บทที่ 2 เข้าใจเกียวกับชุมชนความ ความแตกต่างระหว่าง
Download
Report
Transcript บทที่ 2 เข้าใจเกียวกับชุมชนความ ความแตกต่างระหว่าง
กระบวนวิชา 352323 การพัฒนาชุ มชนและการพัฒนาการเกษตร
(Community and Agricultural Development)
บทที่ 2 ความเข้ าใจเกีย่ วกับชุมชน
รศ.ดร.สุ รพล เศรษฐบุตรภาควิชาส่ งเสริมและเผยแพร่ การเกษตร คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
รศ.ดร.สุ รพล เศรษฐบุตร ภาควิชาเศรษฐศาสตร์ เกษตรและส่ งเสริมเผยแพร่ การเกษตร คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ความเข้ าใจเกีย่ วกับชุมชน
ความเป็ นมาของชุมชน
ความหมาย
องค์ ประกอบ
โครงสร้ าง
ประเภท
หน้ าที่
การตั้งถิ่นฐาน
ประวัตปิ ระชากรมนุษย์ (Human population history)
Homo habilis
3 ล้านปี มาแล้ว
Homo erectus
กว่า 1 ล้านปี มาแล้ว
(ความสามารถในการใช้มือ ใช้ Simple stone tools)
(ลาตัวตรง อพยพสู่ยโุ รป เอเชีย เรี ยกว่า Neanderthal man)
Homo sapiens
มนุษย์ยคุ ใหม่ หรื อยุคปัจจุบนั พบในอัฟริ กา
1.25 ล้านปี มาแล้ว
Homo sapiens อพยพสู่ ยุโรป เอเชีย ออสเตรเลีย
40,000-100,000 ปี มาแล้ว
อพยพแพร่ กระจายไปทัว่ โลกประชากรประมาณ 10 ล้านคน
13,000 ปี มาแล้ว
จานวนประชากรมนุษย์ 600 ล้านคน
จานวนประชากรมนุษย์ 1,600 ล้านคน
จานวนประชากรมนุษย์ 2,500 ล้านคน
300 ปี ที่ผา่ นมา(ค.ศ. 1700)
ค.ศ. 1900
ค.ศ. 1950
จานวนประชากรมนุษย์ 6,700 ล้านคน
ปัจจุบนั (ค. ศ. 2009)
http://www.worldometers.info/population/
ภาพแสดงปฏิกริ ิยาสั มพันธ์ (Interaction)ระหว่ าง Human ,Social system กับ Ecosystem
(Energy, Material, information)
-Knowledge
-Technology
-Social organization
-Values
-Population
-Plants -Animal
-Air
-Water
-Soil
-Human built structure
-Micro-organism
(Energy, Material, Information)
กลุ่มชนทีอ่ ยู่ร่วมกันในพืน้ ทีใ่ ดพืน้ ทีห่ นึ่ง
รวมถึงพืน้ ทีท่ ากินทีจ่ ะต้ องออกไปทากิจกรรมนั้นอย่ างต่ อเนื่องและผูกพันกับ
ชุ มชนทีอ่ ยู่อาศัย
คนในชุ มชนนั้นมีการใช้ ประโยชน์ จากทรัพยากรและการการบริการทางสั งคม
ร่ วมกัน
มีความผูกพันในทางเชื้อชาติ เผ่ าพันธุ์ ศาสนาเดียวกัน จนสามารถบ่ งบอก
ลักษณะสาคัญของชุ มชนนั้นได้
1. ความหมายเกีย่ วกับชุมชน (Meaning of The
Community)
1.1 “ ชุมชน” (Community) หมายถึง หมู่ชน, กลุ่ม
คนที่อยู่ รวมกันเป็ นสั ง คมขนาดเล็ก อาศั ยอยู่ ใน
อาณาบริเวณเดียวกัน และมีผลประโยชน์ ร่วมกัน
(ราชบัณฑิตยสถาน.2525. พจนานุกรมฉบับราชบัญฑิตยสถาน พ.ศ. 2525.
กรุ งเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน)
1.2 “ชุมชน” หมายถึง
การทีค่ นจานวนหนึ่งทีอ่ าศัยอยู่พนื้ ทีแ่ ห่ งหนึ่ง
มีความเชื่อผลประโยชน์ กิจกรรม และมีคุณสมบัติอนื่ ๆ
ที่คล้ ายคลึงกัน คุณลักษณะเหล่ านีม้ ีลกั ษณะเด่ นเพียง
พอทีจ่ ะทาให้ สมาชิกนั้น ตระหนัก และเกือ้ กูลกัน
(Mask S. Homan , 1994: 82 อ้ างใน ปาริชาติ, 2543: 26) ปาริชาติ วลัย
เสถียร และคณะ. 2543.กระบวนการและเทคนิคการทางานของ นักพัฒนา.
