57.ศัพท์ทางสังคมศาสตร์หลักคิดและวิธีการศึกษา

Download Report

Transcript 57.ศัพท์ทางสังคมศาสตร์หลักคิดและวิธีการศึกษา

ศัพท์ทางสังคมศาสตร์
หลักคิดและวิธีการศึกษา
ผศ. ดร. จิตรกร โพธิ์งาม
สังคมพหุนิยม
ความคิดพหุนย
ิ ม (Pluralism)
ความคิดทีเ่ คารพความแตกต่าง
(Difference)
และความหลากหลาย (Diversity)
พหุนิยม
Pluralism
พหุนย
ิ มทางสังคม
พหุนย
ิ มทางการเมือง
พหุนย
ิ มทางวัฒนธรรม
พหุนย
ิ มทางเศรษฐกิจ
มนุษย์
สิ่งแวดล้อม
 ปัจจัยและผลกระทบ
 มรดกภูมป
ิ ัญญา
 ปัจจัยการดาเนินชีวต
ิ
 ป่า ธรรมชาติ ต้นทุนความหลากหลาย
ทางชีวภาพ


วิธีคิด (Mode of Thinking)

วิธีอธิบาย (Mode of Explanation)

วิธีการศึกษาเชิงอุปนัย (the Inductive
Method)



วิธีการศึกษาแบบนิรนัย (the Deductive
Method)
วิธีการศึกษาเชิงวิทยาศาสตร์ (Scientific
Method)
วิธีการศึกษาเชิงสังคมวิทยา (Sociological
Analysis)



วิธีการศึกษาเชิงปฏิฐานนิยม (Positivistic
Approach)
วิธีการศึกษาแบบตีความ (Interpretative
Approach)
วิธีการศึกษาภาคสนาม (Field Research)



วิธีวิจัยเชิงเอกสาร (Documentary
Research)
วิธีการศึกษาเชิงวิพากษ์ (Critical
Approach)
วิธีการศึกษาเปรียบเทียบเชิงประวัตศ
ิ าสตร์
(Historical Approach)

ความเข้าใจ
(Understanding)

ประสบการณ์ (Experience)

คุณค่าส่วนตัว (personal Value)

สามัญสานึก
(Common-Sense)


ภูมิปัญญาของกลุม
่ ชนในท้องถิ่น (Indigenous
Knowledge)
ความหลากหลายทางวัฒนธรรม (Cultural
Diversity)

กลุ่มชาติพน
ั ธุ์ (Ethnic Group)

อคติทางชาติพน
ั ธุ์ (Ethnocentrism)


พลังทางสังคม (Social Solidarity)
โครงสร้าง-หน้าที่ (StructuralFunctionalism)

ลักษณะเชิงสัมพัทธ์นย
ิ ม (Relativism)

มายาคติ (Demystifying)

มุมมองแบบผูห
้ ญิง (Feminist
Perspective)

สัญลักษณ์ทางภาษา (Symbol and
Language)

กลุ่มวัฒนธรรมย่อย (Subculture)

วิเคราะห์ระดับจุลภาค (Micro Analysis)

วิเคราะห์ระดับมหภาค (Macro Analysis)

อัตลักษณ์ (Identity)




ทฤษฎีความขัดแย้ง (Conflict Theory)
ปัจจัยการผลิต (Access to Means of
Production)
ทฤษฎีระลึกรู้ (Cognitive Theory)
ระบบกลไกการเรียนรู้ (Mechanism of
Leaning)


มรดกทางวัฒนธรรม (Cultural Heritage)
ปฏิสัมพันธ์เชิงสัญลักษณ์ (Symbolic
Interaction)

ตาแหน่งทางสังคม (Social Position)

พื้นทีท
่ างสังคม (Social Space)

พื้นทีท
่ างการเมือง (Political Space)

ชุมชน (Community)

ระบบผัวเดียวเมียเดียว (Monogamy)

ระบบหลายผัวหลายเมีย (Polygyny)

ระบบเมียเดียวหลายผัว (Polyandry)

วิญญาณนิยม (Animism)

เวทมนตร์ หรือไสยศาสตร์ (Magic)

มโนทัศน์ (Concept)

ความคิดทันสมัยนิยม (Modernism)

ความคิดหลังทันสมัย (Post Modernism)




