แนวคิดทฤษฎีทางสังคม
Download
Report
Transcript แนวคิดทฤษฎีทางสังคม
วิชาสังคมและการเมือง
Social and Politics
อ.มานิตา หนูสวัสดิ์
ธรรมชาติของมนุษย์ และสังคม
และ
แนวคิดทฤษฎีทางสังคม
ธรรมชาติของมนุษย์ และสังคม
• พื้นฐานความคิดเกี่ยวกับธรรมชาติของมนุษย์ มีส่วนในการก่ อร่ าง
แนวคิดและทฤษฎีทางสังคม
• ธรรมชาติของมนุษย์ หมายถึง องค์ประกอบพื ้นฐานและเป็ นลักษณะที่ไม่
เปลี่ยนแปลงของมนุษย์
• ธรรมชาติของมนุษย์มีรูปแบบให้ พิจารณาหลากหลาย และแต่ละรูปแบบ
ก็มีนยั ยะความหมายแตกต่างกันสาหรับการอธิบายว่าชีวิตทางสังคมและ
การเมืองควรจัดการอย่างไร
ธรรมชาติของมนุษย์ และสังคม (ต่ อ)
• ข้ อถกเถียงที่สาคัญเกี่ยวกับลักษณะธรรมชาติมนุษย์ (Heywood 2004: 15-26)
• 1. โดยธรรมชาติ หรื อ โดยการเลี ้ยงดู
1. ธรรมชาติของมนุษย์เปลี่ยนแปลงไม่ได้ เป็ นสิ่ง 1. ธรรมชาติของมนุษย์มีโอกาสเปลี่ยนแปลงได้
ที่ติดตัวมาตังแต่
้ กาเนิดจากพันธุกรรม
2. ลักษณะธรรมชาติของมนุษย์ มี 2 แบบ คือ
ลักษณะที่มนุษย์มีเหมือนกันสากล และลักษณะ
ที่มนุษย์มีแตกต่างกันพื ้นฐาน
2. อิทธิพลของสภาพแวดล้ อมทางและสังคม
ประสบการณ์ทางสังคม มีผลต่อลักษณะ
ธรรมชาติของมนุษย์
3. ตัวอย่าง – ทฤษฎีการคัดเลือกตามธรรมชาติ 3. ทาให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงการทาความเข้ าใจ
ของ Darwin – ผู้ที่แข็งแรงกว่าเท่านันที
้ ่จะอยู่ ทฤษฎีทางสังคมและการเมือง มาให้ ความสนใจ
รอด
ทฤษฎีทางสังคมวิทยา
4. ตัวอย่าง – Marx อธิบายว่าธรรมชาติของ
มนุษย์ถกู สร้ างจากพลวัตรความสัมพันธ์ระหว่าง
มนุษย์กบั โครงสร้ างทางสังคม เงื่อนไขทางสังคม
มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมมนุษย์
ธรรมชาติของมนุษย์ และสังคม (ต่ อ)
• 2. มีเหตุผล หรื อ ไม่มีเหตุผล
1. มนุษย์เป็ นสิ่งมีชีวิตที่มีเหตุผล – ฉลาด
อิสระ และมีกระบวนการคิดวิเคราะห์
1. มนุษย์เป็ นสิ่งมีชีวิตที่ไม่มีเหตุผล, ชัว่ ร้ าย,
เห็นแก่ตวั (โดยสัญชาตญาณ)
2. ตัวอย่าง – พวกแนวคิด Rationalist
ให้ ความสาคัญต่อเสรี ภาพปั จเจกบุคคล,
เสรี ภาพในการมีอานาจปกครองตัวเอง, การ
ปฏิวตั ิเปลี่ยนแปลงสังคม
2. ความก้ าวร้ าวและความโหดร้ ายของ
มนุษย์ เป็ นสิ่งที่ติดตัวมนุษย์มาแต่กาเนิด
(ตัวอย่างที่เห็นได้ จากความรุนแรงใน
ครอบครัว, เหตุการณ์ลกุ ฮือ)
3. ข้ อวิพากษ์ คือ ในสภาพความเป็ นจริ ง ถ้ า 3. ตัวอย่าง – Hobb เชื่อว่ามนุษย์มีนิสยั
มนุษย์ดีมีปัญญาแล้ ว ความขัดแย้ งและ
โหดร้ ายและเห็นแก่ตวั ต้ องมีรัฐบาลทีเ่ ข้ มแข็ง
