ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Dec

Download Report

Transcript ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Dec

ระบบสนับสนุ นการตัดสิ นใจ
(Decision Support System)
Thirarat Rattanawisutamon
Room 2420
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
(Decision Support System)
เป็ นระบบย่อยหนึ่งในระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ โดยที่
ระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจจะช่วยผูบ้ ริ หารในเรื่ องการ
ตัดสิ นใจในเหตุการณ์หรื อกิจกรรมทางธุรกิจที่ไม่มีโครงสร้าง
แน่นอน หรื อกึ่งโครงสร้าง ระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจ
อาจจะใช้กบั บุคคลเดียวหรื อช่วยสนับสนุนการตัดสิ นใจเป็ น
กลุ่ม นอกจากนั้น ยังมีระบบสนับสนุนผูบ้ ริ หารเพื่อช่วย
ผูบ้ ริ หารในการตัดสิ นใจเชิงกลยุทธ์
ระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจ ได้เริ่ มขึ้นในช่วง ปี ค.ศ. 1970 โดยมีหลาย
บริ ษทั เริ่ มที่จะพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อที่จะช่วยผูบ้ ริ หารในการ
ตัดสิ นใจปัญหาที่ไม่มีโครงสร้างที่แน่นอน หรื อกึ่งโครงสร้างโดยข้อมูล
มีการเปลี่ยนแปลงตลอด ซึ่งระบบสารสนเทศเดิมที่ใช้ในลักษณะระบบ
การประมวลผลรายการ (Transaction processing system) ไม่สามารถ
กระทาได้ นอกจากนั้นยังมีวตั ถุประสงค์เพื่อลดแรงงาน ต้นทุนที่ต่าลง
และยังช่วยในเรื่ องการวิเคราะห์การสร้างตัวแบบ (Model) เพื่ออธิบาย
ปัญหาและตัดสิ นใจปัญหาต่างๆ จนกระทัง่ ปี ค.ศ. 1980 ความพยายาม
ในการใช้ระบบนี้เพื่อช่วยในการสนับสนุนการตัดสิ นใจได้แพร่ ออกไป
ยังกลุ่มและองค์การต่างๆ
วิวฒ
ั นาการของ DSS
ระยะที่ 1:
กลางปี 1950 เริ่มมีการนาคอมพิวเตอร์ มาใช้ ในงานธุรกิจ ระบบที่
นามาใช้ ได้ แก่ TPS สาหรับระบบประมวลผลรายการข้ อมูล และ การจัดทา
รายงานสารสนเทศ
 ระยะที่ 2:
ระหว่ างปี 1960-1970 มีการพัฒนาโปรแกรมสาเร็จรูปเพือ่ นาไปใช้ ใน
สานักงาน ทาให้ เกิดความสะดวก รวดเร็ว และลดปริมาณกระดาษได้ อย่ าง
มากเรียกว่ า ระบบสานักงานอัตโนมัติ (OAS)

วิวฒ
ั นาการของ DSS (ต่อ)

ระยะที่ 3:
ระหว่ างปี 1970-1980 มีการพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจ
(DSS) เพือ่ ใช้ ประกอบการพิจารณาของผู้บริหาร ต่ อมา DSS ถูกนามาไปใช้
ทางาน 2 ลักษณะคือ ระบบสารสนเทศเพือ่ ผู้บริหารระดับสู ง (EIS) และ
ระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจแบบกลุ่ม (Group Support System: GSS)
วิวฒ
ั นาการของ DSS (ต่อ)

ระยะที่ 4:
ตัง้ แต่กลางทศวรรษปี 1980 มีการพัฒนา
ระบบที่ ท าหน้ า ที่ เ สมื อ นเป็ นที่ ป รึ ก ษาของ
ผู้บ ริ ห ารเรี ย กว่ า “ระบบผู้เ ชี่ ย วชาญ (Expert
System: ES)”
ในปี 1990
มีการพัฒนาข้อมูลสาหรับการ
สนับสนุนการตัดสินใจในรูปของคลังข้อมูล
(Data Warehouse) เพื่อให้ ระบบสนั บสนุ นการ
ตัดสินใจทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพมาก
วิวฒ
ั นาการของ DSS (ต่อ)