ภูมิปัญญาท้องถิน
่ (Local Knowledge)
ความหลากหลายทางพันธุกรรม (Genetic
Diversity)
ความหลากหลายทางชีวภาพ (Bio-Diversity)
ความหลากหลายทางวัฒนธรรม (Cultural
Diversity)


เพศสภาพ หรือเพศภาวะ (Gender)
ความเสมอภาคทางเพศ (Gender
Inequality)

เครือญาติ (Kinship)

สวัสดิการสังคม (Social Welfare)




ประชาสังคม (Civic Society)
ขบวนการเคลือ
่ นไหวทางสังคมรูปแบบใหม่
(New Social Movement)
ขบวนการต่อต้าน (Protest Movement)
ความซับซ้อนในการดารงชีวต
ิ (Complexity of
Social Life)




พื้นทีท
่ างสังคมและวัฒนธรรม (Social and
Cultural Space)
ความคิดทีแ
่ ตกต่าง (Plurality of Actors)
ระบบเศรษฐกิจแบบผสมผสาน (Mixed
Economy)
วิกฤติเศรษฐกิจ (Economics Crisis)

สิทธิชุมชน (Community Right)

สิทธิมนุษยชน (Human Right)

อานาจ (Power)

อานาจเหนือเวลา (Power-Over)

อานาจทีช
่ อบธรรม (Authority)




การยอมรับ (Domination)
อานาจบังคับตามกฎหมาย (Logal
Domination)
อานาจบังคับตามบารมี (Charismatic
Domination)
วิธีวิทยา (Methodology)

หลักการและเหตุผล (Rationality)

ระบบราชการ (Bureaucracy)

สานึกร่วม (Collective Consciousness)

อานาจนิยม (Authoritarianism)

ความสัมพันธ์ทางการผลิต (Relations of
Production)

ชนชั้นทางสังคม (Social Class)

ช่วงชั้นทางสังคม (Social Stratification)

ชนชั้นผูม
้ อ
ี านาจ (Power Elite)

วาทกรรม (Discourse)

การเสริมสร้างอานาจ (Empowerment)

อานาจชุมชน หรืออานาจท้องถิน
่ (Local
Power)

กฎของธรรมชาติ (Law of Nature)

สารัตถะนิยม (Essentialism)

ระเบียบการท้องถิน
่ (Local Order)




สิทธิตามธรรมชาติ (Social Right)
ระบอบเสรีประชาธิปไตย (Liberal
Democracy)
สิทธิพลเมือง (Civil Right of
Resistance)
สิทธิทางศีลธรรม (Moral Right)

ทรัพย์สินสาธารณะ (Common Property)

ทรัพย์สินส่วนบุคคล (Private Property)


สิทธิในความเป็นเจ้าของ (Right of
Ownership)
พหุสังคม (Plural Society)

ความเป็นอื่นของคนอืน
่ (the Otherness)

ชนเผ่า (Tribe)

ความเป็นชาติพน
ั ธุ์ (Ethnicity)

รากเหง้าดัง้ เดิม (Primordialist View)

ตัวตนทางชาติพน
ั ธุ์ (Ethnic Identity)




กระบวนการทาให้เป็นสินค้า
(Commondification)
กระบวนการทาชาติพน
ั ธุ์ให้เป็นสินค้า
(Commondification of Ethnicity)
กระบวนการทาวัฒนธรรมให้เป็นสินค้า
(Commondification of Culture)
ภาพตัวแทน (Representation)


บริโภคนิยม (Consumerism)
กระบวนการจัดระบบความคิด
(Conceptualization)

กระบวนการปรับตัว (Adaptation)

การคิดอย่างองค์รวม (Holistic Approach)



การคิดและมองอย่างเคลือ
่ นไหว (Dynamic
Approach)
การศึกษาเชิงเปรียบเทียบ (Comparative
Approach)
การศึกษาเชิงบริบท (Contextual
Approach)



การศึกษาจากมุมมองของคนใน (Emic
Approach)
การวิจัยเชิงปฏิบัตก
ิ ารแบบมีสว
่ นร่วม
(Participatory Action Research)
การสังเกตแบบมีสว
่ นร่วม (Participant
Observation)



การพัฒนาแบบยัง่ ยืน (Sustainable
Development)
การพัฒนาทางเลือก (Alternative
Development)
การผลิตซ้า (Reproduction)