กรุ งเทพ: สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. หน้ า 26
1.3 “ชุมชน” หมายถึง
กลุ่ ม ทางสั ง คมที่ อ ยู่ อ าศั ย ร่ วมกั น ในอาณาบริ เ วณเดี ย วกั น เช่ น
ครอบครัว ละแวกบ้ าน หมู่บ้าน ตาบล หรือเรียกเป็ นอย่ างอืน่
มีความเกีย่ วข้ องกันสั มพันธ์ กนั
มีการติดต่ อสื่ อสารและเรี ยนรู้ ร่วมกัน มีความผูกพัน เอื้ออาทรกัน
ภายใต้ บรรทัดฐานและวัฒนธรรมเดียวกัน ร่ วมมือและพึ่งพา อาศั ย
กัน เพือ่ บรรลุวตั ถุประสงค์ และเป้าหมายร่ วมกัน
(สนธยา พลศรี. 2545. พิมพ์ ครั้งที่ 4. ทฤษฎีและหลักการพัฒนาชุ มชน. กรุ งเทพ: โอเดียนส
โตร์ . หน้ า 22)
1.4 “ชุมชน” หมายถึง
เป็ นหน่ วยของสั งคมหรือหน่ วยทางการปกครองขนาดเล็กในระดับพืน้ ที่
มีการรวมกันของกลุ่มคนจานวนหนึ่งมาอาศั ยอยู่รวมกันในพื้นที่แห่ ง
หนึ่งเพือ่ อาศัยทรัพยากรธรรมชาติในบริเวณนั้นในการดารงชี วิต โดยใช้
ทรัพยากรเพือ่ การผลิต
มีการกาหนดรูปแบบความสั มพันธ์ ซึ่งกันและกันขึน้
มีองค์ กร หรือ สถาบันของชุ มชนและกฎเกณฑ์ ต่างๆ รวมถึง กลุ่มความ
สนใจ (ชมรม) กลุ่มวัฒนธรรม และศาสนา สมาคมอนุรักษ์ หรือพัฒนา
สั งคม/ กลุ่ม
(ชยันต์ วรรธนะภูติ. 2536. “การกาหนดกรอบคิดในการวิจัย " .ใน อุทัย ดุลยเกษม, คู่มือการวิจัยเชิงคุณภาพเพือ่ การพัฒนา.หน้ า
44. กรุงเทพ: สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยขอนแก่น)
1.5 “ชุมชน” หมายถึง
กลุ่มบุคคลหลายๆ กลุ่มมารวมกันอยู่ ในอาณาเขต
ภายใต้ กฎหมายหรือข้ อบังคับเดียวกัน
มีการสั งสรรค์ กนั มีความสนใจร่ วมกัน และมีผลประโยชน์ ค ล้ ายๆ
กัน
มีแนวพฤติกรรมเป็ นอย่ างเดียวกัน เช่ น ภาษาพูด ขนบธรรมเนียม
ประเพณี หรือพูดอีกอย่ างหนึ่ง คือ มีวฒ
ั นธรรมร่ วมกันนั่นเอง
(จีรพรรณ กาญจนะจิตรา, 2525: 11 อ้ างในขบวน พลตรี , 2529: 1) ทฤษฎีและหลักการพัฒนาชุ มชน.
สกลนคร:วิทยาลัยครูสกลนคร. หน้ า 1
จากความหมายต่ า งๆ ของชุ ม ชนๆ พอที่จ ะสรุ ป ลักษณะที่สาคัญของ
ชุ มชนได้ ดังต่ อไปนี้
1. เป็ นการรวมกันของกลุ่มคน (Group of People) ในรู ปของกลุ่มสั งคม กล่ าวคือ
สมาชิ ก มี ก ารปฏิ บั ติ ต่ อ กัน ทางสั ง คม หรื อ มี ป ฏิ กิริ ย า โต้ ต อบต่ อ กั น ทางสั ง คม
(Social Interaction) เอือ้ อาทรต่ อกันและพึง่ พาอาศัยซึ่งกันและกัน
2. มีอาณาบริเวณ ( Area ) สาหรับเป็ นที่อยู่อาศัย หรื อประกอบกิจกรรม ต่ างๆ ของ
สมาชิกและกลุ่มสั งคม ขนาดของชุ มชน อาจมีขนาดเล็กจนถึงขนาดใหญ่ ขึน้ อยู่กบั
จานวนของสมาชิกในกลุ่มสั งคม
3. มีการจัดระเบียบทางสั งคม ( Social Organization ) เพือ่ ควบคุมความสั มพันธ์ ของ
สมาชิกในชุ มชน เช่ น บรรทัดฐานทางสั งคม สถาบันทางสั งคม ฯลฯ
4. สมาชิกมีความสั มพันธ์ กนั ทางสั งคม ( Social Relationship ) มี การ
ติ ด ต่ อ สั ม พั น ธ์ กั น มี กิ จ กรรมร่ วมกั น มี ค วามสนิ ท สนมกั น มี
