บรรยาย

Download Report

Transcript บรรยาย

บทที่ 3
กลยุทธการตลาดออนไลน์
e-Marketing Strategy
การวางแผนกลยุทธ์ ออนไลน์
การวางแผนกลยุทธ์ (e-Marketing Strategic Planning) เป็ นสิ่งที่ใช้ กัน
อย่างแพร่หลาย หรื อจะเรี ยกว่าเป็ นแผนยุทธศาสตร์ ก็ได้ โดยแผนกลยุทธ์นนั ้
เป็ นการวางแผนที่มีการกาหนดวิสยั ทัศน์ เป้าหมายระยะยาวที่แน่ ชดั มีการ
วิเคราะห์อนาคตและคิดเชิงการแข่งขันที่มีความสามารถในการปรับตัวสูงทัน
ต่อสภาพแวดล้ อม และเทคโนโลยีที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ ว ทาให้
การด าเนิ น งานมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพสู ง น าไปสู่ เ ป้ าหมายที่ ว างไว้ เพื่ อ
ความก้ าวหน้ าและความอยูร่ อด และมุง่ ไปสูค่ วามเป็ นผู้นา
กลยุทธ์ ทางการตลาด e-Marketing เป็ นส่วนผสมระหว่าง การวางแผน
กลยุทธ์ทางการตลาดและเทคโนโลยีสารสนเทศ
Marketing Strategy+Information Technology
สรุป
การวางแผนกลยุทธ์ ทางการตลาด e-Marketing เป็ นการออกแบบกลยุทธ์
ทางการตลาดโดยนาเอาสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ หรื อสื่อดิจิตอล มาใช้ เป็ น
เครื่ องมือสนับสนุนในการวางแผนพัฒนาการตลาด หรื อวางกลยุทธ์เพื่อนาไปสู่
วัต ถุป ระสงค์ ที่ ตัง้ ไว้ ซึ่ง จะช่ ว ยเพิ่ ม ความสามารถในการคาดคะเนสภาพ
อนาคต สามารถนาไปใช้ กาหนดหนทางหรื อกลยุทธ์การทางานในอนาคต เพื่ อ
เผชิญกับการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ ้น โดยเน้ นความสามารถในการปรับตัวของ
ธุรกิจเพื่อนาธุรกิจไปสูจ่ ดุ หมายที่ต้องการ
•
คุณสมบัตข
ิ องนักการตลาด
เล็กกการตลาดอิ
ทรอนิกเสล็์ ที
ด
่ ี กส์ทีด่ ที ี่
คุณสมบัตข
ิ อิ
องนั
กทรอนิ
จะประสบผลสาเร็จจากการทา e-Marketing
ตองมี
คุณสมบัตด
ิ งั ตอไปนี
้
้
่
1.เป็ นผูที
่ ค
ี วามคิดสรางสรรค
้ ม
้
์ (Creative
Thinking)
2.เป็ นผูรู
้ จั
้ กพฤติกรรมของลูกคา้ (Customer
Behavior)
3.เป็ นผูไวต
อการเปลี
ย
่ นแปลง
้
่
4.เป็ นนักประสานงานทีด
่ ี
5.มีความเป็ นมืออาชีพ
6.เป็ นผูมี
้ ความกระตือรือรน
้
ตัวอย่ างธุรกิจทีใ่ ช้ กลยุทธ์ ทาง e-Marketing
การคิดเชิงกลยุทธ์
การแลกเปลีย
่ นสิ นค้ากับสิ นค้า
พลังรวมทางการตลาด
การแบงปั
่ นรายได้
พลังรวมทางดานต
น ดพลังรวม
้
้นทุ
แนวคิ
การสรางพั
นธมิตร กลยุทธ ์
้
(Synergy) (Alliance)
พลังรวมทางเทคโนโลยี
พลังรวมทางบริหาร
ความรวมมื
อดานบุ
คลากร
่
้
ทรัพยากรและขอมู
้ ล
การส่งเสริมการตลาด สื่ อ
ช่องทางการสื่ อสารประชาสั มพันธ ์
กลุ่มคู่ค้าทางธุรกิจออนไลน์
• Business ผูท
้ า
การคา้
• Customer ผูบริ
้ โภค
• Government
รัฐบาล
ประเภทของกลุ่มการค้ าทางธุรกิจออนไลน์
แบงตามความสั
มพันธของผู
ซื
้ ผูขาย
ได้
่
้ อ
้
์
9 ลักษณะ
ธุรกิจ
รัฐบาล
ผู้บริโภค
ธุรกิจ
B2B
B2G
B2C
รัฐบาล
G2B
G2G
G2C
ผู้บริโภ
ค
C2B