ระยะที่ 5:
วิวฒ
ั นาการล่าสุด คือ “ระบบ
ตัวแทนปัญญา (Intelligence Agent)” สามารถ
ลดข้อจากัดในการเข้าถึงฐานข้อมูลอื่น
ๆ ทัวโลก
่
โดยผ่านเครือข่าย
อินเทอร์เน็ต
คุณสมบัติของ DSS

พัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศใน
ปัจจุบน
ั ทาให้ DSS สามารถช่วยผูบริ
้ หารใน
การตัดสิ นใจแกปั
่ าเป็ น
้ ญหา โดยนาขอมู
้ ลทีจ
แบบจาลองในการตัดสิ นใจทีส
่ าคัญ และ
ชุดคาสั่ งทีง่ ายต
อการใช
่
่
้งานรวมเขาเป็
้ นระบบ
เดียว เพือ
่ สะดวกตอในการใช
่
้งานของผูใช
้ ้
โดยที่ DSS ทีเ่ หมาะสมควรมีคุณลักษณะ
ดังนี้
คุณสมบัตขิ อง DSS (cont)
 1. งายต
อการเรี
ยนรูและใช
่
่
้
้งาน
(Easy to use)
เนื่องจากผูใช
ั ษะทางสารสนเทศที่
้ ้อาจมีทก
จากัด ตลอดจนความเรงด
่ วนในการใช
่
้งาน
และความตองการของปั
ญหา ทาให้ DSS ตอง
้
้
มีความสะดวกตอผู
่ ใช
้ ้
 2. สามารถโตตอบกั
บผูใช
ว
้
้ ้ไดอย
้ างรวดเร็
่
และมีประสิ ทธิภาพ โดยที่ DSS ทีด
่ ต
ี อง
้
สามารถสื่ อสารกับผูใช
บพลัน โดย
้ ้อยางฉั
่
ตอบสนองความตองการและโต
ตอบกั
บผูใช
้
้
้ ้
ไดทั
้ นเวลา โดยเฉพาะในสถานการณ์
คุณสมบัตขิ อง DSS (cont)
มีขอ้ มูล และแบบจาลองสาหรับสนับสนุนการตัดสิ นใจที่
เหมาะสมและสอดคล้องกับลักษณะของปัญหา
 4. สนับสนุ นการตัดสิ นใจแบบกึ่งโครงสร้าง และไม่มีโครงสร้าง ซึ่ ง
แตกต่างจากระบบสารสนเทศสาหรับปฏิบตั ิ งานที่จดั การข้อมูล
สาหรับงานประจาวันเท่านั้น
 3.
คุณสมบัตขิ อง DSS (cont)
มีความยืดหยุน่ (Flexibility) ที่จะสนองความต้องการที่
เปลี่ยนแปลงไปของผูใ้ ช้ เนื่องจากลักษณะของปัญหาที่มีความไม่
แน่นอน และเปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์ นอกจากนี้ผจู ้ ดั การจะ
