ไม่มีชื่อเรื่องภาพนิ่ง

Download Report

Transcript ไม่มีชื่อเรื่องภาพนิ่ง

สังคมวิทยาอ ุตสาหกรรม
ความหมายของวิชาสังคมวิทยา
สังคมวิทยา (Sociology)
August Comte (1798-1853) “บิดาแห่งสังคมวิทยา” เป็นผู้
บัญญัติศพ
ั ท์
รากศัพท์ Socius = การติดต่อคบหาสมาคม
Logos = คาพูด ถ้อยคา
ความหมายของวิชาสังคมวิทยา

Auguste Comte
สังคมวิทยาเป็นวิชาที่ศึกษาสังคม โดยใช้วิธีการทาง
วิทยาศาสตร์ (Scientific Methods) แบ่งออกเป็น 2 ส่วน
- สังคมสถิตย์ (Social statics) ซึ่งจะเกี่ยวกับโครงสร้างสังคม
(สถาบันและความสัมพันธ์ของสถาบันต่างๆ)
- สังคมพลวัต (Social dynamics) ซึ่งเป็นเรื่องเกี่ยวกับวิวฒ
ั นาการ
และการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
ความหมายของวิชาสังคมวิทยา
 Max Weber
สังคมวิทยามุ่งศึกษาเพื่อกาหนดแบบแนวความคิด
ต่างๆ และหาหลักเกณฑ์ทวั่ ไปเกี่ยวกับสิ่งที่ปรากฏที่เป็นแบบ
เดียวกันของกระบวนการที่เกิดขึ้นตามสภาพความเป็นจริง
 Emile Durkheim
สังคมวิทยาเป็นศาสตร์ที่ว่าด้วยสถาบันและองค์กร
ความหมายของวิชาสังคมวิทยา
 Kocinig : รวบรวมนิยามเกี่ยวกับวิชาสังคมวิทยา เช่น
- สังคมวิทยา คือ ศาสตร์แห่งปรากฏการณ์ทางสังคม (Social
Phenomena) : Giddings
- สังคมวิทยา คือ ศาสตร์ที่ว่าด้วยการจัดระเบียบ/องค์การทาง
สังคมและความเปลี่ยนแปลงทางสังคม : Kovalevsky
- สังคมวิทยา คือ ศาสตร์ที่ศึกษาถึงสัมพันธ์ภาพของมนษุ ย์ :
Simmel
- สังคมวิทยา คือ ศาสตร์แห่งพฤติกรรมกลมุ่ ชน (Collective
behavior) : Park
ความหมายของวิชาสังคมวิทยา
 Sorokin
สังคมวิ ทยาเป็นการศึ กษาสังคม โครงสร้างหน้าที่ แ ละ
ขบวนการต่างๆ ของสังคมด้วยวิธีวิทยาศาสตร์
 Dictionary of Modern Sociology
สังคมวิทยาเป็นวิชาการแขนงหนึ่งที่ทาการศึกษาระบบ
เดียวกัน ความสัมพันธ์ทางสังคมของมน ุษย์โดยทัว่ ไปและผลที่
เกิดขึ้นจากควมสัมพันธ์นนั้
ขอบเขตการศึกษาวิชาสังคมวิทยา
August Comte
 วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับสังคมมน ุษย์ โดยมุ่งการใช้
ระเบียบวิธีเชิงวิทยาศาสตร์ “Positive Philosophy”
 เน้นธรรมชาติของระบบทางสังคมของมน ุษย์ว่า
ต้องประกอบด้วยโครงสร้างสังคม (Social Statics)
 กระบวนการเปลี่ยนแปลงทางสังคม (Social
Dynamics)
ขอบเขตการศึกษาวิชาสังคมวิทยา