C2G
C2C
Business to Business : B2B
•
•
•
•
•
วัตถุประสงค์เพื่อการติดต่อค้ าขาย เพื่อการจัดการการผลิตหรื อวัตถุดิบ
การส่งซื ้อสินค้ าสาหรับห้ างสรรพสินค้ าไปยังผู้ผลิต
การสัง่ ซื ้อชิ ้นส่วนที่ใช้ ในงานอุตสาหกรรม
ปริ มาณและมูลค่าการซื ้อขายต่อรายการค้ าสูง
ส่วนมากใช้ ระบบ EDI (Electronic Data Interchange)
และ Extranet
• เน้ นการแลกเปลี่ยนข้ อมูลระหว่างคูค่ ้ า
ก่อให้ เกิดระบบ Just-in-time
Business to Consumer : B2C
• ธุรกรรมที่เกิดขึ ้นระหว่างผู้ประกอบการกับผู้บริโภคโดยตรงส่วนใหญ่เป็ น
การค้ าปลีก รายการค้ ามีจานวนมาก ปริมาณและมูลค่าการซื ้อขายต่อ
รายการค้ าต่า
• ใช้ อินเทอร์ เน็ตเป็ นส่วนใหญ่
• เริ่ม หรื อขยายฐานธุรกิจได้ อย่างกว้ างขวางทัว่ โลก
• เหมาะอย่างยิ่งสาหรับผู้ประกอบการรายเล็กและระดับกลาง (SMEs)
• ส่วนมากใช้ World Wide Web และ e-Mail เน้ นการออกแบบ Web Site
ให้ น่าสนใจ
• ต้ องทาให้ ผ้ บู ริโภครู้จกั Web Site และเข้ ามาเยี่ยมชมอย่างสม่าเสมอ
Business to Government : B2G
• เป็ นธุรกรรมระหว่างภาคธุรกิจกับภาครัฐ
• ส่วนใหญ่จะเป็ นเรื่ องการจัดซื ้อจัดจ้ างภาครัฐ (Government
Procurement)
Customer to Customer : C2C
• การซื ้อขายตรงระหว่างกลุม่ ผู้ซื ้อ ลูกค้ า หรื อบุคคลทัว่ ไปกันเอง
• โฆษณาฝากขายไว้ ใน Web site ที่เป็ นศูนย์กลางการประมูลขายสินค้ า
• สินค้ ามือสอง
Consumer to Business (C2B)
• ธุรกรรมที่เกิดขึ ้นโดยบุคคลทัว่ ไปที่ใช้ Internet เพื่อขายสินค้ า
หรื อ บริ การให้ กบั องค์กร หรื อ บุคคลทัว่ ไปที่มองหาผู้ขาย
เพื่อติดต่อ และทาธุรกรรมในรูปแบบ Online
Government to Business/Citizens
(G2B, G2C)
• รูปแบบของหน่วยงานรัฐซื ้อขายสินค้ า บริ การ หรื อ
สารสนเทศกับองค์กรเอกชน หรื อบุคคลทัว่ ไป
B2B Model
Ex. www.FoodMarketExchange.com
B2B บริษัท สู่ บริษัท (Business to Business) การทาธุรกรรมระหว่ างธุรกิจ
ด้ วยกัน เช่ น การสั่งสินค้ าของร้ านซีเมนต์ ไทยโฮมมาร์ ท ด้ วย
ระบบอินเทอร์ เนตไปยังบริษัท ซีเมนต์ ไทยจากัด
B2B Model
www.plasticsnet.com
B2G Model
Ex. EProcurement Service
www.gprocurement.or.th/
B2G บริษัทสู่ องค์ กรรัฐบาล (Business to Government) การทาธุรกรรมของ
ธุรกิจต่ อหน่ วยงานรัฐบาล เช่ น การเสนอขายสินค้ าหรือบริ การแก่
ภาครัฐผ่ านเว็บไซต์
B2C Model
Ex. www.AR4U.com, www.Tohome.com
บริษัท สู่ ลูกค้ า (Business to Consumer) การทาธุรกรรมของธุรกิจต่ อ
ผู้บริโภคทั่วไป เช่ น www.amazon.com ,www.jobsdb.com
www.HotelThailand.com
G2B Model
องค์ กรรัฐบาลสู่ บริษัท การทาธุรกรรมของหน่ วยงานรั ฐบาลต่ อธุรกิจ
เช่ น การเสียภาษีนิตบิ ุคคลหรื อการแจ้ งงบการเงินต่ อภาครั ฐ หรื อ
e-Revenue ผ่ านเว็บไซต์ กรมสรรพากร
G2G Model