เผชิญหน้ากับปัญหา ที่มีความไม่แน่นอนและเปลี่ยนแปลงทาง
สถานการณ์ นอกจากนี้ผจู ้ ดั การจะเผชิญกับปัญหาในหลาย
ลักษณะจึงต้องการระบบสารสนเทศที่ช่วยจัดรู ปข้อมูลที่ไม่
ซับซ้อนและง่ายต่อการตัดสิ นใจ
 คุณสมบัติของ DSS สร้างความเป็ นเอกลักษณ์ในการทางานของ
ระบบ ซึ่งสอดคล้องกับความต้องการของธุรกิจ ปัจจุบนั ดังจะเห็นได้
จากหลายองค์การสนับสนุนให้มีการพัฒนาหรื อซื้อระบบสารสนเทศ
ที่ช่วยให้การตัดสิ นใจของผูบ้ ริ หารมีประสิ ทธิภาพขึ้น
 5.
ระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจ คืออะไร
DSS เป็ นระบบที่ช่วยในการตัดสิ นใจเกี่ยวกับการจัดการ การรวบรวมข้อมูล การ
วิเคราะห์ขอ้ มูล และการสร้างตัวแบบที่ซบั ซ้อน ภายใต้ซอฟต์แวร์เดี ยวกัน
นอกจากนั้น DSS ยังเป็ นการประสานการทางานระหว่างบุคลากรกับเทคโนโลยี
ทางด้านซอฟต์แวร์ โดยเป็ นการกระทาโต้ตอบกัน เพื่อแก้ปัญหาแบบไม่มี
โครงสร้าง และอยูภ่ ายใต้การควบคุมของผูใ้ ช้ต้ งั แต่เริ่ มต้นถึงสิ้ นสุ ดขั้นตอนหรื อ
อาจกล่าวได้วา่ DSS เป็ นระบบที่โต้ตอบกันโดยใช้คอมพิวเตอร์ เพื่อหาคาตอบที่
ง่าย สะดวก รวดเร็ วจากปั ญหาที่ไม่มีโครงสร้างที่แน่นอน ดังนั้นระบบการ
สนับสนุนการตัดสิ นใจ จึงประกอบด้วยชุดเครื่ องมือ ข้อมูล ตัวแบบ (Model)
และทรัพยากรอื่นๆ ที่ผใู้ ช้หรื อนักวิเคราะห์นามาใช้ในการประเมินผลและแก้ไข
ปั ญหา ดังนั้นหลักการของ DSS จึงเป็ นการให้เครื่ องมือที่จาเป็ นแก่ผบู ้ ริ หาร ใน
การวิเคราะห์ขอ้ มูลที่มีรูปแบบที่ซบั ซ้อน แต่มีวธิ ี การปฏิบตั ิที่ยดื หยุน่ DSS จึงถูก
ออกแบบเพื่อเพิ่มประสิ ทธิ ภาพในการทางาน ไม่เพียงแต่การตอบสนองในเรื่ อง
ความต้องการของข้อมูลเท่านั้น
ความสามารถของ DSS