การกดขีท
่ างเพศ (Gender Oppression)

การเมืองเชิงสัญลักษณ์ (Symbolic Politics)

สังคมสถิต (Social Static)

สังคมพลวัต (Social Dynamics)

สังคมแบบจารีตประเพณี (Tradition
Society)

สังคมสมัยใหม่ (Modern Society)

สังคมด้อยพัฒนา (Underdevelopment)

แนวคิดแบบสตรีนิยม (Feminism)

แนวคิดหลังสมัยใหม่ (Postmodernism)

แนวคิดสิ่งแวดล้อมนิยม (Environmentalism)

ระบบเศรษฐกิจทุนนิยม (Capitalism)

ระบบคุณค่าร่วม (Shared Belief and Value)
ั
หล ักคิดทางสงคมศาสตร์
ดร. จิตรกร โพธิง์ าม
ั
สงคมศาสตร์
คืออะไร





ั
สงคมศาสตร์
เป็นเครือ
่ งมือของความคิด/ เป็นวิธ ี
ั
คิดของสงคม
ั
สงคมศาสตร์
ทผ
ี่ า
่ นมา เน้นการสร้างเหตุผล
่ งิ่ ทีเ่ ป็นสากล
เหตุผล ไม่ใชส
ื่ ว่า เหตุผลเป็นสากล
ชาวตะว ันตก เชอ
ึ ษา Area Study ไม่มค
การศก
ี วามเป็นสากล แต่
ึ ษาเชงิ
มีความเป็นเฉพาะ และเป็นการศก
เปรียบเทียบ





ว ัฒนธรรม มีล ักษณะของพ ัฒนาการ (หล่อหลอม,
สะสม, ฝังลึก)
ั
้ ที/
สงคม
ว ัฒนธรรม ประว ัติศาสตร์ จะฝังลึกในพืน
่
ไม่มค
ี วามเป็นสากล
ึ ษาทีผ
การศก
่ า
่ นมา สนใจความเป็นสากล ละเลย/
หลงลืมความเป็นเฉพาะ
เหตุผล คือ การกระทาอย่างมีเป้าหมาย/ จะมา
ก ับทุนนิยม (แม้ปร ับเป็นทุนนิยมแล้ว ก็ไม่ทงิ้ ความ
เป็นมนุษย์)
พวกเหตุผลนิยม ม ักยึดติดแบบตายต ัว
ั
ึ ษาทางสงคมศาสตร์
วิธก
ี ารศก
ผศ. ดร. จิตรกร โพธิง์ าม
ึ ษา
แนวคิดทางการศก






ึ ษาและคิดอย่างเป็นองค์รวม (Holistic
ศก
Approach)
ึ ษาในเชงิ บริบท (Contextual)
ศก
ึ ษาในเชงิ เปรียบเทียบ (Comparative)
ศก
ึ ษาภายในของผูถ
ึ ษา (Emic Approach)
ศก
้ ก
ู ศก
คิดและมองอย่างเคลือ
่ นไหว (Dynamic Approach)
้ งหล ังปรากฏการณ์
คิดในเชงิ นามธรรมทีอ
่ ยูเ่ บือ
(Abstraction)
Reflexive Process
กระบวนใคร่ครวญตรึกตรอง
กระบวนการศึกษา
ทางสังคมวิทยา-มานุษยวิทยา
กระบวนการวิจัย
ภาคสนาม
(Fieldwork)
กระบวนการจัดระเบียบ
ความคิด
(Thinking Process)
สังคม
ยุทธศาสตร์
เทคโนโลยี
เศรษฐกิจ
ความหลากหลาย
ทางชีวภาพ
วิสัยทัศน์
พันธกิจ
ปัจจัยการดารงชีพ
จินตนาการ
การจัดระเบียบทางสังคม
วัฒนธรรม
ภูมินเิ วศ
การเมือง
เศรษฐกิจ
โครงสร้างสังคม
ศาสนา ความเชื่อ
ประเพณี พิธีกรรม
การขัดเกลาทางสังคม
ครอบครัว เครือญาติ
เทคโนโลยี
ความสัมพันธ์
(Social Relation)
การจัดระเบียบ
(Social Order)
โครงสร้างสังคม
การขัดเกลาทางสังคม
(Socialization)
แนวคิดในการแยกแยะ/บ่งชี้
(Difference)
การจัดองค์กร
(Social Organization)
ความเคลือ
่ นไหว
แบบแผนพฤติกรรม
ความขัดแย้ง
แบบแผนความคิด
ความสมานฉันท์
ระบบสังคม
(Social System)
โครงสร้างอานาจ
พลังกลไก
การรวมกลุ่ม
การแบ่งแยกกลุ่ม
กระบวนการเปลี่ยนแปลง
การวิเคราะห์ Identity