การทาธุรกรรมระหว่ างภาครั ฐด้ วยกัน เช่ น โครงการเปลี่ยนระบบ
การบริหารการเงินการคลังภาครั ฐสู่ระบบอิเล็กทรอนิกส์ (Government
Fiscal Management Information System :GFMIS) www.gfmis.go.th
G2C Model
การให้ บริการภาครัฐต่ อประชาชน หรือ Government to Citizen เช่ น
การรับชาระภาษีบุคคลธรรมดาผ่ านเว็บไซต์ ตลอดจนเป้าหมายของ
รัฐบาลในการทา e-Government , e-Citizen และการใช้ Smart Card ในการ
ให้ บริการประชาชนผ่ านระบบอิเล็กทรอนิกส์ หรือการเลือกตัง้ ในอนาคต
C2B Model
การทาธุรกรรมของผู้บริโภคกับธุรกิจทั่วไป เช่ น การใช้ จดหมาย
อิเล็กทรอนิกส์ หรือเว็บไซต์ ในการสั่งสินค้ าหรือบริการข้ อมูลสาคัญ
รวมถึงการสั่งซือ้ สินค้ าด้ วยเครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ ต่างๆ เช่ น การ
สั่งซือ้ สินค้ าหรือบริการจากโทรศัพท์ เคลื่อนที่ (Mobile Commerce) ตู้
จาหน่ ายสินค้ าที่ใช้ ระบบตัดบัญชีชาระเงินผ่ านธนาคาร หรือการทา
ธุรกรรมการชาระเงินทุกชนิดด้ วยระบบอิเล็กทรอนิกส์
C2G Model
การทาธุรกรรมของประชาชนทั่วไปกับรัฐบาล การ
email เข้ าไปยังหน่ วยงานภาครัฐ หรือการร้ องเรียนผ่ าน
ระบบ email ของพรรคการเมืองหรือผู้แทนราษฎร ปั จจุบนั
ยังไม่ ปรากฏเด่ นชัด
C2C Model
การทาธุรกรรมของผู้บริโภคต่ อผู้บริโภคด้ วยกันเอง เช่ น การ
ประกาศซือ้ ขายสินค้ ามือสองใน www.thai2hand.com การประกาศ
ฝากขายสินค้ าในเว็บประมูล เช่ น www.ebay.com หรือการใช้ กระทู้
สนทนาตามเว็บไซต์ ช่ ือดังเพื่อขายสินค้ า
เช่ น www.pantip.com
C2C Model
Ex. www.ThaiSecondhand.com, www.Ebay.com
การวางแผนดานการตลาด
้
อิเล็กทรอนิกส์
การกาหนดกลุมเป
่ ้ าหมาย
• กลุ่มเป้าหมายหลัก
กลุ่มลูกค้ ากลุ่มใหญ่ ท่ ใี ห้ ความสนใจสินค้ า ให้ บริการเป็ น
กลุ่มที่ชัดเจน และให้ ความสาคัญมากที่สุด
• กลุ่มเป้าหมายรอง
กลุ่มที่ให้ ความสนใจสินค้ า (กลุ่มย่ อย) ค่ อนข้ างไม่ แน่ นอน
ในการให้ ความสนใจสินค้ า
การวางแผนดานการตลาด
้
อิเล็กทรอนิกส์
การกาหนดขอบเขตของธุรกิจ
• กลุ่มเป้าหมายเล็ก
กลุ่มลูกค้ าเน้ นการจัดส่ งภายในประเทศ การออกแบบเว็บแบบง่ าย ๆ
สบายตา เนือ้ ที่ในการนาเสนอเว็บฟรี ใช้ ระบบตะกร้ าในการเก็บสินค้ า
ถ้ าสินค้ ามีไม่ มากใช้ การส่ ง order ทาง e-mail ชาระเงินผ่ านบัญชีธนาคาร
การจัดส่ งโดยไปรษณีย์ในรูปของพัสดุ หรือ EMS
การขยายขอบเขตธุรกิจอาจไม่ มากนัก ดังนัน้ ไม่ จาเป็ นต้ องทา
ภาษาอังกฤษ
การวางแผนดานการตลาด
้
อิเล็กทรอนิกส์
• กลุ่มเป้าหมายขนาดใหญ่
กลุ่มลูกค้ ามีทงั ้ ในและต่ างประเทศ ดังนัน้ การจัดส่ งมีทงั ้ ในและ
ต่ างประเทศ การออกแบบเว็บต้ องมีความน่ าเชื่อถือ ประชาสัมพันธ์ คน
ทั่วโลก ระบบการสั่งซือ้ ต้ องมีมาตรฐาน คนทั่วโลกให้ การยอมรั บ
รวดเร็ว ตรงตามกาหนดเวลา
รูปแบบการชาระเงินใช้ บัตรเครดิต มีการรักษาความปลอดภัย (SSL)