ปั ญหาความไม่เท่าเทียมในสังคมไม่น่าจะเกิด เผด็จการและมีอานาจเด็ดขาดมาควบคุม
ธรรมชาติของมนุษย์ และสังคม (ต่ อ)
• 3. การแข่งขัน หรื อ การร่วมมือ
1. พฤติกรรมตามธรรมชาติของมนุษย์ทาเพื่อ 1. มนุษย์เป็ นสัตว์สงั คมทีอ่ ยู่ร่วมกันเป็ นสังคม
ตอบสนองความต้ องการของตัวเองและ
ทางานร่วมกัน และเป็ นสมาชิกของชุมชน
ผลประโยชน์สว่ นตัว
2. ในทฤษฎีความอยู่รอด – ความเห็นแก่ตวั
และการแข่งขันระหว่างปั จเจกเป็ นรูปแบบ
พฤติกรรมที่สาคัญ
2. ธรรมชาติของมนุษย์มีลกั ษณะเข้ าสังคม
สร้ างความร่วมมือ และอยู่เป็ นกลุม่
3. ตัวอย่าง – แนวคิดปั จเจกนิยม มนุษย์มี 3. แนวความคิดเกี่ยวกับความร่วมมือของ
สิทธิเสรี ภาพตามธรรมชาติและในทรัพย์สิน
มนุษย์ สะท้ อนในรูปแบบการจัดองค์กรทาง
เท่ากัน เพื่อสร้ างความชอบธรรมในตลาดและ สังคมและเศรษฐกิจ
ระเบียบเศรษฐกิจทุนนิยม
แนวคิดทฤษฎีทางสังคม
• เป็ นแนวคิดในการเข้ าใจธรรมชาติมนุษย์ในสังคม
• มีแนวคิดสาคัญ 5 แนวคิด ได้ แก่
ปั จเจกนิยมของสังคม
โครงสร้ างหน้ าที่
พหุนิยมของสังคม
ชนชันน
้ าของสังคม
ความขัดแย้ งของสังคม
แนวคิดทฤษฎีทางสังคม (ต่ อ)
• 1. แนวความคิดปั จเจกนิยมของสังคม (An individualist
conception of society)
• พฤติกรรมทางสังคมและการเมืองสามารถทาความเข้ าใจได้ ในแง่เป็ น
ทางเลือกที่ถกู สร้ างขึ ้นเพื่อสนองผลประโยชน์ของปั จเจกบุคคล โดย
ปราศจากการอ้ างถึงลักษณะหรื อเอกลักษณ์ร่วมกัน
• สังคม คือ สิ่งประดิษฐ์ ของมนุษย์ เกิดขึ้นโดยปั จเจกบุคคลเพื่อรองรั บ
ผลประโยชน์ หรือความต้ องการของปั จเจกบุคคลเอง
• แนวคิดนี ้เชื่อว่าสิง่ ที่เชื่อมร้ อยปั จเจกบุคคลเข้ าด้ วยกัน คือ เรื่ องผลประโยชน์
ส่วนตัว
แนวคิดทฤษฎีทางสังคม (ต่ อ)
• 1. แนวความคิดปั จเจกนิยมของสังคม (An individualist
conception of society)
• ความคิดเรื่ องสังคมในแบบนี ้ตังอยู
้ บ่ นหลักการของความเชื่อเรื่ องฉันทามติ
ความเชื่อที่วา่ ธรรมชาติมนั มีความสมดุลท่ามกลางการแข่งขันของปั จเจก
บุคคลและกลุม่ ต่างๆในสังคม
• ตัวอย่างทฤษฎีที่เกี่ยวข้ อง เช่น แนวคิดเสรี นิยมคลาสสิค ที่มีเป้าหมาย
บรรลุให้ เกิดเสรี ภาพของปั จเจกบุคคลที่สมบูรณ์
แนวคิดทฤษฎีทางสังคม (ต่ อ)
• 2. ทฤษฎีโครงสร้ าง-หน้ าที่ (The structural-functional
theory)
• แนวคิดนี ้ให้ ความสาคัญต่อองค์ประกอบรวมมากกว่าส่วนของปั จเจกบุคคล
• เปรี ยบสังคมเหมือนร่างกายมนุษย์ที่ประกอบด้ วยระบบอวัยวะต่างๆ
• สังคม คือ เครือข่ ายความสัมพันธ์ ทซี่ ับซ้ อนซึง่ ความสัมพันธ์ เหล่ านี้
ในทีส่ ุดแล้ วดารงอยู่เพื่อรั กษาระบบทั้งหมดไว้