1. เป็นวิทยาศาสตร์สงั คมไม่ใช่วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ
เนื้อหาอธิบายสิ่งที่เกิดขึ้น ทาไมเป็นเช่นนัน้ ไม่ใช้ว่าควรจะ
เป็นอย่างนัน้ หรือน่าจะเป็น

2. เป็นศาสตร์ที่มีจดุ มุ่งหมายเพื่อเสาะแสวงหาความรอ้ ู นั
เกี่ยวกับสังคมมน ุษย์ไม่ใช่เพื่อนาความรม้ ู าประย ุกต์ใช้กบั
สังคมมน ุษย์โดยตรงทันที
ขอบเขตการศึกษาวิชาสังคมวิทยา

3. เป็นนามธรรมไม่ใช่ร ูปธรรม เช่น ประวัติศาสตร์ศึกษา
สงครามครัง้ ที่ 2 แต่สงั คมวิทยาสนใจสงครามและปฏิวตั ิ
ทัว่ ไป

4. เป็นวิทยาศาสตร์สงั คมทัว่ ไปไม่ใช่รายละเอียดเฉพาะ
อย่างโดยให้ความรูอ้ นั เป็นกฎหรือหลักทัว่ ๆ ไปว่าด้วยการ
ปฏิบตั ิต่อกันของมน ุษย์ เป็นต้น
: Herbert Spencer
การศึกษาเรือ่ งราวความสัมพันธ์ระหว่างส่วนต่างๆ ของ
สังคมอิทธิพลที่สถาบันต่างๆ มีต่อกันและต่อสังคม
: Emile Duakheim
การศึกษา สถาบันและกระบวนการทางสังคมในแนว
กว้างๆโดยทัว่ ๆไป
: Max Weber
การเน้นที่ความเข้าใจ พฤติกรรมทางสังคมมน ุษย์ ในแง่
ของการกระทาทางสังคม (Social action)
สร ุป
สังคมวิทยา
- เป็นวิชาที่ศึกษาถึงการรวมกลมุ่ ในร ูปแบบ
ต่างๆ ของมน ุษย์ในสังคม
- ศึกษา ความสัมพันธ์และอิทธิพลที่มีต่อกันใน
ระหว่างสถาบันต่างๆ
ความสัมพันธ์ระหว่างสังคมวิทยา
กับศาสตร์สาขาอื่น
1. สังคมวิทยา กับ ประวัติศาสตร์
2. สังคมวิทยา กับ เศรษฐศาสตร์
3. สังคมวิทยา กับ รัฐศาสตร์
4. สังคมวิทยา กับ มาน ุษยวิทยา
5. สังคมวิทยา กับ จิตวิทยา
6. สังคมวิทยา กับ บริหารธ ุรกิจ
ประวัติและแนวคิดทางสังคมวิทยา
แนวความคิดทางสังคม
ความนึกคิดท ุกด้านของมน ุษย์ที่เกี่ยวข้องกับความ
สัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ รวมทัง้ ความคิดในการที่จะต้อง
เชื่อฟังและพึ่งพาอาศัยกันและกันเพื่อ ความเป็นระเบียบ
และอยูร่ อดของมน ุษย์ในสังคม
แนวความคิดทางสังคม
August Comte
เป็นผูใ้ ช้วิธีการวิทยาศาสตร์ Positive Philosophy ใน
การศึกษา โดยที่มี
1. สังเกต ุ (Observation)
2. การทดลอง (Experiment)
3. การเปรียบเทียบ (Comparison)
4. วิธีทางประวัติศาสตร์ (Historical Method)
วิธีการศึกษาสังคมวิทยาแบ่งเป็ น 2 ส่วน
1. สังคมสถิตย์ (Social Static)
ศึ กษา กฎระเบี ยบ และบรรทัดฐานในการประพฤติ
ปฏิบตั ิของสมาชิกภายในสังคม
2. สังคมพลวัต (Social Dynamic)
ศึกษาการเคลื่อนไหวสืบต่อเนื่องกัน และศึกษาสังคม