การศึกษาคู่แข่ งด้ วยเทคนิคทางออนไลน์
การศึกษาคูแ่ ข่งเป็ นการศึกษาเพื่อติดตามความเคลื่อนไหวและ
เปลี่ยนแปลงของคูแ่ ข่ง ส่วนการศึกษาสภาพแวดล้ อมทางการตลาดเป็ นการ
วิเคราะห์ถึงปั จจัยที่มีผลต่อธุรกิจ เพื่อก่อให้ เกิดประโยชน์ดงั นี ้
 เข้าใจในธุรกิจที่ทามากยิง่ ขึ้น
 สร้างความได้เปรี ยบทางการแข่งขันในการทาธุรกิจ
 เข้าใจและเรี ยนรู ้กลยุทธ์คู่แข่งจากอดีตมาสู่ปัจจุบนั และไปสู่อนาคต
 ช่วยประมาณการทางานของเราได้
การศึ กษาคูแข
ธเี บือ
้ งตน
่ งด
่ วยวิ
้
้
การเก็บรวบรวมขอมู
้ ลจากการสารวจ (Survey
Method)
1) ขอมู
่ ามารถสั งเกตได้ (Observable
้ ลทีส
Data) เช่น การจัดแถลงขาวผ
านสื
่ อตาง
่
่
่
ๆ จัดกิจกรรมรวมสนุ
กของคูแข
่
่ ง่ โดยการ
เขาไปเยี
ย
่ มชมเว็บไซตของคู
แข
้
์
่ งเป็
่ นประจา
2) ขอมู
่ ก
ี ารเก็บบันทึกไว้ (Recorded
้ ลทีม
Data) เช่น บริการของเว็บไซตของกรม
์
พัฒนาธุรกิจการคา้ สามารถคนหาข
อมู
้
้ ล
ของธุรกิจได้
การศึกษาคู่แข่ งด้ วยการดูข้อมูลทัว่ ไปของเว็บไตต์
การศึ ก ษาข้ อ มู ล ทั่ ว ไปของเว็ บ ไซต์ จากเว็ บ ไซต์
https://who.is/หรื อ http://www.alexa.com โดยการพิมพ์ url
ของเว็บไซต์ลงไป เว็บเหล่ านี้ ก็จะแสดงข้อมูล ว่าใครเป็ น
เจ้าของโดเมนนี้ ใช้เซิ ร์ฟเวอร์ หรื อ Hosting อยูท่ ี่ไหน ชื่อที่
อยู่อีเมล์ของคนที่ เป็ นเจ้าของก็จะแสดงขึ้ นมาด้วย แต่หาก
เจ้ า ของเว็ บ ไซต์ ใ ช้ บ ริ การซ่ อ นข้ อ มู ล เหล่ า นี้ (Privacy
Protection) จะไม่สามารถดูขอ้ มูลเว็บไซต์เหล่านั้นได้
การศึกษาคู่แข่ งด้ วยเครื่องมือ Alexa.com
เป็ นเว็บทีบ
่ ริการจับสถิตข
ิ อง Traffic บนเว็บไซต ์ โดย
บริษท
ั Alexa Internet Inc. ซึง่ กอตั
่ ง้ ในปี 2539 ตอมา
่
Amazon ไดเข
้ กิจการตัง้ แตปี่ 2542 โดย Alexa จะ
้ าซื
้ อ
คานวณคา่ Traffic Rank จากผู้ใช้บริการ Alexa
Toolbar หลายลานคนทั
ว่ โลก เป็ นการรวบรวมสถิต ิ
้
ยอนหลั
ง 3 เดือน โดยนาจานวนรวมเปอรเซ็
้
้ใช้
์ นตของผู
์
อินเทอรเน็
บหนึ่ง ๆ หรือทีเ่ รียกวา่
้
์ ตทัง้ หมดทีเ่ ขาชมเว็
Reach มาคานวณรวมกั
บ Page Views หรือจานวนหน้า
่
ของเว็บนั้น ๆ (ไมต
าไอคอนมาติดทีห
่ น้าเว็บอยางเช
่ องน
้
่
่น
Truehits หรือ Google Analytic) ซึง่ วิธก
ี ารค้นหาทาได้
หลายรูปแบบเช่น
• การค้นหาผานเครื
อ
่ งมือ Search โดยการพิมพ ์
่
Keyword หรือ URL ลงในชอง Search
เครื่องมือต่ าง ๆ ของเว็บไตต์ Alexa.com
• Compare Website เปรี ยบเทียบด้ วยการวัดผลวิธีตา่ ง ๆ แสดงผลในรูปแบบตัวเลข
สถิติและกราฟ สามารถแสดงผล 5 เว็บไซต์พร้ อม ๆ กัน
• Overview เป็ นการบอกถึงข้ อมูลโดยทัว่ ไปของเว็บไซต์ที่สนใจ
• Traffic Details แสดงผลสถิติในรูปกราฟของค่า Reach, Rank และ Pageviews
เปรี ยบเทียบด้ วยกราฟพร้ อมกันไม่เกิน 5 เว็บไซต์ ในช่วงเวลาต่าง ๆ ได้