ความสั มพันธ์ กันแบบพบปะกัน มีวิถีชีวิตคล้ ายคลึงกัน (Sense of
commonality among a group of people) มีมิตรภาพ ความเอือ้
อาทร ความมั่นคงและความผูกพัน มีวัฒนธรรมประเพณีของตนเอง
5. สมาชิ กมีวัตถุประสงค์ และเป้าหมายในการดาเนินชี วิตรวมทั้ง ได้ รับ
ผลกระทบที่เกิดขึน้ ร่ วมกัน (Common Interest)
6. สมาชิกมีระบบการติดต่ อสื่ อสารและการเรียนรู้ ร่วมกัน เพือ่ ทาให้ เกิด
ความเข้ าใจในสิ่ งต่ างๆ ร่ วมกัน
สรุป ชุมชนจะต้ องประกอบด้ วยลักษณะ 5 ประการ คือ
กลุ่มคนทีม่ าอยู่รวมกันในพืน้ ที่ หรือบริเวณหนึ่ง (Geo-graphic area )
สมาชิกมีการติดต่ อระหว่ างกันทางสั งคม ( Social Interaction )
สมาชิกมีความสั มพันธ์ ต่อกันทางสั งคม (Social Relationship )
มี ค วามผู ก พั น ทางด้ านจิ ต ใจต่ อระบบนิ เ วศ (Psycho-Ecological
Relationship )
มีกิจกรรมส่ วนรวม เพื่อใช้ ประโยชน์ ( Central activities for
unilization )
องค์ประกอบของชุมชน
องค์ ประกอบด้ านมนุษย์ (Human
Component)
องค์ ประกอบทีม่ นุษย์ สร้ างขึน้ (ManMade Component)
องค์ ประกอบทีธ่ รรมชาติสร้ างขึน้
(Natural Component)
ตัวบงการหรือกลไกทีค่ วบคุมหรือสนับสนุน
องค์ ประกอบทั้ง 3 ให้ มีการพัฒนาหรือเปลีย่ นแปลง
คือ
ระบบการปกครอง
ระบบเศรษฐกิจ
ระบบการศึกษา
ศาสนา
ตัวบงการอืน่ ๆ เช่ น สภาพแวดล้ อมและการเปลีย่ นแปลง
โครงสร้ างของชุมชน
โครงสร้ างด้ านสั งคมมนุษย์
1. บุคคล
4. ระบบสั งคม
2. กลุ่มคน
5. สถาบันสั งคม
3. สถานภาพและบทบาท
6. การแบ่ งชั้นทางสั งคม
โครงสร้ าทางสภาพแวดล้ อมธรรมชาติ
1. ด้ านกายภาพ
2. ด้ านภูมิอากาศ
3. ด้ านชีววิทยาและความหลากหลายของชีวติ
อิทธิพลของสภาพแวดล้อมธรรมชาติต่อชุมชน
การเลือกถิ่นฐานหรือทาเล
รูปแบบการตั้งถิ่นฐาน
ลักษณะบ้ านเรือนทีอ่ ยู่อาศัย
ลักษณะการประกอบอาชีพ
การอพยพเคลือ่ นย้ ายถิ่นฐาน
การกาหนดขอบเขตของชุมชน
ลักษณะขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนะธรรม ความเชื่อ นิสัย
ประเภทของชุมชน
1.แบ่ งตามจานวนพลเมือง
หมู่บ้านเล็ก(Hamlet)
หมู่บ้าน(Village)
เมือง(Town)
นครเล็ก(City)
นครใหญ่ (Metropolis)
มหานคร(Great Metropolis)
พลเมืองน้ อยกว่ า 250 คน
พลเมือง 250-1,000 คน
พลเมือง 1,000-5,000 คน
พลเมือง 5,000-100,000 คน
พลเมือง 100,000-1,000,000 คน
พลเมือง มากกว่ า 1,000,000 คน
2.แบ่ งตามพืน้ ฐานทางเศรษฐกิจ
ชุมชนหัตกรรม
ชุมชนอุตสาหกรรม
ชุมชนเกษตร
ชุมชนชนบท
ชุมชนศูนย์ การศึกษา
ชุมชนเหมืองแร่
3.แบ่ งตามลักษณะพิเศษของประชากร
นิคมต่ าง ๆ เช่ น นิคมชาวเขา
หมู่บ้านสหกรณ์ ต่างๆ
หมู่บ้านจัดสรร ทาวเฮ้ าส์ คอนโดมิเนียม
บ้ านญวน บ้ านแขก
4. แบ่ งตามลักษณะความสั มพันธ์ ของบุคคลและองค์ ประกอบ
ในระบบนิเวศ
นักสั งคมวิทยาได้ แบ่ ง เป็ น2 ประเภท
• ชุมชนชนบท(Rural Community)
• ชุมชนเมือง(Urban Community)