• แนวคิดโครงสร้ างหน้ าที่คิดว่ากิจกรรมทางสังคมทังหมดท
้
าหน้ าที่ตอ่ การ
รักษาไว้ ซงึ่ โครงสร้ างพื ้นฐานของสังคมโดยรวม
แนวคิดทฤษฎีทางสังคม (ต่ อ)
• 2. ทฤษฎีโครงสร้ าง-หน้ าที่ (The structural-functional
theory)
• ธรรมชาติของสังคมมีการแบ่งช่วงชันหรื
้ อลาดับชัน้
• ตัวอย่างแนวคิดที่เกี่ยวข้ อง เช่น ความคิดทางการเมืองอนุรักษ์ นิยมและ
เผด็จการอานาจนิยม (fascist) กล่าวคือ ในสังคมอนุรักษ์ นิยมมีแนวโน้ ม
ให้ ความชอบธรรมกับคุณธรรมจริยธรรมและระเบียบทางสังคมเพราะเป็ น
สิง่ จาเป็ นเพื่อควบคุมความเป็ นระเบียบของสังคม
แนวคิดทฤษฎีทางสังคม (ต่ อ)
• 3. ทฤษฎีพหุนิยมของสังคม (The pluralist theory of
society)
• พหุนิยม เน้ นความเป็ นปั จเจกบุคคลและการยอมรั บความแตกต่ าง
และการปฏิบัตอิ ย่ างเท่ าเทียมด้ วยมาตรฐานเดียวกัน
• แนวคิดนี ้ให้ ความสาคัญต่อกลุม่ คนและกลุม่ ผลประโยชน์ตา่ งๆในสังคม
• ความขัดแย้ งไม่ได้ เป็ นสิง่ พื ้นฐานของสังคม เพราะแนวคิดนี ้เชื่อว่าการมี
ระบบการเมืองที่เปิ ดกว้ างและเปิ ดให้ แข่งขันกันจะสามารถรับรอง
เสถียรภาพของสังคมได้ อานาจไม่กระจุกอยูท่ ี่กลุม่ ใดกลุม่ หนึง่ โดยเฉพาะ
แนวคิดทฤษฎีทางสั งคม (ต่ อ)
• 3. ทฤษฎีพหุนิยมของสังคม (The pluralist theory of
society)
• พหุนิยม ไม่ เท่ ากับ พหุสงั คม
• พหุสงั คม หมายถึง สังคมที่มีกลุม่ อยูเ่ ป็ นจานวนมาก เป็ นสังคมที่มีความ
หลากหลายทางวัฒนธรรม เชื ้อชาติ เผ่าพันธุ์ และภาษา
• พหุสงั คมเป็ นสภาพสังคมที่มีความแตกต่าง
• ผลของสังคมที่ไม่ยอมรับความแตกต่างหลากหลาย คือ สังคมนันจะอยู
้
ก่ นั
บนความรู้สกึ สับสน ไม่วางใจ ต้ องการแบ่งแยก ปิ ดกันความเป็
้
นอื่นหรื อกีด
กันวัฒนธรรมอื่น
แนวคิดทฤษฎีทางสั งคม (ต่ อ)
• 4. ทฤษฎีชนชัน้ นาของสังคม (The elite theory of society)
• แนวคิดนี ้เน้ นให้ ความสาคัญของอานาจที่อยูก่ บั คนส่วนน้ อย อานาจการ
ปกครองมักจะอยูก่ บั คนเพียงชนชันเดี
้ ยว
• ความขัดแย้ งเป็ นเรื่ องระหว่างกลุม่ ชนชันน
้ ากับกลุม่ ชนชันใต้
้ ปกครอง
• ตัวอย่างแนวคิดที่เกี่ยวข้ อง เช่น นักคิดสานัก Fascist อธิบายรูปแบบของ
ชนชันน
้ านิยมซึง่ มีนยั ะของความกลมกลืน โดยเชื่อว่าคนส่วนใหญ่ทวั่ ไปจะ
ยอมรับได้ ตอ่ การเป็ นผู้ใต้ บงั คับบัญชา/ใต้ การปกครอง
แนวคิดทฤษฎีทางสังคม (ต่ อ)
• 5. ทฤษฎีความขัดแย้ งของสังคม (The conflict theory of
society)
• แนวคิดนี้เชื่อว่ าความขัดแย้ งทางชนชั้นโดยพื้นฐานมันมีอิทธิพลใน
ทุกๆแง่ มุมของการดารงอยู่ของสังคม