• Related Links แสดงผลเชิงพฤติกรรม คือ คนที่เข้ าเว็บเรามักจะเข้ าจากเว็บไซต์อื่น
จึงเป็ นการเก็บสถิติการนับซ ้ามากที่สดุ โดยผลที่ได้ อาจเป็ นเว็บไซต์คแู่ ข่งก็ได้
• Sites Linking In แสดงรายการเว็บไซต์อื่น ๆ ที่มีการ Link กลับมาเว็บไซต์เรา และ
มีการแจ้ งค่าสถิติของจานวน Link ทังหมดที
้
่มาหาเราด้ วย
• Alexa Toolbar เป็ นการติดตังโปรแกรมขนาดเล็
้
กเพื่อฝั งเข้ ากับ Browser ของ
Internet Explorer สาหรับใช้ ค้นหาและบริ การข้ อมูลเกี่ยวกับเว็บที่เราเข้ าไปเยี่ยมชม
และสร้ าง “Sparky” สาหรับใช้ กบั Mozilla Firefox Browser ที่เป็ นที่นิยมในปั จจุบนั
การศึกษาคู่แข่ งจากอดีตถึงปัจจุบันด้ วย Archive.org
เป็ นเว็บที่มีเครื่ องมือในการศึกษาเปรี ยบเทียบการพัฒนาและวิวฒ
ั นาการใน
เชิงรูปแบบเว็บไซต์ของคูแ่ ข่งขัน สามารถนามาเปรี ยบเทียบกับเว็บไซต์เราได้
โดยศึกษาข้ อมูลเว็บคูแ่ ข่งจากอดีตจนถึงปั จจุบนั ด้ วยเครื่ องมือที่เรี ยกว่า Way
Back Machine
ทาให้ เราเรี ยนรู้ถึงจุดแข็ง จุดอ่อน ของการพัฒนาเว็บจากอดีตจนถึงปั จจุบนั
การศึกษาคู่แข่ งด้ วย similarweb.com/
การดูขอ้ มูลจานวนผูเ้ ข้าชมเว็บไซต์น้ นั ๆ สามารถดูได้คร่ าวๆ ไม่สามารถ
เชื่อถือได้มากเท่าไหร่ นกั เพราะเว็บไซต์ที่แสดงข้อมูลเหล่านี้ไม่ได้มีโค้ดสาหรับ
นับจานวนผูเ้ ข้าชม หรื อจานวนการเปิ ดหน้าเว็บไซต์ที่แสดงให้เห็ นต่อสาธารณะ
โดยใช้เครื่ องมือย่างเช่น http://www.similarweb.com ที่สามารถแสดงข้อมูล
หลายๆอย่าง เช่น จานวนผูเ้ ข้าชมล่าสุ ด 3เดือนย้อนหลัง มี Traffic จากที่ไหนบ้าง
จากการค้ นหาบน Search Engine หรื อ Social media, จานวน Traffic มาจาก
ประเทศไหนมากที่สุด เป็ นต้น หาต้องการดูขอ้ มูลที่มากขึ้นต้องเสี ยเงินเพื่อ
สมัครใช้บริ การ
รูปแบบกลยุทธ์
เป็ นแบบแผนเพื่อใช้ เป็ นแนวทางในการเข้ าถึงเป้าหมายที่ได้ ตงไว้
ั ้ มีด้วยกัน
หลายวิธีเช่น
 กลยุทธ์ส่วนประสมการตลาดออนไลน์ (Online Marketing Mix)
 6 C’s กับความสาเร็ จของการจัดทาการตลาดออนไลน์
 กลยุทธ์ Long tail
กลยุทธส
์ ่ วนประสมการตลาดออนไลน์
(Online Marketing Mix)
ศาสตราจารย ์ Jerome McCarthy แห่ง
Michigan State University ไดกล
งปัจจัยที่
้ าวถึ
่
นามาเป็ นส่วนผสมทางการตลาดทีเ่ รียกวา่ ทฤษฎี
4P’s ประกอบดวย
Product + Price + Place +
้
Promotion จากแนวคิดส่วนประสมการตลาดเมือ
่
น ามาพิจ ารณากับ การท าการตลาดออนไลน์แล้ ว
มี ก า ร พิ จ า ร ณ า เ พิ่ ม ปั จ จั ย ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง อี ก 3
ประการคือ Personalize or Personal Interest
(ความสนใจส่วนบุคคล) + Personal Network
(การตลาดกับ กลุ่มเครือ ข่ าย)+
Public
กลยุทธ์ ส่วน
ประสม
การตลาด
ออนไลน์
Product
Privacy
Place
7P’s
Payment
Price
Personalize
Promotion
1. Product (สิ นค้ า)
เริ่มต้ นทา E-Commerce ขายอะไรดี ?
