาดหวังให้ ผ้ ูเรี ยนจะต้ องทาด้ วย
สมรรถนะ (ความรู้ ทักษะ ความสามารถ คุณลักษณะหรื อพฤติกรรม)
ที่ผ้ ูเรี ยนได้ รับจากการศึกษาเล่ าเรี ยน
11
ตัวอย่าง: การอธิบายลักษณะงาน 1
การเขียน
จงเขียนความเรี ยง (Essay) ที่มีความยาวอย่ างต่าที่สุด 300 คา ภายใน
เวลา 30 นาที เพื่อแสดงความคิดเห็นต่ อประเด็นปั ญหาที่เสนอให้ ท่าน
พิจารณา โดยใช้ แนวคิด หลักเหตุผล และประสบการณ์ ส่วนบุคคลช่ วย
สนับสนุนความคิดเห็น พร้ อมทัง้ ยกตัวอย่ างประกอบการอธิบายของ
ท่ านที่มีต่อประเด็นปั ญหาดังกล่ าว
ประเด็นให้ พจิ ารณา: ท่ านเห็นด้ วยหรื อไม่ กับข้ อความที่กล่ าวว่ า
“ควรให้ เด็กที่มีความต้ องการพิเศษ (Special needed students) กับ
เด็กปกติได้ ศกึ ษาเล่ าเรี ยนร่ วมชั้นเดียวกัน ทั้งนี้เพื่อให้ เกิดการเรี ยนรู้ และ
แลกเปลี่ยนประสบการณ์ ระหว่ างกัน”
12
มาตรวัดประเมิน 1
มาตรวัดประเมินบรรยายรายละเอียดของงานที่มอบหมายให้
ปฏิบัตกิ ระทาได้ ดีหรือแย่ เพียงไร
แนวทางโดยทั่วไป:
• ตัวบอกสมรรถนะ (ข้ อความบรรยาย) บนมาตรวัดประเมินจะต้ องบ่ งชี ้
ความเชี่ยวชาญอย่ างชัดเจน
• จานวนระดับของมาตรวัดประเมินขึน้ อยู่กับวุฒภ
ิ าวะของผู้เรี ยนและ
ลักษณะของผลการเรี ยนรู้ (Learning outcome) ที่จะทาการวัดประเมิน
• ไม่ ควรมีจานวนเกิน 5 ระดับ
13
ตัวอย่ างมาตรวัดประเมิน 2
• มาตรวัดประเมินลายมือ
ที่ใช้ ตัวอย่ างผลงานของ
ผู้เรี ยนแทนค่ าตัวเลข
บนมาตรวัดประเมิน
Thorndike (1910, p.62,65,70, &
73; Citing in Nitko, 1996: 275)
14
มิตหิ รื อเกณฑ์ การวัดประเมิน
• บรรยายเกณฑ์ สาหรั บนาไปใช้ วัดประเมินงาน (กระบวนการทา
และ/หรือผลงานที่ทา) ของผู้เรียนที่ได้ ปฏิบัตแิ ละเป็ นหลักฐาน
การเรียนรู้
• เกณฑ์ แต่ ละด้ านสามารถจัดอันดับความสาคัญได้
• สื่อสารให้ ผ้ ูเรี ยนรู้ ว่าเกณฑ์ คุณภาพของงานที่มอบหมายให้
ปฏิบัตมิ ีด้านใดบ้ าง แต่ ละด้ านมีความสาคัญมากน้ อยเพียงใด
และจาเป็ นต้ องใช้ สมรรถนะการปฏิบัตงิ านอะไรบ้ าง
ตัวอย่ าง: มิตหิ รือเกณฑ์ การวัดประเมิน 1
15
ผลการเรียนรู้ ทคี่ าดหวัง: จงเขียนเรียงความจานวนหลายย่อหน้ าทีป่ ระกอบด้วยบทนา ตัวเนือ้ เรื่อง
และบทสรุป เพือ่ ตอบประเด็นคาถามทีน่ ามาให้ อ่าน
Criteria
(มิตหิ รื อเกณฑ์ )
มาตรวัดประเมิน
Exemplary
Acceptable
Unacceptable
Introduction
(บทนา)
Contains a welldeveloped thesis
statement that outlines
the development of the
essay
Contains a thesis
statement; may lack a
controlling idea or
organizing pattern
Thesis statement may
be vague or missing
Body
(ตัวเนื้ อเรื่อง)
Body paragraphs
provide clear details
that develop the thesis;
transitions are used
throughout
Body paragraphs
contain details; use of
transitions may be
sporadic.
Details may be missing,
vague, or irrelevant;
few transitions are used
Conclusion
(บทสรุป)
Extends the thesis in
some way
Restates the thesis
but may not offer
concluding question
or extension.
No conclusion evident;
student stops writing
without coming to a
conclusion
Language
(ภาษา)
Language is
consistently clear with
few, if any errors;
contains variety in
sentence patterns and
control of verb tenses.
Language is
comprehensible;
errors do not distract
reader; may lack
sentence variety;
control of verb tenses
may be inconsistent
May contain frequent or
serious errors that
distract reader;
sentence patterns may
not vary; control of verb
tenses may be weak.
