ความหมายของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์

Download Report

Transcript ความหมายของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์

บทที่ 4
พาณิ ชย ์อิเล็กทรอนิ กส ์
้
เนื อหาประจ
าบท
 ความหมายของพาณิ ชย ์อิเล็กทรอนิ กส ์
 ประโยชน์ของพาณิ ชย ์อิเล็กทรอนิ กส ์
 ข ้อจากัดของพาณิ ชย ์อิเล็กทรอนิ กส ์
 รูปแบบของพาณิ ชย ์อิเล็กทรอนิ กส ์
 ประเภทของพาณิ ชย ์อิเล็กทรอนิ กส ์
้
 ขันตอนพั
ฒนาระบบพาณิ ชย ์อิเล็กทรอนิ กส ์
 ระบบการชาระเงินในพาณิ ชย ์อิเล็กทรอนิ กส ์
 การร ักษาความปลอดภัยให ้กับระบบการชาระเงิน
 ภัยคุกคามในพาณิ ชย ์อิเล็กทรอนิ กส ์
ความหมายของพาณิ ชย ์
อิเล็กทรอนิ กส ์
พาณิ ชย ์อิเล็กทรอนิ กส ์ (Electronic Commerce) หรือ
่
การค ้าอิเล็กทรอนิ กส ์นั้น มีผูใ้ ห ้คาจากัดความทีแตกต่
างกัน
ออกไป เช่น
 กรมส่งเสริมการส่งออก กระทรวงพาณิ ชย ์ ได ้ให ้ความหมายไวว้ า่
“พาณิ ชย ์อิเล็กทรอนิ กส ์ หมายถึง การดาเนิ นธุรกิจทุกรูปแบบที่
่
้
เกียวข
้องกับการซือขายสิ
นค ้าและบริการผ่านคอมพิวเตอร ์ และ
่
่ เล็กทรอนิ กส ์”
ระบบสือสารโทรคมนาคมหรื
อสืออิ
 สานักพาณิ ชย ์อิเล็กทรอนิ กส ์ กรมพัฒนาธุรกิจการค ้า กระทรวง
พาณิ ชย ์ ได ้ให ้ความหมายไว ้ว่า “พาณิ ชย ์อิเล็กทรอนิ กส ์ คือ
้
การทาการค ้าขายและธุรกรรมซือขายผ่
านทางระบบออนไลน์หรือ
ทางอินเทอร ์เน็ ต”
 สานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิ กส ์ (องค ์การมหาชน)
ความหมายของพาณิ ชย ์
อิเล็กทรอนิ กส ์ (ต่อ)
่
 โอภาส เอียมสิ
รวิ งศ ์ ได ้ให ้คาจากัดความไว ้ว่า “พาณิ ชย ์
อิเล็กทรอนิ กส ์ คือ การดาเนิ นธุรกรรมทางการค ้าผ่านสือ่
่ ยวข
่
้ นค ้า ขายสินค ้า
อิเล็กทรอนิ กส ์ ทีเกี
้องกับกระบวนการซือสิ
่
จัดส่งสินค ้า การแลกเปลียนสิ
นค ้า/บริการ หรือสารสนเทศผ่าน
อินเทอร ์เน็ ต”
กล่าวโดยสรุป “พาณิ ชย ์อิเล็กทรอนิ กส ์ หมายถึง การ
้
้
ดาเนิ นธุรกรรมทางการค ้า การบริการ ทังในการซื
อขายสิ
นค ้า
่
บริการ การชาระเงิน การโฆษณา การแลกเปลียนสารสนเทศ
่ เล็กทรอนิ กส ์ เช่น โทรศัพท ์ โทรสาร อินเทอร ์เน็ ต”
ผ่านสืออิ
ความหมายของพาณิ ชย ์
อิเล็กทรอนิ กส ์ (ต่อ)
นอกจากจะมีรป
ู แบบการทาธุรกิจผ่านอินเทอร ์เน็ ตแล ว้ ยังมี
่ าลังไดร้ บั ความนิ ยมเพิ่ม
รูปแบบการทาธุรกิจอีกประเภทหนึ่ งทีก
้ คือ การทาธุรกรรมผ่ านโทรศัพท ์เคลือนที
่
่ ทีเรี
่ ยกว่า
มากขึน
Mobile Commerce หรือ M-Commerce เช่น การดาวน์
้ น ค า้ และบริก าร การท าธุ ร กรรมทาง
โหลดเกม การสั่งซือสิ
ธนาคาร เป็ นต ้น
นอกจากค าว่า พาณิ ชย อ์ ิเ ล็ ก ทรอนิ ก ส ์และการท าธุร กรรม
่
่ ้ว อาจจะมีคาศัพท ์อืน
่ ๆ ทีเกี
่ ยวข
่
ผ่านโทรศัพท ์เคลือนที
แล
อ้ งอีก
่
ได ้แก่ ธุรกรรมอิเล็กทรอนิ กส ์ (E-Business) ซึงตามพ.ร.บ.