Identity คือ
1. เอกล ักษณ์ : ความเป็นหนึง่ เดียว
(มองจากภายนอก-Etic View)
2. อ ัตล ักษณ์ : ความเป็นต ัวตน
(มองจากภายใน- Emmic View)

ความคิดสม ัยใหม่ คิดว่า ทุกอย่างเป็นสากล

มองความ “เป็นอืน
่ ” (Otherness)ของผูอ
้ น
ื่
Area Study
เชงิ ปริมาณ หรือปฏิฐานนิยม (Positivism)
Area Study
เชงิ คุณภาพ หรือประสบการณ์นย
ิ ม
(Phenomenology)


Positivism : ภาพที่ปรากฏ
Phenomenology : สนใจความคิดที่อยู่เบือ
้ งหลัง
ภาพที่ปรากฏ
การศึกษาแบบเดิม ; ภาพที่ปรากฎคือตัวผูว
้ จ
ิ ัย/ เป็นการ
ค้นพบตัวเองของผูว
้ จ
ิ ัย/ เป็นประโยชน์ในการสร้างการ
ครอบงาได้มากขึน
้

ตัวอย่าง
มานุษยวิทยาในอดีต เป็นการศึกษาเพื่อเข้าครอบงา
อาณานิคม
เน้นการศึกษาทฤษฎีโครงสร้างหน้าที่นิยม
สังคมศาสตร์แบบเดิม มุ่งรับใช้ผม
ู้ อ
ี านาจมากกว่ารับใช้
คนในสังคม
ส่วนใหญ่


เราต้องการก้าวข้ามพ้นชาติ คือ พ้นจากกรอบ/ กรงขัง
ทางความคิด/ พ้นจากกรอบความคิดแบบเดิม ๆ คือ
ต้องไม่เป็นทาสของ Concept
เราสร้างเครือ
่ งมือ แต่ต้องอยู่เหนือเครือ
่ งมือ/ ไม่ตกเป็น
ทาสหรือติดกับดักของเครือ
่ งมือนัน
้


Area Study : เป็นการศึกษาแบบเดียวที่ให้
ความสาคัญกับบริบท (เงื่อนไขของสภาพแวดล้อม)
เช่น ผู้คนไม่ได้คด
ิ เหมือนกันทั่วไป แต่มีการ “ตีความ”
อยู่ตลอดเวลา
การตีความประวัติศาสตร์ ต้องเรียนรูว
้ า่ ในเอกสารเต็ม
ไปด้วยสัญลักษณ์/ ต้องอ่านให้ครอบคลุมว่าเขียนใน
บริบทใด/ ต้องโยงกับเอกสารอืน
่ เช่น ตานานที่พระ
เขียน ไม่ได้เขียนให้คนอ่านอย่างเดียว แต่เขียนเป็น
พุทธบูชา





ข้อความในตานานเอกสาร ไม่ได้มีความหมายเดียว แต่
มีการตีความ
คติในท้องถิน
่ หนึง่ ไม่ได้มีความหมายตายตัว แต่ต้อง
ตีความจากเงื่อนไข (ผู้เขียน/ เอกสาร)
ความคิดมีชว
ี ต
ิ ไม่ใช่สิ่งตายตัว หรือตายเร็ว
ความคิดจะเป็นความรู้ ต้องไม่ตายตัว
ความรูท
้ ี่ตายตัว จะเปลีย
่ นจาก “ปัญญา” เป็น “มายาคติ”


Dialog : การพูดคุย/ การวิพากษ์วธ
ิ ี
Dichotomy : คู่ตรงข้าม
Dichotomy
คนใน (Agency)practice
คนนอก (Structure)
เป็นปัญหาหลักของตะวันตก
Practice