16
ตัวอย่ าง: มิตหิ รือเกณฑ์ การวัดประเมิน 2
17
ตัวอย่ าง: มิตหิ รือเกณฑ์ การวัดประเมิน 2 (ต่ อ)
ที่มา: https://www.ets.org/Media/Tests/TOEFL/pdf/Writing_Rubrics.pdf
18
กฎเกณฑ์ การให้ คะแนนแบบองค์ รวมสาหรับวัดประเมินการคิดอย่ างมีวจิ ารณญาณ
4 Consistently does all or almost all of the following:
Accurately interprets evidence, statements, graphics, questions, etc.
Identifies the salient arguments (reasons and claims) pro and con.
Thoughtfully analyzes and evaluates major alternative points of view.
Draws warranted, judicious, non-fallacious conclusions.
Justifies key results and procedures, explains assumptions and reasons.
Fair-mindedly follows where evidence and reasons lead.
3 Does most or many of the following:
Accurately interprets evidence, statements, graphics, questions, etc.
Identifies relevant arguments (reasons and claims) pro and con.
Offers analyses and evaluations of obvious alternative points of view.
Justifies some results or procedures, explains reasons.
Fairmindedly follows where evidence and reasons lead.
2 Does most or many of the following:
Misinterprets evidence, statements, graphics, questions, etc.
Fails to identify strong, relevant counter-arguments.
Ignores or superficially evaluates obvious alternative points of view.
Justifies few results or procedures, seldom explains reasons.
Regardless of the evidence or reasons maintains or defends views based on self-interest or preconceptions.
1 Consistently does all or almost all of the following:
Offers biased interpretations of evidence, statements, graphics, questions, information, or the points of view of
others.
Fails to identify or hastily dismisses strong, relevant counter-arguments.
Ignores or superficially evaluates obvious alternative points of view
Argues using fallacious or irrelevant reasons, and unwarranted claims.
Regardless of the evidence or reasons, maintains or defends views based on self-interest or preconceptions.
Exhibits close-mindedness or hostility to reason.
19
ตัวอย่ าง: มิตหิ รือเกณฑ์ การวัดประเมิน 3
กฎเกณฑ์ การให้ คะแนนแบบวิเคราะห์ สาหรับวัดประเมินการคิดอย่ างมีวจิ ารณญาณ
ที่มา: http://www.intel.com/content/dam/www/program/education/us/en/documents/assessingprojects/strategies/demonstrating-understanding-rubrics-scoring-guides.pdf
20
ลักษณะที่ดีในการเขียนและนากฎเกณฑ์ การให้ คะแนนไปใช้
• ผลการเรี ยนรู้ ท่ จี ะทาการวัดประเมินจะต้ องนิยามอย่ างเจาะจงและชัดเจน
• มิตห
ิ รื อเกณฑ์ จะต้ องเน้ นส่ วนสาคัญของงานที่มอบหมายให้ ปฏิบัติ และจะต้ อง
เป็ นที่เข้ าใจตรงกันของผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย
• เลือกประเภทกฎเกณฑ์ การให้ คะแนน (แบบองค์ รวม VS แบบวิเคราะห์ )
สอดคล้ องกับจุดมุ่งหมายของการวัดประเมิน
• ตัวบอกสมรรถนะหรื อข้ อความบรรยายคุณภาพของการปฏิบัตงิ านจะต้ อง
สังเกตเห็นได้ และแยกแยะออกจากกันอย่ างชัดเจน
• การตรวจให้ คะแนนโดยใช้ กฎเกณฑ์ ท่ ส
ี ร้ างขึน้ จะต้ องกระทาอย่ างเป็ นปรนัย
ไม่ ลาเอียงและคงเส้ นคงวาเพื่อลดความคลาดเคลื่อน
• ระบบการตรวจให้ คะแนนโดยใช้ กฎเกณฑ์ ท่ ส
ี ร้ างขึน้ จะต้ องกระทาได้ ในทาง
ปฏิบัตจิ ริง
21
ข้ อแนะนาการใช้ กฎเกณฑ์ การให้ คะแนน
• ควรแจกจ่ ายข้ อมูลให้ ผ้ ูเรี ยนทราบทัง้ งานที่มอบหมายให้ ปฏิบัตแ
ิ ละ
เกณฑ์ การให้ คะแนน
• แจกกฎเกณฑ์ การให้ คะแนนและเกรดแสดงผลการปฏิบัตงิ านกลับคืน
พร้ อมกันไปยังผู้เรี ยน
• มีผ้ ูเรี ยนช่ วยในการพัฒนากฎเกณฑ์ การให้ คะแนนสาหรั บการวัด
ประเมินผลการเรี ยนรู้ ใดๆ
• มีผ้ ูเรี ยนใช้ กฏเกณ์ การให้ คะแนนสาหรั บวัดประเมินการเรี ยนรู้ ของ
ตนเองและของเพื่อนร่ วมชัน้
22
เอกสารอ้างอิง
McMillan, J.H/ (2004). Classroom assessment: Principles and practice for effective instruction (3rd ed.). Singapore: Pearson Education.
Nitko, A.J. (2001). Educational assessment of students (3rd ed.). Upper Saddle River, NJ: Prentice-Hall.
Stiggins, R.J. & Chappuis, J. (2012). Student-Involved Assessment FOR Learning (6th ed.). Upper Saddle River, NJ: Prentice-Hall.
Links to examples of rubrics: (1). http://www.calstate.edu.acadaff/slo/links/rubric.shtml. Retrieved on Marsh 2, 2014. (2).
http://www.intel.com/content/dam/www/program/education/us/en/documents/assessing-projects/strategies/demonstratingunderstanding-rubrics-scoring-guides.pdf