ว่า
ด ว้ ยธุ ร กรรมทางอิ เ ล็ ก ทรอนิ กส ์ พ .ศ. 2544 ได น
้ ิ ยามไว ว้ ่ า
่
้
“ธุรกรรมอิเล็กทรอนิ กส ์ หมายความว่า ธุรกรรมทีกระท
าขึนโดย
้
ใช ้วิธก
ี ารทางอิเล็กทรอนิ กส ์ทังหมด
หรือแต่บางส่วน”
ความหมายของพาณิ ชย ์
อิเล็กทรอนิ กส ์ (ต่อ)
่ า้ งกว่า คือ เป็ น
ธุรกรรมอิเล็กทรอนิ กส ์จะมีความหมายทีกว
้
่ เล็ กทรอนิ กส ์ทังในส่
้
การดาเนิ นธุรกรรมทุกขันตอนผ่
านสืออิ
วน
หน้าร ้าน (Front Office) และหลังร ้าน (Back Office) ในขณะ
่
่
้
ทีพาณิ
ชย ์อิเล็ กทรอนิ กส ์จะเน้น ทีการซื
อขายสิ
นค า้ หรือบริการ
่ ง คือ พาณิ ช ย ์
ผ่ า นสื่ออิเ ล็ ก ทรอนิ ก ส ์เท่ า นั้ น กล่ า วอีก นั ย หนึ
e-Business
ื่
การดาเนินธุรกรรมใด ๆ ผ่านสอ
อิเล็กทรอนิ กส ์เป็ นส่วนหนึ่ งของธุรกรรมอิ
เ
ล็
ก
ทรอนิ
ก
ส
์นั่นเอง
์
อิเล็กทรอนิกสทัง้ หลาย ทัง้ ภายในองค์
กร
e-Commerce
ื่
การดาเนินธุรกรรมทางการค ้าผ่านสอ
์ เี่ กีย
อิเล็กทรอนิกสท
่ วข ้องกับกระบวนการ
้
ื
ิ
ิ
ิ ค ้า การ
ซอสนค ้า ขายสนค ้า จัดสง่ สน
ิ ค ้า/บริการ หรือ
แลกเปลีย
่ นสน
สารสนเทศผ่านอินเทอร์เน็ ต
หรือระหว่างองค์กร รวมถึงการบริการลูกค ้า
การทางานร่วมกันระหว่าง คูค
่ ้าทางธุรกิจ
ื่ สารกันผ่านเครือข่าย
ทีส
่ ามารถสอ
์ ราเน็ ต
อินเทอร์เน็ ต อินทราเน็ ต และเอ็กซท
เม
นู
ประโยชน์ของพาณิ ชย ์
อิเล็กทรอนิ กส ์
่ : ออนไลน์ : http://nanavagi.blogspot.com/2010/01/e-commerce.html
ทีมา
เม
นู
ข้อจากัดของพาณิ ชย ์
อิเล็กทรอนิ กส ์
 ข้อจากัดด้านเทคโนโลยี
้
่
 ขาดมาตรฐานที่ได ร้ บ
ั การยอมร บ
ั ในระดับ สากล ทังในเรื
องของ
่ อ
คุณภาพ ความปลอดภัยและความน่ าเชือถื
 ความกว า้ งของช่อ งสัญ ญาณหรือ แบนด ว์ ิด ธ ข
์ องระบบสื่อสาร
โทรคมนาคมมีไม่เพียงพอต่อความต ้องการ
 เทคโนโลยี ซ อฟต แ์ วร ท์ ี่ น ามาใช เ้ ป็ นเครื่องมื อในการพั ฒ นา
่
เปลียนแปลงเร็
ว
 ความซ ับซ ้อนและความยากต่อการนาระบบต่าง ๆ มาบูรณาการเข ้า
่ ้งานอยู่ โปรแกรม
ดว้ ยกัน เช่น ระบบฐานขอ้ มูล ซอฟต ์แวร ์ทีใช
ประยุกต ์ด ้านพาณิ ชย ์อิเล็กทรอนิ กส ์และอินเทอร ์เน็ ต เป็ นต ้น
้ นเซิร ์ฟเวอร ์เพิ่มเติม
 จาเป็ นตอ้ งใช ้คอมพิวเตอร ์เฉพาะมาติดตังเป็
่ อมต่
่
เพือเชื
อเข ้าระบบเครือข่าย
ข้อจากัดของพาณิ ชย ์
อิเล็กทรอนิ กส ์ (ต่อ)
่ เกียวข้
่
 ข้อจากัดทีไม่
องกับเทคโนโลยี
 ปั ญหาเรื่องข อ
้ กฎหมายที่ น ามาบั ง คั บใช ้ โ ดยเฉพ าะเรื่อ ง
รายละเอียดการจัดเก็บภาษีทยั
ี่ งคงคลุมเครือ ไม่ชดั เจน
 ขาดข อ้ บัง คับ ทางกฎหมายทั้งภายในและระหว่ า งประเทศ และ