Practice คือปฏิบต
ั ก
ิ าร ซึ่งหมายถึง ความสัมพันธ์ที่
เป็นจริงทางสังคม ไม่ต้องสนใจว่า เรา/ เขาคิดอย่างไร
เช่น คิดอย่างไทย ; แต่คิดไม่เหมือนกัน

ความคิดเชิงเดี่ยว : (การยึดติกรอบอย่างตายตัว)
วิธีคด
ิ เชิงเดี่ยว
เวลา : เป็นเส้นตรง
หน่วย : ยึดพื้นที่
แนวคิด : เชิงอุดมคติ


ความคิดเชิงซ้อน : (การหลุดพ้นจากกรอบทีต
่ ายตัว)
เวลา : การเคลือ
่ นไหวของเวลา
วิธีคิดเชิงซ้อน
หน่วย : ความสัมพันธ์เชิงอานาจ
แนวคิด :
การขัดแย้ง
การต่อสู้
การปรับตัว
การผสมผสาน
การเรียนรู้

กระบวนการ : การสร้างความหมาย (พื้นที่ : Space)
การสร้าง “พื้นที่” ในการแสดงตัวตน
ความเป็น “คน” เช่น ชาติพันธุ์
ความคิดเชิงซ้อน คือ การเคลือ
่ นไหวในการต่อสูช
้ ว
่ งชิง
ความหมาย





ความคิดเชิงซ้อน คือการเคลือ
่ นไหวทางความคิด
ความคิดเชิงเดีย
่ ว เป็นความคิดเชิงระบบ
ความคิดเชิงซ้อน เป็นความคิดทีไ
่ ร้ระบบ
ความคิดเชิงโครงสร้าง จะแยกออกจากกันทุกระบบ(เพราะแต่ละ
ระบบมีโครงสร้างของตนเอง)
การทะลุกรอบ คือต้องคิดอย่างมีประวัตศ
ิ าสตร์ และคิดอย่างมี
เงื่อนไข/ อย่างมีบริบท




ปรัชญาตะวันตก (Metaphysic) เน้นการครอบงา
เป็นความรูเ้ ห็นจริงแล้ว ไม่ต้องพิสจ
ู น์
ต่อมาเริ่มมีการพิสจ
ู น์ ตัวอย่างเช่น
เดิมตะวันตกเชือ
่ ว่า “ความขาดแคลน คือธรรมชาติ”
แนวคิดหักล้าง คือ “ความขาดแคลนเกิดจากการกักตุน”
F. Nitzshe เขียนหนังสือชื่อ “God is dead”
กล่าวว่า “เลิกเชือ
่ เถอะว่า สิ่งเหล่านีเ้ ป็นจริงตลอดกาล”





ทุกสิ่งทุกอย่าง ถูกสร้างขึ้นจากความสัมพันธ์เชิงอานาจ
เมื่อใดทีเ่ ราใช้คาว่า “คติ” ซึ่งหมายถึง จารีต ฮีตคอง
นั่นก็คอ
ื ความพยายามจัดความสัมพันธ์เชิงอานาจ, การควบคุม,
มีนัยสาคัญบางอย่าง
คติ เป็น “วาทกรรม” (Discourse) คือการนิยามความหมายเชิง
อานาจเพือ
่ สร้างให้เป็นความจริง หรือนัยยะให้ความหมายทีเ่ ป็น
จริง
ชาวบ้านที่ขด
ั แย้งกับรัฐ จะตอบโต้ดว
้ ยนิยามอีกอย่างหนึง่
กรอบคิด

กรอบคิด
เชื่อมโยง


คือ เครื่องมือช่วยคิด
คือ การตัง้ คาถามต่อข้อมูลให้ออกมาเป็นความ
เช่น คองโดมินส
ั ศึกษากะเหรีย
่ ง พบว่า
กะเหรีย
่ งรวย จะกลายเป็นไทย (หนีจากความเป็นกะเหรีย
่ ง
ดั้งเดิมทีต
่ าต้
่ อย)
แต่ผลงานของนักศึกษาปริญญาโท กลับพบว่า
กะเหรีย
่ งจน อยากกลายเป็นไทย (เพราะรายจ่ายในเครือ
่ งแต่ง
กายแบบกะเหรีย
่ งสูงมาก)