ผูบ้ ริหารทุกระดับสามารถนาไปใช้งานได้
สนับสนุนการตัดสินใจปัญหาแบบ Semi-Structured
และ Unstructured
สนับสนุนการตัดสินใจทัง้ แบบ Personal และ
Group ได้
สนั บ สนุ น กระบวนการตัด สิ น ใจในขัน้ ตอน
Intelligence Design,
ส่ วนประกอบของ DSS

สามารถจาแนกออกเป็ น 4 ส่ วน ดังนี้
 อุปกรณ์
 ระบบการทางาน
 ข้ อมูล
 บุคลากร
ส่ วนประกอบของ DSS (cont)
 1. อุปกรณ์ เป็ นส่ วนประกอบแรกและเป็ นโครงสร้างพื้นฐาน
ของ DSS โดยอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับระบบสนับสนุนการ
ตัดสิ นใจจะสามารถแบ่งออกเป็ น 3 กลุ่ม ด้วยกันคือ
 1.1 อุปกรณ์ ประมวลผล
 1.2 อุปกรณ์ สื่อสาร
 1.3 อุปกรณ์ แสดงผล
ส่ วนประกอบของ DSS (cont)
อุปกรณ์ ประมวลผล ประกอบด้วยระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่งใน
สมัยเริ่ มแรกจะใช้คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ (Mainframe) หรื อ
มินิคอมพิวเตอร์ (Mini Computer) ในสานักงานเป็ นหลักแต่ใน
ปัจจุบนั องค์การส่ วนมากหันมาใช้ระบบเครื อข่ายของคอมพิวเตอร์
ส่ วนบุคคล (Personal Computer) แทนเนื่องจากมีราคาถูก มี
ประสิ ทธิภาพดี และสะดวกต่อการใช้งาน ตลอดจนผูใ้ ช้มีความรู ้
ความเข้าใจ และทักษะในงานสารสนเทศสูงขึ้น โดยเฉพาะผูบ้ ริ หาร
รุ่ นใหม่ที่มีความรู ้เกี่ยวกับเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ
สามารถที่จะพัฒนา DSS ขึ้นบน คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลโดยใช้
ชุดคาสัง่ ประเภทฐานข้อมูล และ Spread Sheet ประกอบ
 1.1.
ส่ วนประกอบของ DSS (cont)
อุปกรณ์ สื่อสาร ประกอบด้วยระบบสื่ อสารต่างๆ เช่น ระบบ
เครื อข่ายเฉพาะพื้นที่ (LAN) ได้ถูกนาเข้ามาประยุกต์ เพื่อทาการ
สื่ อสารข้อมูลและสารสนเทศของ DSS โดยในบางครั้งอาจจะใช้การ
ประชุมโดยอาศัยสื่ อวีดีโอ (Video Conference) หรื อการประชุม
ทางไกล (Teleconference) ประกอบ เนื่องจากผูม้ ีหน้าที่ตดั สิ นใจอาจ
อยูก่ นั คนละพื้นที่
 1.2.
ส่ วนประกอบของ DSS (cont)
อุปกรณ์ แสดงผล DSS ที่มีประสิ ทธิภาพจาเป็ นต้องมี
อุปกรณ์แสดงผลเช่น จอภาพที่มีความละเอียดสูง เครื่ องพิมพ์อย่าง
ดี และอุปกรณ์ประกอบอื่นๆ เพื่อช่วยถ่ายทอดข้อมูลสารสนเทศ
ตลอดจนสร้างความเข้าใจในสารสนเทศให้แก่ผใู ้ ช้ และช่วยให้
การดาเนินงานมีประสิ ทธิภาพ
 1.3.
ส่ วนประกอบของ DSS (cont)