ชุมชนชนบท(Rural Community)
หมายถึ ง ส่ วนที่ อ ยู่ นอกเขตเมื อ งหรื อ เขตเทศบาล มี
ประชากรที่เลีย้ งชี พด้ วยการเกษตรกรรมเป็ นสาคั ญ มี
ระเบี ย บสั ง คมที่ ส อดคล้ อ งกั บ ลั ก ษณะชุ ม ชนแบบ
หมู่บ้าน ตั้งบ้ านเรือนเป็ นกลุ่มก้ อน หรือกระจัดกระจาย
ตามลักษณะภูมปิ ระเทศหรือตามประเพณีนิยม
ชุมชนเมือง(Urban Community)
คือ ถิ่ น ตั้ ง รกรากของประชากรที่ มีค วามหลากหลาย
ทางด้ านสั งคม มีขนาดใหญ่ และหนาแน่ น
เป็ นสั งคมบริโภคมากกว่ าสั งคมผลิต (สั งคมชนบท)
สมาชิ ก มี อ าชี พ หลากหลายเน้ นด้ านการบริ ก าร
เศรษฐศาสตร์ การศึ ก ษา และการปกครอง แต่ ข าด
ความสั มพันธ์ ระดับบุคคล
Differentiation of Rural and Urban community
Characteristics
Population Aspest
1.Size
2.Density
3.Age
4.Culture
5.No. of Children
Rural community Urban community
Low
Low
Low
Consolidation
High
High
High
High
Differentiation
Low
Characteristics
Rural community Urban community
6.No. of Male
Low
High
7.Age of marriage
Low(17-25 years)
High(25-35 years)
8.Incomes
Low
High
9.Occupation
Mainly agriculture
Diversity
10.Sustainable income
High
low
11.Residence size
Large
small
12.Natural environment
Good
Not good
13.Family size
High
Low
Characteristics
Rural community Urban community
14.Family Type
Extended family
Nuclear family
15.Culture
Strong
Not strong
16.Social relation Strong
Not strong
หน้ าทีข่ องชุมชน
นักสั งคมวิทยาได้ แบ่ งหน้ าทีข่ องชุ มชนออกเป็ น 4 ประการคือ
การบริ ก ารขั้ น ต้ น ส าหรั บ สมาชิ ก ในชุ ม ชน เช่ น สถานี อ นามั ย
โรงเรียน สถาบันทางศาสนา เป็ นต้ น
จัด ให้ มีสิ่ง อานวยความสะดวกเบื้องต้ น เช่ น ถนน น้าใช้ ไฟฟ้ า
สถานทีพ่ กั ผ่ อน สนามกีฬา เป็ นต้ น
จัดให้ มีหน่ วยปกครองท้ องถิ่น
จั ด ให้ มี ก ารรั ก ษาคุ้ ม ครองสวั ส ดิ ภ าพของสมาชิ ก ทั้ ง ชี วิ ต และ
ทรัพย์ สิน
การตั้งถิน่ ฐานของชุมชนลักษณะและรู ปแบบ
มี 3 ลักษณะ โดยถือระยะเวลาของการอยู่อาศัยคือ
การตั้งถิ่นฐานแบบชั่วคราว
การตั้งถิ่นฐานแบบกึง่ ถาวร
การตั้งถิ่นฐานแบบถาวร
รู ปแบบการตั้งถิน่ ฐาน มี 2 อย่ างคือ
แบบมีการวางแผน(Planned Settlement) เช่ น นิคมต่ างๆ
แบบไม่ มีการวางแผน(Unplanned Settlement) เช่ น หมู่บ้าน
เกษตรกรรม
รู ปแบบของการตั้งถิน่ ฐานชุมชนเกษตร
เป็ นแบบไม่ มกี ารวางแผน มี 3 ประเภทคือ
การตั้งบ้ านถิ่นฐานอยู่ในทีน่ าโดดเดีย่ ว(Isolated
Farmstead)
ตั้งเป็ นกลุ่มหมู่บ้านเกษตรกรรม(Farm Village)
ตั้งบ้ านเรือนอยู่ตามเส้ นทางคมนาคม(Line Village)
เช่ น ทางนา้ ตามริมฝั่งแม่ นา้ ทางบก ตามถนน
การตั้งถิน่ ฐาน
• ปัจจัยผลักดัน เช่ นความเสื่ อมโทรมของสภาพแวดล้ อม
• ปัจจัยดึงดูดเช่ น สภาพแวดล้ อมดีกว่ า คาชักชวน