ในส่วนของความก้าวหน้าการเปลี่ยนแปลง
วิวฒ
ั นาการสังคมจาก :
การซับซ้อนน้อยสูค
่ วามซับซ้อนมาก
คือ
ขัน้ เทววิทยา
ขัน้ ปรัชญา
ขัน้ วิทยาศาสตร์
Herbert Spencer
สังคมเป็นเหมือนอินทรียท์ ี่มีชีวิตอย่างหนึ่ง ภายใน
สังคมประกอบด้วย ส่วนต่างๆ ที่พึ่งพาอาศัยกันและกัน
การเปรียบเทียบระหว่างอินทรียก์ บั สังคม
“ระบบสังคมมีการเปลี่ยนแปลงสังคมเหมือนระบบชีววิทยา”
1. ร ูปแบบที่เรียบง่ายสูร่ ูปแบบที่ซบั ซ้อน
2. มีการพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน
3. มีศนู ย์กลางควบค ุม
4. มีการสืบต่อเนื่องกัน
5. มีโครงสร้างของหน่วยย่อย
Karl Marx
“สังคมมีความขัดแย้งและต้องมีการเปลี่ยนแปลง”เน้น
1. เศรษฐกิจเป็นพื้นฐานในการกาหนดโครงสร้างและ
พัฒนาสังคม
2. กลไกการเปลี่ยนแปลงสังคมมีชนชัน้ 2 ชัน้
2.1 นายท ุน
2.2 กรรมาชีพ
โครงสร้างทางสังคมของ Marx
ความนึ กคิ ดและความสานึ ก โครงสร้างเบื้ องต้น
ของมน ุษย์ประกอบด้วย :
ประเพณี กฎหมาย และการเมือง
Max Weber
“การค้นหาความหมายในการแสดงพฤติ กรรม
ของมนุษย์” (Social Action )
เน้น
ศึกษาความสัมพันธ์ทางสังคมโดยพิจารณาที่ ตวั
บคุ คลเรื่องการกระทา (Action) เกิดจากการอบรมทาง
สังคมในแต่ละสังคม
วิธีการศึกษาสังคมวิทยา
1. Verstehen (Understanding)
พยายามเข้าใจการกระทาของบคุ คล โดยการ
ค้น หาความหมายที่ บ คุ คลแสดงพฤติ ก รรมต่ อ
ตนเองและผูอ้ ื่น
2. การใช้แบบในอ ุดมคติ (Ideal Types)
2.1 การกระทาซึ่งขึ้นอยูก่ บั เหต ุผล
การกระท าที่ มี เ ป้ าหมาย (goal)
และวิ ธี ก ารสู่
เป้าหมาย (means)
2.2 การกระทาในแบบใช้ค่านิยม
วิธีการสูเ่ ป้าหมาย เป็นการใช้ค่านิยม
2.3 การกระทาแบบใช้อารมณ์
ไม่มีวิธีการและเป้าหมายขึ้นอยูก่ บั อารมณ์ผแ้ ู สดง
2.4 การกระทาตามแบบขนบธรรมเนียมประเพณี
Georg Simmel
ความสัมพันธ์ระหว่างบคุ คล (Individual) กับสังคม
(Society) สังคมเกิดขึ้นโดยความสัมพันธ์ระหว่าง บคุ คล
เกี่ยวกับการกระทาระหว่างสังคม (Social Interaction)
Emile Durkheim
สังคมในฐานะเป็นหน่วยรวมที่ประกอบด้วยส่วน
ต่างๆ ที่มีความสัมพันธ์กนั ของสถาบันต่างๆ
เน้น : ศึกษาความจริงทางสังคม (Social Fact) ด้วยวิธีการ
ศึกษาเปรียบเทียบ การฆ่าตัวตาย (Suicide)
ทฤษฎีทางสังคม
คาอธิ บาย :
- คน และความสัมพันธ์ระหว่างคนตามหลักเหต ุผล
- ความสัมพันธ์ระหว่างส่วนต่างๆ ของคน ระหว่ าง