• สิ นค้าสื่ ออิเล็กทรอนิกส์ (Digital Goods Product)
– Software (Palm Software,โปรแกรมไล่ยงุ )
– Media (Music, Picture)
– หนังสื อ (E-Book)
• สิ นค้าจับต้องได้ (Physical Goods Product)
– Books, Computer, มือถือ, เสื้ อยืด Silk Screen, ข้าวหลาม
• อะไรก็ได้ ที่อยากขาย
ขายอะไรผ่ าน E-Commerce แล้ วเวิร์ค ?
• สื่อลามก (รูป,หนัง, ฯลฯ)
• ท่องเที่ยว จองโรงแรม
• สินค้ าที่ไม่ต้องการ การจับต้ อง และเป็ นมาตรฐาน
เช่น เพลง, หนังสือ, ของขวัญ, อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
• สินค้ าประมูล
• บ้ านและที่ดิน
• การบริการลูกค้ า
ขายอะไรผ่ าน E-Commerce แล้ วไม่ เวิร์ค ?
• สินค้ าที่ต้องการ “การจับและทดสอบการซื ้อ”
– เสื ้อผ้ า ยกเว้ น ทีเชิร์ต
• ของชา (อาหาร) บางคนอาจซื ้อ แต่อาจจะยากในการขนส่งและ
ขาย
การหาสิ นค้ ามาขายผ่ านหน้ าเว็บ
• การซื ้อสินค้ ามาเก็บไว้
• การนาสินค้ าจากแคตตาล๊ อกมาขาย
• การนาสินค้ าจากพันธมิตรมาขาย
www.thaisecondhand.com/promotion
2. Price (ราคา)
• ตังราคาที
้
่เหมาะสม (เช็กราคาตลาดและคูแ่ ข่ง)
• สร้ างความน่าสนใจ และความแตกต่าง
• กาหนดราคาเพื่อค่าขนส่งด้ วย
–ประเทศหรื อสถานที่สง่ (อาจจะรวมค่าจัดส่งเข้ าไปในสินค้ าเลย)
3. Place (สถานที่)
• โดเมนเนมที่จาง่าย
• ใช้ งานง่าย / Friendly user
• ดาวน์โหลดเร็ว
• ข้ อมูลที่ชดั เจนน่าสนใจ
• ความปลอดภัยของข้ อมูล
4. Promotion (โปรโมชั่น)
• การทาสื่อโฆษณาออนไลน์ & PR
– Banner, E-mail
• การทา Up Sale และ Cross Sale สินค้ า
Up Sale เช่น ถ้ าลูกค้ ามีความต้ องการจะซื ้อขวดยักษ์ ก็ทาให้ เขาอยากซื ้อขวดจัมโบ้
หรื อเขาอยากจะซื ้อขวดเล็กก็ทาให้ เขาอยากซื ้อขวดใหญ่ ขวดกลาง Up Sale ให้
สูงขึ ้น
Cross Sale เช่น เคยซื ้อแชมพูอย่างเดียว ก็ทาให้ เขาต้ องซื ้อโลชัน่ ด้ วย หรื อเคยซื ้อแต่
แชมพู โลชัน่ ก็ต้องมาคิดว่า ทาอย่างไรจะให้ เขาซื ้อสบูด่ ้ วย คือ ต้ องคิดว่า ทา
อย่างไรที่จะให้ มากขึ ้น
5. Privacy (ความเป็ นส่ วนตัว)
• ความรักษาความเป็ นส่วนตัว Privacy Policy
• การเก็บข้ อมูลส่วนตัว
– E-Mail
6. Personalization (การให้ บริการแบบเฉพาะเจาะจงบุคคล)
• ให้ บริ การแบบเจาะจง
• การศึกษาพฤติกรรมของลูกค้ า
• การใช้ Cookie
• Data Mining + Call Center & CRM
7. Payment (ระบบชาระเงิน)
• Credit Card – Payment
•Credit Card
กระบวนการชาระเงินด้ วยบัตรเครดิตบน Internet
ลูกค้ า
ธนาคาร
ลูกค้ า
8.เรี ยกเก็บเงิน
6. ยืนยัน
9. หักบัญชี
บัญชี