2. ระบบการทางาน มีนกั วิชาการหลายท่านให้ความเห็นว่า ระบบการ
ทางานเป็ นส่ วนประกอบหลักของ DSS เพราะถือว่าเป็ นส่ วนประกอบ
สาคัญในการที่จะทาให้ DSS ทางานได้ตามวัตถุประสงค์และความ
ต้องการของผูใ้ ช้ ซึ่งระบบการทางานจะประกอบด้วยส่ วนประกอบ
สาคัญ 3 ส่ วนคือ
 ฐานข้ อมูล
 ฐานแบบจาลอง
 ระบบชุ ดคาสั่ งของ DSS
ส่ วนประกอบของ DSS (cont)
ฐานข้ อมูล (Database) DSS จะไม่มีหน้าที่สร้าง ค้นหา หรื อ
ปรับปรุ งข้อมูลในฐานข้อมูลขององค์การ เนื่องจากระบบข้อมูลของ
องค์การเป็ นระบบขนาดใหญ่มีขอ้ มูลหลากหลายและเกี่ยวข้องกับ
ข้อมูลหลายประเภท แต่ DSS จะมีฐานข้อมูลของตัวเอง ซึ่งจะมี
หน้าที่รวบรวมข้อมูลที่สาคัญจากอดีตถึงปัจจุบนั และนามาจัดเก็บ
เพื่อให้ง่ายต่อการค้นหา ซึ่งข้อมูลเหล่านี้จะถูกเก็บไว้อย่างสมบูรณ์
ครบถ้วน และแน่นอน เพื่อรอการนาไปประมวลผลประกอบการ
ตัดสิ นใจ ขณะเดียวกัน DSS อาจจะต่อเชื่อมกับระบบฐานข้อมูลของ
องค์การ เพื่อดึงข้อมูลสาคัญบางประเภทมาใช้งาน
 2.1.
ส่ วนประกอบของ DSS (cont)
ฐานแบบจาลอง (Model Base) มีหน้าที่รวบรวมแบบจาลอง
ทางคณิ ตศาสตร์ และแบบจาลองในการวิเคราะห์ปัญหาที่สาคัญ
เพื่ออานวยความสะดวกต่อผูใ้ ช้ปกติ DSS จะถูกพัฒนาขึ้นมาตาม
จุดประสงค์เฉพาะอย่าง ดังนั้น DSS จะประกอบด้วยแบบจาลองที่
ต่างกันตามวัตถุประสงค์ในการนาไปใช้
 2.2.
ส่ วนประกอบของ DSS (cont)
ระบบชุ ดคาสั่ งของ DSS (DSS Software System) เป็ น
ส่ วนประกอบสาคัญที่ช่วยอานวยความสะดวกในการโต้ตอบ
ระหว่างผูใ้ ช้กบั ฐานข้อมูลและฐานแบบจาลอง โดยระบบชุดคาสัง่
ของ DSS จะมีหน้าที่จดั การ ควบคุมการพัฒนา จัดเก็บ และเรี ยกใช้
แบบจาลองต่างๆ โดยระบบชุดคาสัง่ ของ DSS จะมีหน้าที่จดั การ
ควบคุมการพัฒนา จัดเก็บ และเรี ยกใช้แบบจาลองต่างๆเพื่อนามา
ประมวลผลกับข้อมูลขากฐานข้อมูล นอกจากนี้ระบบชุดคาสัง่ ยังมี
หน้าที่ให้ความช่วยเหลือผูใ้ ช้ในการโต้ตอบกับ DSS โดยที่สามารถ
แสดงความสัมพันธ์ของส่ วนประกอบทั้ง 3 ส่ วนคือ
 2.3.
ส่ วนประกอบของ DSS (cont)
1. ผูใ้ ช้
2. ฐานแบบจาลอง
3. ฐานข้อมูล
ส่ วนประกอบของ DSS (cont)

3. ข้ อมูล เป็ นองค์ประกอบที่สาคัญอีกส่ วนของ DSS ไม่วา่ DSS จะ
ประกอบด้วยอุปกรณ์ที่ทนั สมัย และได้รับการออกแบบการทางานให้
สอดคล้องกันและเหมาะสมกับการใช้งานมากเพียงใด ถ้าข้อมูลที่
นามาใช้ในการประมวลผลไม่มีคุณภาพเพียงพอแล้วก็จะไม่สามารถช่วย
สนับสนุนการตัดสิ นใจของผูใ้ ช้ได้อย่างเหมาะสม ซึ่งยังอาจจะสร้าง
ปัญหา หรื อความผิดพลาดในการตัดสิ นใจขึ้นได้ ข้อมูลที่จะนามาใช้กบั
DSS จะแตกต่างจากข้อมูลในระบบสารสนเทศอื่น โดยที่ขอ้ มูล DSS ที่
เหมาะสม สมควรที่จะมีลกั ษณะ ดังต่อไปนี้
ส่ วนประกอบของ DSS (cont)
 3.1. มีปริ มาณพอเหมาะแก่การนาไปใช้งาน
 3.2. มีความถูกต้องและทันสมัยในระดับที่เหมาะสมกับความต้องการ
 3.3. สามารถนามาใช้ได้สะดวก รวดเร็ ว และครบถ้วน
่ และสามารถนามาจัดรู ปแบบ เพื่อการวิเคราะห์
 3.4. มีความยืดหยุน
ได้อย่างเหมาะสม
ส่ วนประกอบของ DSS (cont)