คนต่ อ คน คนต่ อ กล มุ่ คน กล มุ่ คนต่ อ กล มุ่ คน คนต่ อ
สภาพแวดล้อม
อย่างมีระบบจนสามารถพยากรณ์ได้
ประเภทของทฤษฎีสงั คม
1. สังคมวิทยามหภาค (Marco Level)
- ทฤษฎีโครงสร้างหน้าที่
- ทฤษฎีความขัดแย้ง
2. สังคมวิทยาจุลภาค (Micro Level)
- ทฤษฎีการกระทาตอบโต้
ทฤษฎีโครงสร้างหน้าที่ (Structural Functionalism)
Spencer และ Durkheim :
1. สังคมมนุษย์มีลกั ษณะเป็นระบบ (System)
2. ระบบประกอบด้วยส่วนต่างๆ สัมพันธ์กนั และกัน
3. เมื่ อ ความขัด แย้ง เกิ ด ขึ้ น หน่ ว ยย่ อ ยต่ า งๆ ไม่
สามารถทาหน้าที่ได้ถกู ต้อง จะทาให้เกิดความไม่ส มด ุลของ
สังคม ทาให้หน่วยย่อยอื่นๆ ต้องเปลี่ยนแปลง (หน้าที่) เพื่อ
สร้างความสมด ุลขึ้นใหม่
ทฤษฎีความขัดแย้ง (Conflict Theory) : Karl Marx
1.ความสัม พัน ธ์ท างสัง คมเป็ นระบบที่ เ ต็ ม ไปด้ว ย
ผลประโยชน์ขดั กัน
2. ความขัดแย้งจึงเป็นลักษณะหนึ่งและหลีกเลี่ ยง
ไม่ได้ในระบบสังคม
3. ความขัดแย้งมักอยูใ่ นร ูปของปฏิปักษ์ผลประโยชน์
ระหว่างสองฝ่าย
4. ความขัดแย้งเกี่ยวกับการจัดสรรสิ่งที่มีจากัด
5. ความขัดแย้งเป็นที่มาการเปลี่ยนแปลงในระบบ
สังคม
ทฤษฎีการกระทาตอบโต้ (Interaction Theory)
เน้นการวิเคราะห์สงั คมโดยพิจารณา :
การกระท าของบ คุ คล และการกระท าตอบโต้ก ัน
ระหว่างบ ุคคล”
สมาชิ กแต่ละคนเป็นปรากฏการณ์ที่ทาให้เกิดสังคม
และทาให้สงั คมเปลี่ยนแปลง”
สังคมวิทยาอ ุตสาหกรรม
 สังคมวิทยาการทางาน (Sociology of Work)
 สังคมวิทยาองค์กร (Organization Sociology)
 การทางานและอาชีพ (Work and Occupations)
เศรษฐศาสตร์
สังคมวิทยา
&
ธ ุรกิจ
พัฒนาการสังคมวิทยาอ ุตสาหกรรม
1. ระยะแรก : ปี 1920 มหาวิทยาลัยชิคาโกศึกษาเกี่ยวกับ
อาชีพ (Occupations)
เริม่ - ผูท้ ี่มีสถานภาพต่าสังคมเกี่ยวกับลักษณะการทากิน
และความเป็นอยู่ เช่น โสเภณี ฉกชิงวิ่งราว นางระบา
สถานเริงรมณ์ ฯลฯ
ต่อมา - ผูท้ ี่มีอาชีพอื่นๆ ในสังคม เช่น คร ู พนักงานขาย
นักวิทยาศาสตร์ บริการและอื่นๆ
งานศึกษาสังคมวิทยาอ ุตสาหกรรม
“Howthorne Studies” ปี 1927 โดย Elton Mayoและคณะได้รบั
การติดต่อจาก Western Electic Company ให้ศึกษาเพื่อปรับปร ุง
สภาพการทางานของคนงาน
: เศรษฐกิจสหรัฐถดถอยอย่างมาก
: ต้องการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตของคนงาน
- นักวิทยาศาสตร์ทดลองการใช้เวลากับการทางาน