ลูกค้ า
3. ตรวจสอบ
เครื อข่ายเฉพาะ
Internet
Clearing House
1. สัง่ ซื้อ
4. อนุมตั ิ
2.ขอตรวจสอบ
Payment
Gateway
ผู้ค้า
5.อนุมตั ิ
ธนาคาร
ผู้ค้า
7.เข้าบัญชี
บัญชี
คูค่ ้ า
6 C’s กับ
ความสาเร็จของ
การจัดทา
การตลาด
ออนไลน์
หลักในการสร้ าง
ความสาเร็จ
ประกอบด้ วยสิง่
สาคัญ 6
ประการคือ
Content
Community
Convenience
6C’s
Commerce
Communication
Customization
6 C’s กับความสาเร็จของการจัดทาการตลาดออนไลน์
1) Content : เนือ้ หาข้ อมูลของเว็บไซต์
ลักษณะของเนื ้อหาที่จะนาเสนอต้ องประกอบด้ วย
แหล่ง
อ้ำงอิงได้
ท ันสม ัย
ทีส
่ ด
ุ
Content
น่ำสนใจ
ดึงดูดผูพ
้ บ
เห็น
ถูกต้อง
แม่นยำ
6 C’s กับความสาเร็จของการจัดทาการตลาดออนไลน์
2) Community : ชุมชน สังคม
Pic Post
เว็ บบอร์ด
Diary
Online/Blog
ห้อง
สนทนำ
Community
ด ัชนี
เว็ บไซต์
กลุม
่ ข่ำว
6 C’s กับความสาเร็จของการจัดทาการตลาดออนไลน์
3) Commerce : การค้ าขาย
สามารถหาสินค้ ามาขายได้ หลายรูปแบบดังนี ้
- ซื ้อสินค้ ามาเก็บไว้ ใน Stock เกิดความยืดหยุน่ ในการบริหารสินค้ าที่มี
อยู่ แต่ก็มีความเสี่ยงจากต้ นทุนราคาสินค้ า
- นาสินค้ าจาก Catalogue มาขาย
6 C’s กับความสาเร็จของการจัดทาการตลาดออนไลน์
4) Customization : การปรับให้ เหมาะสม
เป็ นรูปแบบการให้ บริการที่สามารถปรับแต่งการใช้ งาน การแสดงสินค้ า
ให้ มีความเหมาะสมกับผู้ใช้ บริการในเว็บไซต์
- ลูกค้ าร้ องขอเพื่อปรับแต่งตามความต้ องการ (Personalization) เช่น จัด
ตกแต่งหน้ าร้ านได้ ด้วยตัวเอง
- การปรับตกแต่งเว็บไซต์ (Tailoring) เจ้ าของเว็บไซต์ทาการรวบรวม
ความชอบโดยรวมของลูกค้ าแล้ วจึงทาการปรับปรุงร้ านค้ า
- การเก็บข้ อมูลลูกค้ าเพื่อการนาเสนอข้ อมูล
6 C’s กับความสาเร็จของการจัดทาการตลาดออนไลน์
5) Communication : การสื่อสาร
ช่องทางสาหรับการสื่อสารและติดต่อไปยังผู้ใช้ บริการในเว็บ หรับรับเสียง
สะท้ อนจากลูกค้ า ประกอบด้ วย
การสื่อสารระหว่าง ร้ านค้ า กับ ลูกค้ า
การสื่อสารระหว่าง ร้ านค้ า กับ ร้ านค้ า
การสื่อสารระหว่าง ลูกค้ า กับ ลูกค้ า
6 C’s กับความสาเร็จของการจัดทาการตลาดออนไลน์
6) Convenience : ความสะดวกสบาย
ประกอบด้ วยปั จจัยต่าง ๆ ดังนี ้
เว็บไซต์ดงู ่าย ไม่ดรู กจนเกินไป
เรี ยนรู้ได้ ง่าย (Easy to learn)
จดจาวิธีการใช้ งานได้ ง่าย (Easy to recognize)
สามารถเข้ าถึงได้ ง่าย (Easy to access)
ใช้ งานได้ อย่างมีประสิทธิภาพ (Efficient to use)
การเจอปั ญหาและการแก้ ไข (Help & FAQ)
กลยุทธ์ Long tail