4. บุคลากร เป็ นส่ วนประกอบที่สาคัญอีกส่ วนหนึ่งของระบบสนับสนุน
การตัดสิ นใจ เนื่องจากบุคคลจะเกี่ยวข้องกับ DSS ตั้งแต่ การกาหนด
เป้ าหมายและความต้องการ การพัฒนา ออกแบบ และการใช้ DSS ซึ่ง
สามารถแบ่งบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับ DSS ออกเป็ น 2 กลุ่มดังนี้
 4.1. ผู้ใช้ (End-user) เป็ นผูใ้ ช้งานโดยตรงของ DSS ได้แก่
ผูบ้ ริ หารในระดับต่างๆตลอดจนนักวิเคราะห์และผูเ้ ชี่ยวชาญทางด้าน
ธุรกิจที่ตอ้ งการข้อมูลสาหรับประกอบการตัดสิ นใจในปั ญหาที่
เกิดขึ้น
ส่ วนประกอบของ DSS (cont)
ผู้สนับสนุน DSS (DSS Supports) ได้แก่ ผูค้ วบคุมดูแล
รักษาอุปกรณ์ต่างๆ ผูพ้ ฒั นาระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจ
ผูจ้ ดั การข้อมูลและที่ปรึ กษาเกี่ยวกับระบบ เพื่อให้ DSS มีความ
สมบูรณ์ และสามารถดาเนินงานอย่างเต็มประสิ ทธิภาพและตรง
ตามความต้องการของผูใ้ ช้
 4.2.
ส่ วนประกอบของ DSS (cont)
เราจะเห็นว่าหัวใจสาคัญของ DSS ที่ดีจาเป็ นที่จะต้องมี
บุคลากรที่มีความสามารถเหมาะสมที่สามารถปรับตัวให้เข้า
กับระบบ มีความคิดสร้างสรรค์ และสามารถทางานได้อย่าง
สอดคล้องกัน เพื่อให้บรรลุเป้ าหมายตามความต้องการของ
องค์การได้อย่างมีประสิ ทธิภาพและประสิ ทธิผล
ความแตกต่ างระหว่าง DSS กับระบบสารสนเทศอืน่
1. DSS ให้ความสาคัญกับการนาสารสนเทศไปประกอบการตัดสิ นใจ
ของผูใ้ ช้ มิใช่การรวบรวม การหมุนเวียน และการเรี ยกใช้ขอ้ มูลใน
งานประจาวันเหมือนระบบสารสนเทศสาหรับการปฏิบตั ิการ
 2. DSS ถูกพัฒนาให้สามารถจัดการข้อมูล เพื่อสนับสนุนการตัดสิ นใจ
ในปัญหากึ่งโครงสร้าง และไม่มีโครงสร้าง ซึ่งมักจะเป็ นปั ญหาของ
ผูจ้ ดั การระดับกลางและผูบ้ ริ หารระดับสูง ขณะที่ระบบสารสนเทศใน
สานักงานจะเกี่ยวข้องกับการทางานประจาวันของพนักงาน หรื อ
หัวหน้างานระดับต้น

ความแตกต่ างระหว่ าง DSS กับระบบสารสนเทศอืน่ (cont)
3. DSS ถูกพัฒนาให้เหมาะสมกับการแก้ปัญหาของผูใ้ ช้ โดยต้องมีความ
ยืดหยุน่ สมบูรณ์และสะดวกต่อการใช้งาน ซึ่งแตกต่างจากระบบ
สารสนเทศในการปฏิบตั ิงานที่เก็บรวบรวม จัดระเบียบ และจัดการ
สารสนเทศทัว่ ไปขององค์การ
 4. ปั จจุบน
ั DSS มีแนวโน้มที่จะถูกพัฒนาขึ้นให้เหมาะสมกับการใช้งาน
บนเครื่ องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล เนื่องจากการขยายตัวของการใช้งาน
คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลในกลุ่มบุคคลระดับต่างๆขององค์การ รวมทั้ง
บุคลากรในระดับผูบ้ ริ หารขององค์การที่มีความสนใจและมีความรู ้ใน
เทคโนโลยีสารสนเทศมากขึ้น