สมมติฐาน เงิน คือแรงจูงใจในการทางาน
“Elton Mayoและคณะ” พบว่า ปัจจัยที่มีผลต่อผลิตภาพ
(Productivity) คนงาน คือ สภาพแวดล้อมทางสังคม
(Social environment) ได้แก่
- การรวมกลมุ่ ของคนงาน
- การได้รบั การปฎิบตั ิจากฝ่ายจัดการ
ภายหลัง : งานการศึกษาคนงาน และสถานที่ทางานขยาย
กว้างขวางตัง้ แต่คนงานร้านเครือ่ งจักร-คนงาน
โรงงานผลิตรถยนต์
- เป้าหมาย คนงาน หัวหน้างาน จนถึงผูบ้ ริหาร
การจัดการแรงงาน มีผส้ ู นใจทาการศึกษามากยิง่ ขึ้น
- เพื่อช่วยให้คนงานปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อม
- เพื่อลดปัญหาของคนงานและเพิ่มประสิทธิภาพ
“สังคมวิทยาของการจัดการ” (Managerial Sociology)
โดยโจมตีว่าไม่เหมาะสมทางสังคมศาสตร์
- เข้าไปสนับสน ุนธ ุรกิจ
- สนใจระดับจุลภาคหรือบ ุคคลเกินไป ละเลยระดับมหภาค
Robert Guest และ Charles R. Walker “ The man on the
assembly line”
2. ระยะกลาง : ปี 1960 บางส่วนนักสังคมวิทยาเปิด
ประเด็นการศึกษาใหม่ :
- องค์กรอ ุตสาหกรรม ฐานะเป็นหน่วยทางสังคม
- หน่วยงานรัฐบาล
- หน่วยงานการศึกษา
บางส่วนสนใจคนงาน แต่ปรับเปลี่ยนในแง่ค่าจ้าง เช่น
- ความแตกต่างของค่าจ้าง - ค่าจ้างไม่เป็นธรรม
ระยะนี้ แบ่งเป็น
2.1 อาชีพและผูป้ ระกอบอาชีพ (Occupations and
Professions)
2.2 การวิเคราะห์องค์กร (Organizational Analysis)
ระยะกลาง นักสังคมวิทยาเปลี่ยนแปลงความสนใจใหม่
เพราะไม่ตอ้ งการถ ูกวิจารณ์ว่า
- เป็นสังคมวิทยาการจัดการ
- เป็นฝ่ายนายท ุนและต่อต้านคนงาน
ประกอบกับเกิดการเคลื่อนไหวทางวัฒนธรรมต่อต้าน
ธ ุรกิจและอ ุตสาหกรรม สนใจศึกษาระดับมหภาคมากขึ้น
: ปัญหาข้อขัดแย้งคนงานเป็นผลจากโครงสร้างระบบ
อ ุตสาหกรรมมากกว่าฐานะปัจเจกบ ุคคลที่ทาหน้าที่ในระบบ
อ ุตสาหกรรม
: เน้นจัดระเบียบองค์กรและโครงสร้างอ ุตสาหกรรม
3. ระยะปลาย : ปี 1970 นักสังคมวิทยาอ ุตสาหกรรมเสนอ
การวิเคราะห์ 2 แนวทาง :
- การวิเคราะห์การทางานตามแนวทาง Marxist ให้
ความสาคัญกับประเด็นสังคม
- การวิเคราะห์การทางานตามแนวทาง Economic ให้
มากกว่าความหมายทางสังคม
3.1 การวิเคราะห์การทางานตามแนวทาง Marxist โดย
ผลงานสาคัญ Harry Braverman 1974 “Labor and
Monopoly Capital : the Degradation of Work in the
Twentieth Century” มีขอ้ เสนอ :
1. ลัทธิท ุนนิยมลดทักษะการทางานลง แต่เพิ่มความ
พยายามควบค ุมมากขึ้น