• ความขัดแย้ งเป็ นธรรมชาติในสังคม เชื่อว่าสังคมมีการเปลี่ยนแปลงตลอด
และความขัดแย้ งเป็ นหนึง่ ปรากฎการณ์ที่ทาให้ เกิดการเปลี่ยนแปลง
• สาเหตุความขัดแย้ งในสังคมซึง่ หลีกเลี่ยงไม่ได้ มาจาก 1. บุคคลมีอานาจ
ไม่เท่ากัน 2. ทรัพยากรในสังคมมีจากัด 3. กลุม่ ต่างๆในสังคมมีเป้าหมาย
ที่แตกต่างกัน
แนวคิดทฤษฎีทางสั งคม
• 5. ทฤษฎีความขัดแย้ งของสังคม (The conflict theory of
society)
• แนวคิด Marxist เป็ นแนวคิดทฤษฎีที่อธิบายความขัดแย้ งที่มีอิทธิพล
มาก ความขัดแย้ งทางชนชัน้ = ระหว่างชนชันนายทุ
้
น กับ กรรมาชีพ
• อธิบายชนชันกรรมาชี
้
พเป็ นกลุม่ ที่สร้ างความมัง่ คัง่ ในสังคม กรรมาชีพ
เหล่านี ้โดยกดขี่ขรู่ ี ดโดยระบบจากเจ้ าของทรัพย์สนิ นันๆ
้ โดยที่กรรมาชีพ
ไม่ได้ รับค่าตอบแทนที่สอดคล้ องกับสิ่งที่พวกเขาให้ กบั ระบบการผลิต ที่
เรี ยกว่า มูลค่าส่วนเกิน
สังคม คือ อะไร? (ศิริรัตน์ แอดสกุล 2555: 42)
• การรวมตัวกันของกลุ่มคนที่มีวิถีชีวิตค้ ายคลึงกัน และอาศัยในอาณาเขต
เดียวกันเป็ นกลุม่ ใหญ่ (Alex Thio 2000)
• การรวมกันของบุคคลตังแต่
้ สองคนขึ ้นไป มีการอยู่ในอาณาเขตหรื อ
ดินแดนเดียวกัน โดยมีรูปแบบการดาเนินชีวิตที่คล้ ายคลึงกัน มีวิถีชีวิตหรื อ
วัฒนธรรมร่วมกัน (Haralalambos and Holborn 2004)
• (1) คนโดยทัว่ ไปที่ถือได้ วา่ เป็ นกลุม่ ๆหนึง่ และมีความหมายรวมถึง
ความสัมพันธ์ทางสังคมทุกอย่างของบุคคลและกลุม่ ย่อยภายในกลุ่มใหญ่นนั ้
(2) หมายถึง คนจานวนหนึง่ ที่เป็ นกลุม่ อิสระจากกลุม่ อื่น และสามารถดารง
อยูส่ ืบเนื่องยาวนานได้ ด้วยตนเอง โดยมีที่ที่เป็ นเขตถิ่นฐานของตน มีสมาชิก
ประกอบด้ วยคนทุกเพศทุกวัย และมีแบบแผนการดารงชีวิตหรือมี
วัฒนธรรมทีเ่ ป็ นแบบอย่ างเฉพาะของตนเองไม่ มากก็น้อย (จานงค์
อดิวัฒนสิทธิ์ และคณะ 2548)
สังคม คือ อะไร? (ต่ อ)
• คาว่า “ชุมชน” (community) แตกต่างจากคาว่า “สังคม”
(society)
• ชุมชน (Community) หมายถึงกลุม่ คนที่อาศัยอยูใ่ นพื ้นที่หนึง่ แต่
ในทางความคิดทางสังคมและการเมือง ชุมชนมีความหมายลึกซึ ้ง คือ
กลุม่ ทางสังคม, ภูมิภาค, ชาติ เป็ นต้ น
• สิง่ ที่ผกู พันคนในชุมชนไว้ ด้วยกัน คือ สายสัมพันธ์เครื อญาติและอัต
ลักษณ์ร่วมกัน
• สังคมมีลกั ษณะของรูปแบบปฏิสมั พันธ์ทางสังคม ผ่านการมีอยูข่ อง
โครงสร้ างทางสังคมและความสัมพันธ์ทางสังคมซึง่ เกี่ยวกับการตระหนัก
รู้และความร่วมมือ (Heywood 2004: 40-41)
วิวัฒนาการของสังคม
• สังคมมนุษย์มีลาดับขันวิ
้ วฒ
ั นาการของสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงของสังคม
จากลักษณะเรี ยบง่ายไปสูส่ งั คมที่ซบั ซ้ อนยิ่งขึ ้น
• การเปลี่ยนแปลงสภาพสังคม นามาสูก่ ารเปลี่ยนแปลงความสัมพันธ์ของ
มนุษย์
• วิวฒ
ั นาการของสังคม แบ่งได้ 3 ยุคหลัก ดังนี ้
สังคมยุคดังเดิ
้ ม
สังคมยุคเกษตรกรรม
สังคมยุคอุตสาหกรรมหรื อสังคมสมัยใหม่
สังคมยุคดัง้ เดิม
• สังคมยุคเริ่มแรกเป็ นสังคมล่าสัตว์และเก็บของป่ าเพื่อการดารงความอยู่
รอด
• ความสามารถในการใช้ เทคโนโลยีหรื อการประดิษฐ์ อปุ กรณ์เพื่อการ
ดารงชีวิตยังไม่สงู นัก
• การใช้ ชีวิตเร่ร่อนไม่มีถิ่นฐานถาวร
• มีความเชื่อบูชาธรรมชาติและสิ่งที่เหนือธรรมชาติ
สังคมยุคเกษตรกรรม
•
•
•
•
•
ต่อมาพัฒนาสูส่ งั คมกสิกรรมพืชสวน มีการเพาะปลูกอาหารเลี ้ยงชีพ
เริ่มใช้ แรงงานสัตว์และประดิษฐ์ อปุ กรณ์เพื่อการเพาะปลูกและดารงชีวิต
เริ่มมีการแลกเปลี่ยนสิง่ อุปโภคบริโภคในชุมชน เกิดระบบเงินตรา
เริ่มมีการตังถิ
้ ่นฐานมากกว่าใช้ ชีวิตเร่ร่อน
ความสัมพันธ์ของผู้คนในสังคมเป็ นสังคมขนาดเล็ก มีความสัมพันธ์
ใกล้ ชิดเป็ นเครื อญาติ
• โครงสร้ างทางการเมือง อานาจในการปกครองจะกระจุกที่คนเพียงกลุ่ม
เดียว
• โครงสร้ างสังคม แบ่งชนชันตามฐานะทางเศรษฐกิ
้
จ การเคลื่อนย้ าย
ระหว่างชนชันเกิ
้ ดขึ ้นได้ ยาก
สังคมยุคอุตสาหกรรมหรือสังคมสมัยใหม่
• เป็ นสังคมเริ่มมีการผลิตอาหารเพาะปลูกเป็ นจานวนมาก ใช้ เครื่ องจักรใน
การผลิตแทนแรงงานคนและสัตว์
• เริ่มมีการพัฒนาอุตสาหกรรมผลิตสินค้ าเครื่ องใช้ อปุ โภคบริโภคเพื่อการค้ า
ขาย
• คนเริ่มมีการเรี ยนรู้พฒ
ั นาทักษะเพื่อทางานหาเลี ้ยงชีพ และแบ่งงานกันทา
• เกิดชุมชนเมืองขนาดใหญ่ เกิดการอพยพย้ ายถิ่นจากชนบทเข้ าสู่เมือง
• สังคมมีโครงสร้ างซับซ้ อนมากขึ ้น (สถาบัน, สถานะ) ความสัมพันธ์ของคน
ในสังคมเริ่มเป็ นไปตามบทบาทและหน้ าที่ (ทางการ) มากกว่าดาเนิน
ความสัมพันธ์แบบเครื อญาติ
สั งคมยุคอุตสาหกรรมหรือสั งคมสมัยใหม่
• โครงสร้ างทางการเมืองเปิ ดกว้ าง สมาชิกในสังคมมีสว่ นร่วมทางการเมือง
มากขึ ้น
• การเคลื่อนย้ ายหรื อเปลี่ยนแปลงทางชนชันท
้ าได้ มากขึ ้น
อ้ างอิงและเรียบเรียง
• ศิริรัตน์ แอดสกุล. (2555) ความรู้เบือ้ งต้ นสังคมวิทยา. กรุงเทพฯ:
สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
• ลิขิต ธีรเวคิน. (2529) สังคมและการเปลี่ยนแปลง (เอกสารทางวิชาการ
หมายเลข24). กรุงเทพฯ: คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ .
• Heywood, A. (2004) Political Theory. 3rd ed. New York: Palgrave
Macmillan.