มาตรฐานอุตสาหกรรม
้ จ า น ว นไ ม่ น้ อ ย ที่ ย อ ม ร อใ ห ้ร ะ บ บ พ า ณิ ช ย ์
 ผู ้ข า ย แ ล ะ ผู ้ ซ ื อ
่ การใช ้งานจริง
อิเล็กทรอนิ กส ์มีความเสถียรมากกว่านี ้ ก่อนทีจะมี
 พ ฤ ติ ก ร ร มแ ล ะคว า มรู ส้ ึ ก ข อ ง ผู ้บ ริโ ภ ค ที่ ยั ง คง ต่ อ ต า้ น ก า ร
่
่ อยู่จริง มาเป็ นร ้านคา้ แบบเสมือน อีก
เปลียนแปลงจากร
้านค ้าทีมี
้ ค
่ ่นต่อ การซือขายสิ
้
ทังผู
้ นส่วนใหญ่ย งั ขาดความเชือมั
น ค า้ ที่มิไ ด ้
สัม ผัส กับ ตัว สิน ค า้ จริง ๆ รวมถึง การที่ผู ซ
้ อมิ
ื ้ ไดพ
้ บปะกับ ผู ข
้ าย
เม
โดยตรง
นู
รู ปแบบของพาณิ ชย ์อิเล็กทรอนิ กส ์
สามารถจาแนกได ้ 3 รูปแบบ
 บริกแอนด ์มอร ์ตาร ์ (Brick and Mortar) เป็ นรูปแบบการ
้ ม มีเพียงโครงสร ้างทีเป็
่ นกายภาพ คือ เมือ
่
ดาเนิ นธุรกิจแบบดังเดิ
้ นคา้ จะตอ้ งเดินทางมาทีร่ ้าน จากนั้ นก็เลือก
ลูกคา้ ตอ้ งการซือสิ
้ นค ้าและคาระเงินทีนั
่ ้น อาจกล่าวได ้ว่าเป็ นการดาเนิ นธุรกิจ
ซือสิ
้
แบบออฟไลน์ทมิ
ี่ ได ้ซือขายสิ
นค ้าผ่านอินเทอร ์เน็ ต
รู ปแบบของพาณิ ชย ์อิเล็กทรอนิ กส ์
(ต่อ)
 คลิกแอนด ์มอร ์ตาร ์ (Click and Mortar) เป็ นรูปแบบการ
้ั
ด าเนิ น ธุ ร กิจ แบบผสมผสาน มี ท งโครงสร
้างเชิง กายภาพและ
ดิจต
ิ อลรวมเขา้ ดว้ ยกัน ตัวอย่าง ร ้านหนั งสือนายอินทร ์มีหน้า
ร ้านเปิ ดดาเนิ นการจริง
ในขณะเดียวกันก็ เปิ ดเว็ บไซต ์
่ ก
www.naiin.com ในส่วนของพาณิ ชย ์อิเล็กทรอนิ กส ์เพิมอี
หนึ่ งช่องทางสาหร ับการบริการออนไลน์เข ้าไปด ้วย
รู ปแบบของพาณิ ชย ์อิเล็กทรอนิ กส ์
(ต่อ)
 คลิกแอนด ์คลิก (Click and Click) เป็ นการดาเนิ นธุรกิจ
้ ่จริง เมือลู
่ กคา้
แบบดิจต
ิ อลเพียงอย่างเดียวโดยไม่มีร ้านคา้ ตังอยู
ต อ้ งการซ ้อสิน ค า้ ต อ้ งด าเนิ น การผ่ า นระบบออนไลน์ จากนั้ น
ผูข
้ ายก็จะจัดส่งสินค ้าถึงผูร้ ับ
เม
นู
ประเภทของพาณิ ชย ์
อิเล็กทรอนิ กส ์
แบ่งตามลักษณะความสัมพันธ ์กับคูค
่ ้า สามารถแบ่งได ้ 6
ประเภท
 ภาคธุรกิจกับภาคธุรกิจ (Business to Business : B2B)
 ภาคธุรกิจกับผู ้บริโภค (Business to Consumer : B2C)
 ภาคธุรกิจกับรัฐบาล (Business to Government : B2G)
 ผูบ้ ริโภคกับผูบ้ ริโภค (Consumer to Consumer : C2C)
 รัฐบาลกับประชาชน (Government to Citizens : G2C)
 รัฐบาลกับรัฐบาล (Government to Government : G2G)
ภาคธุรกิจกับภาคธุรกิจ
(Business to Business : B2B)
ภาคธุรกิจกับผูบ้ ริโภค
(Business to Consumer : B2C)
ภาคธุรกิจกับร ัฐบาล
(Business to Government : B2G)
ผูบ้ ริโภคกับผูบ้ ริโภค