ความแตกต่ างระหว่ าง DSS กับระบบสารสนเทศอืน่ (cont)

5. ผูใ้ ช้มีส่วนสาคัญในการออกแบบและการพัฒนา DSS เนื่องจากปัญหา
ในการตัดสิ นใจจะมีลกั ษณะที่เฉพาะตัว ตลอดจนผูใ้ ช้แต่ละคนจะ
เกี่ยวข้องกับปัญหา หรื อมีความถนัดในการใช้งานระบบสารสนเทศที่
แตกต่างกัน ประกอบกับผูใ้ ช้ส่วนมากจะมีความรู ้เกี่ยวกับเทคโนโลยี
สารสนเทศสูงขึ้น ปัจจุบนั การพัฒนา DSS จะนิยมใช้วิธีการทดลอง
ปฏิบตั ิแบบตอบโต้ (Interactive) หรื อการทาต้นแบบ (Prototyping
Approach) เพื่อทดลองใช้และพัฒนาระบบอย่างต่อเนื่องจนกว่าจะเป็ นที่
พอใจของผูใ้ ช้
ประเภทของ DSS
ภายหลังจากเริ่ มต้นพัฒนา DSS ในทศวรรษ 1970 ได้มีผพู ้ ยายามจาแนก
ประเภทของ DSS
เพื่อให้สะดวกต่อการใช้งาน ตัวอย่างเช่น
 Alter (1980) ได้ศึกษาการใช้ DSS ในองค์การต่างๆ โดยแบ่งการใช้
DSS ตามคุณสมบัติและระดับการใช้งานเป็ นกลุ่มต่างๆ ดังต่อไปนี้
ประเภทของ DSS (cont)
1.
 2.
 3.
 4.
 5.
 6.
 7.