ทฤษฎีหางยาว เป็ นทฤษฎีที่ใช้อธิ บายโมเดล ทางการตลาด เนื่ องจากใน
อุตสาหกรรมหรื อธุรกิจหนึ่ ง ๆ อาจมีตลาดเฉพาะส่ วน (Niche Market) อยู่
เป็ นจานวนมาก ซึ่ งมีความสาคัญไม่นอ้ ยไปกว่าตลาดใหญ่ (Mass Market)
และเมื่ อ รวมเข้า ด้ ว ยกั น ก็ อ าจจะมี ข นาดใหญ่ ก ว่ า ตลาดใหญ่ แ ละมี
ประสิ ทธิภาพมากกว่า (เป็ นภาพเชิงกลับ)
วิธีการ “Long tail Marketing” หรื อการทาตลาดลงไปในกลุ่มเล็กๆ
(Niche Market) เพื่อที่จะให้มีคู่แข่งน้อยที่สุด โดยจะทาทีละกลุ่มไปเรื่ อยๆ
จนมูลค่าได้มากกว่าหรื อเท่ากับกลุ่มของตลาดใหญ่ซ่ ึ งจริ งๆ มีแค่ประมาณ
20% เท่านั้น แนวคิดนี้ ทาได้ง่ายเนื่ องจากสามารถเข้าถึงลูกค้าได้ในวงกว้าง
ด้วยเทคโนโลยีของอินเทอร์เน็ต
Long tail Marketing
Long tail Marketing
1. กฎลองเทลเป็ นกฎตรงข้ามกับกฎของพาเรโต หรื อ กฎ 80/20 ที่วา่ ด้วย
“สิ นค้ าขายดี 20% สามารถสร้ างยอดขายได้ ถึง 80%” หรือไม่ ก็ “ยอดขาย
80% มาจากลูกค้ าชั้นดีเพียง 20%”
แต่ กฎลองเทล กล่าวว่า “ยอดขายของสิ นค้ าที่ขายไม่ ดี เมื่อรวมกันแล้ว
อาจจะสู งกว่ ายอดขายของ สิ นค้ าขายดี ก็ได้ ”
กฎลองเทลตั้งข้อสังเกตว่าการให้ความสาคัญกับลูกค้าชั้นดี 20% ไม่ใช่
เรื่ องแปลก แต่ทาไมต้องตัดลูกค้าธรรมดาจานวน 80% ทิ้งออกไปด้วย ?
Long tail Marketing (ต่ อ)
2. กลยุทธ์หลักของการตลาดลองเทล คือ การไม่เจาะจงกลุ่มลูกค้า นัน่ คือ
ต้องการได้ลูกค้าทั้ง 100% โดยใช้ระบบเป็ นผูร้ ับเรื่ อง ทาให้สามารถ
ตอบสนองได้ทุกเรื่ อง ไม่เว้นแม้แต่ตลาดนิช (Niche Market) ที่เล็กที่สุดที่
อยูใ่ นส่ วนหางที่ยาวออกไปอย่างไม่มีที่สิ้นสุ ดได้อย่างมีประสิ ทธิภาพและ
ครอบคลุมทั้งหมด
Long tail Marketing (ต่ อ)
3. กลยุทธ์การตลาดลองเทลไม่ได้เป็ นกลยุทธ์การตลาด สาหรับบริ ษทั ที่ทา
ธุรกิจทางอินเทอร์เน็ตเท่านั้น ประเด็นของกลยุทธ์น้ ีไม่ได้อยูท่ ี่ การขายโดย
ใช้อินเทอร์เน็ต แต่ เป็ นการขายโดยอัตโนมัติ ร้านค้าหรื อกิจการที่ทาคนเดียว
ก็สามารถนาเอากลยุทธ์การตลาดลองเทลนี้ไปใช้ประโยชน์ได้เช่นกัน
4. กลยุทธ์การตลาดลองเทลไม่ได้ใช้ได้เฉพาะกับ “สิ นค้า” เท่านั้น นอกจาก
สิ นค้าแล้ว ยังมีลองเทล (Long Tail) ของ “ลูกค้า” และ “การให้บริ การ” ด้วย
การบ้ าน
• ให้ นกั ศึกษา ศึกษาเครื่ องมือที่จะนามาใช้ ในการวิเคราะห์คแู่ ข่ง ในการ
พัฒนาเว็บไซต์ของนักศึกษา
• จัดทาสรุปวิธีการใช้ เครื่ องมือแต่ละวิธี
• กาหนดให้ ศกึ ษาเครื่ องมือไม่ต่ากว่า 3 เครื่ องมือ
• จัดทาเป็ นรูปแบบรายงานส่งภายในวันพฤหัสบดีที่ 29 มกราคม 2558