2. การเปลี่ยนแปลงจัดระเบียบแรงงาน ทาให้ชนชัน้
แรงงานมีลกั ษณะเหมือนกันในสังคมอ ุตสาหกรรมท ุกแห่ง
3.2 การวิเคราะห์การทางานตามแนวทาง Economic โดย
เสนอมุมมองคนงานในฐานะ economic beings มากกว่า
Social beings
: ศึกษาประเภทงานที่ชอบ
การกาหนดค่าจ้างแรงงาน
4. สังคมวิทยาอ ุตสาหกรรมในปัจจุบน
ั : เสนอการศึกษา
การวิเคราะห์ 3 ระดับ (Scale of Study)
4.1 ระดับจุลภาค (Micro Level) :
การศึกษาตามแนวทางแรกๆ ที่นิยมศึกษาชีวิต
การทางานของคนงานตัง้ แต่ขนาดเล็ก-ใหญ่ ได้แก่
- Stewart Perry (1978) : ชีวิตการทางานคนเก็บ
ขยะนครซานฟรานซิสโก
- Michael Buroway (1978) : กลไกที่คนงานใช้ใน
การควบค ุมและกากับความพยายามทางานด้วยกันเอง
- Jack Haas (1977) : วิธีการจัดการความกลัว
ความสูงของคนงานเหล็กกล้าที่ทางานตึกสูง 21 ชัน้
- Jackie Boles : ศึกษาผูห้ ญิงอาชีพเปลื้องผ้าในนคร
แอตแลนต้า Ex วิธีการเข้าสูอ่ าชีพ การพัฒนาทักษะ
ความยากลาบากให้ผช้ ู มประทับใจ ความก้าวหน้าและ
มัน่ คงในอาชีพ
งานการศึกษาทัง้ หมดช่วยในการเข้าใจชีวิตคนงาน
กลมุ่ ต่างๆ สภาพการทางาน
4.2 ระดับกลาง (Middle Level) :
การศึกษา/วิเคราะห์บริบท (Context) ของอาชีพนัน้
เกิดขึ้นและดาเนินอยู่ เป็นการศึกษาองค์กร (Organization)
ของอาชีพนัน้ ๆ การจัดระเบียบอาชีพที่แน่นอนและชัดเจน
เช่น แพทย์สภา สมาคมทนายความ
4.3 ระดับมหภาค (Macro Level) : จาแนกเป็น 2
แนวทาง
- การศึกษา/วิเคราะห์เปรียบเทียบระหว่างสังคม เป็นที่
นิยมทัว่ ไป เพราะ
: การแข่งขันระหว่างประเทศมากขึ้นในแง่การตลาด ในการ
พัฒนาประเทศให้เป็น “ประเทศอ ุตสาหกรรมใหม่” (Newly Industrial
Countries, NICs) ; 4 เสือเอเซีย [ฮ่องกง เกาหลีใต้ ไต้หวัน และสิงคโปร์]
: ประเทศที่กาลังเร่งพัฒนาเป็น NICs มีการเปลี่ยนแปลงทาง
สังคม ? เทียบกับประเทศอ ุตสาหกรรมพัฒนาแล้วทางตะวันตก จะ
เหมือน/แตกต่างกัน ?
: ประเทศต่างๆ ทัง้ พัฒนา กาลังพัฒนา และด้อยพัฒนาที่มีการ
ติดต่อกัน ย่อมเกิดการเปลี่นยนแปลง
- การศึกษา/วิเคราะห์พฒ
ั นาการทางวัฒนธรรมของ
สังคมใดสังคมหนึ่ง มักเน้นมาน ุษยวิทยา จึงไม่ค่อย
เป็นที่นิยมมากนัก
*** ส่วนใหญ่นกั สังคมวิทยาอ ุตสาหกรรมยอมรับว่า การอธิบาย
โลกการทางาน จาเป็นต้องศึกษา 3 ระดับ เพราะ :
1. ขอบเขตการศึกษาแตกต่างกัน
2. การวิเคราะห์ควรสามารถผันแปรกันทัง้ 3 ระดับ