(Consumer to Consumer : C2C)
ร ัฐบาลกับประชาชน
(Government to Citizens : G2C)
ร ัฐบาลกับร ัฐบาล
(Government to Government :
G2G)
ประเภทของพาณิ ชย ์
อิเล็กทรอนิ กส ์ (ต่อ)
แบ่งตามรูปแบบการค ้า สามารถแบ่งได ้ 5 ประเภท
 รายการสินค ้าออนไลน์ (Online Catalogue)
 ร ้านค ้าปลีกออนไลน์ (E-Retailing)
 การประมูลสินค ้า (Auction)
้
 ประกาศซือขายสิ
นค ้า (Web Board/e-Classified)
 ตลาดกลางอิเล็กทรอนิ กส ์ (e-Marketplace)
รายการสินค้าออนไลน์ (Online
Catalogue)
ร ้านค้าปลีกออนไลน์ (ERetailing)
การประมู ลสินค้า (Auction)
้
ประกาศซือขายสิ
นค้า (Web
Board/e-Classified)
ตลาดกลางอิเล็กทรอนิ กส ์ (eMarketplace)
เม
นู
้
ขันตอนพั
ฒนาระบบพาณิ ชย ์
อิเล็กทรอนิ กส ์
้
การพัฒนาระบบพาณิ ชย ์อิเล็กทรอนิ กส ์ มี 5 ขันตอน
ดังต่อไปนี ้
 สารวจโอกาสทางการตลาดด ้วยระบบค ้นหาข ้อมูล (Search
Engines)
 วางแผนการตลาดและพัฒนาเว็บไซต ์ (Planning and
Development)
 นาเว็บไซต ์เข ้าสูร่ ะบบอินเทอร ์เน็ ต (Install)
 โฆษณาและประชาสัมพันธ ์เว็บไซต ์ (Promotion)
 บริการหลังการขาย การปรับปรุงและบารุงรักษาเว็บไซต ์
(Evaluation and Maintenance)
เม
นู
ระบบการชาระเงินในพาณิ ชย ์
อิเล็กทรอนิ กส ์
มีวธิ ก
ี ารชาระเงินอยู่ 2 รูปแบบ คือ
่ ซ
 การชาระเงินแบบออนไลน์ เป็ นระบบทีผู
้ อสามารถช
ื้
าระค่า
สินค ้าหรือบริการผ่านทางเครือข่ายอินเทอร ์เน็ ตได ้ทันที เช่น
การใช ้บัตรเดบิต การใช ้บัตรเครดิตหรือชาระผ่านธนาคารมือถือ
(M-Banking)
่ ซ
 การชาระเงินแบบออฟไลน์ เป็ นระบบทีผู
้ อจะช
ื้
าระค่าสินค ้าหรือ
บริการให ้กับผู ้ขายโดยวิธป
ี กติ เช่น การโอนเงินผ่านธนาคาร
ตัวอย่างระบบการชาระเงิน
 ระบบการชาระเงินแบบโอนผ่านบัญชีธนาคาร
 การโอนผ่านธนาคารแบบปกติและ ATM
 ธนาคารอิเล็กทรอนิ กส ์ (Internet Banking หรือ I-Banking)
 ระบบการชาระเงินแบบโอนผ่านบัตรเครดิต
 ระบบชาระเงินผ่านเว็บไซต ์ตัวกลาง
 เพย ์พาล (Paypal)
 เพย ์สบาย (PaySbuy)
่
่ (Mobile Payment)
 การชาระเงินผ่านโทรศัพท ์เคลือนที
เม
นู
การร ักษาความปลอดภัยให้ก ับ
ระบบการชาระเงิน
่
โดยทัวไปการร
ักษาความปลอดภัยให ้กับระบบชาระเงิน ได ้แก่
 Secure Sockets Layer (SSL)
 ระบบความปลอดภัยบนอินเทอร ์เน็ ต (Secure Electronic
Transaction : SET)
 ระบบ MasterCard Secure Code
เม
นู
ภัยคุกคามในพาณิ ชย ์
อิเล็กทรอนิ กส ์
 การละเมิดทร ัพย ์สินทางปัญญา
 การโกง
 การโกงของมือสองออนไลน์
 สแปม (Spam)
 การละเมิดข ้อมูลส่วนตัวของผูบ้ ริโภค
เม
นู