File Drawer Systems
Data Analysis Systems
Analysis Information Systems
Accounting Models
Representational Models
Optimization Models
Suggestion Models
ประเภทของ DSS (cont)
จะเห็นว่า ถึงแม้ DSS จะถูกจัดเป็ นกลุ่มต่างๆ แต่กจ็ ะมีลกั ษณะร่ วมกัน
คือ DSS จะเปลี่ยนแปลง เพื่อสนองความต้องการของผูใ้ ช้ โดยปรับตัว
ตามระบบการทางาน และสถานการณ์ซ่ ึง Alter จาแนก DSS ออกตาม
คุณสมบัติของแต่ละระบบออกเป็ น 2 ประเภท คือ
 1. DSS แบบให้ ความสาคัญกับข้ อมูล (Data-Oriented DSS) เป็ น DSS
ที่ให้ความสาคัญกับเครื่ องมือในการจัดการและการวิเคราะห์ขอ้ มูล การ
ทดสอบทางสถิติ ตลอดจนการจัดข้อมูลในลักษณะต่างๆ เพื่อให้ผใู ้ ช้ทา
ความเข้าใจสารสนเทศ และสามารถตัดสิ นใจอย่างมีประสิ ทธิภาพ
ประเภทของ DSS (cont)
 2.
DSS แบบให้ ความสาคัญกับแบบจาลอง (Model-Based
DSS) เป็ น DSS ที่ให้ความสาคัญกับแบบจาลองการประมวล
ปัญหา โดยเฉพาะแบบจาลอง พื้นฐานทางคณิ ตศาสตร์
(Mathematical Model) และแบบจาลองการวิจยั ขั้นดาเนินงาน
(Operation Research Model) ซึ่งช่วยให้ผใู้ ช้สามารถวิเคราะห์
ปัญหา และปรับตัวแปรที่เกี่ยวข้อง เพื่อพิจารณาเลือก
ทางเลือกที่เหมาะสมที่สุด
การพัฒนา DSS
การพัฒนา DSS จะมีความแตกต่างจากการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อ
การจัดการโดยทัว่ ไป เนื่องจาก DSS ถูกออกแบบและพัฒนาขึ้นสาหรับ
ผูใ้ ช้เฉพาะกลุ่ม โดย DSS จะต้องการข้อมูลในปริ มาณที่เหมาะสมและ
ตามความต้องการของผูใ้ ช้ ซึ่งมีปริ มาณน้อยแต่เจาะจงกว่าระบบ
สารสนเทศเพื่อการจัดการ แต่ DSS ต้องอาศัยแบบจาลองการวิเคราะห์
ปัญหา ซึ่งสลับซับซ้อนกว่าระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการมาก
นอกจากนี้ DSS โดยส่ วนมากจะถูกออกแบบมาอย่างเฉพาะเจาะจงเพื่อ
ใช้ในการสนับสนุนและการแก้ปัญหาเฉพาะอย่าง ซึ่งต้องการความ
ยืดหยุน่ ในการปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์ที่เหมาะสม ดังนั้นการ
พัฒนา DSS จึงจาเป็ นที่จะต้องให้ผใู ้ ช้มีส่วนร่ วมในการพัฒนา ด้วย ซึ่ง
เราจะกล่าวถึงขั้นตอนการพัฒนาระบบ DSS ดังต่อไปนี้
1. การวิเคราะห์ ระบบ (System Analysis)
เป็ นขั้นตอนแรกในการพัฒนา DSS โดยมีเป้ าหมายเพื่อที่จะกาหนดถึง
ปัญหา ตลอดจนวิเคราะห์หาขั้นตอนที่สาคัญในการตัดสิ นใจแก้ปัญหา
นั้นๆ โดยผูท้ ี่จะใช้ระบบสมควรที่จะมีส่วนร่ วมในขั้นตอนนี้เป็ นอย่างยิง่
เนื่องจากผูใ้ ช้จะรับทราบและเกี่ยวข้องกับปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นในการ
ทางาน จึงสามารถกาหนดและสรุ ปปัญหาอย่างครอบคลุม จากนั้นกลุ่มผู ้
วิเคราะห์ระบบจะศึกษาถึงความเหมาะสมและความพอเพียงของข้อมูลที่
จะนามาวิเคราะห์ ตลอดจนลักษณะของปัญหาว่าเหมาะกับการใช้ DSS
ช่วยหรื อไม่ ก่อนที่ขา้ มไปยังขั้นตอนต่อไป
2. การออกแบบระบบ (System Design)
DSS จะเป็ นระบบสารสนเทศที่มีความพิเศษในตัวเองที่สามารถเปลี่ยนแปลง
และพัฒนาไปเรื่ อยๆ ผูอ้ อกแบบควรจะออกแบบให้ระบบ มีความยืดหยุน่ สูง
สามารถปรับตัวได้ตามความเหมาะสมและมีความสะดวกต่อผูใ้ ช้ ประการ
สาคัญ DSS จะเกี่ยวข้องกับปัญหากึ่งโครงสร้าง หรื อไม่มีโครงสร้าง ซึ่งยาก
ต่อการกาหนดรายละเอียดและกาหนดแนวทางการตัดสิ นใจล่วงหน้า
โดยเฉพาะการกาหนดคุณสมบัติของระบบและตรรกะของการตัดสิ นใจ การ
พัฒนา DSS จึงนิยมใช้วิธี “การพัฒนาการจากต้นแบบ (Evolutionary
Prototyping Approach)” โดยสร้างต้นแบบ (Prototype) ขึ้นเพื่อการศึกษาและ
ทดลองใช้งานในขณะเดียวกัน จากนั้นจึงพัฒนาให้ระบบต้นแบบมีความ
สมบูรณ์ข้ ึน ประการสาคัญการทาต้นแบบขึ้นมาทดลองใช้งานทาให้การ
ออกแบบรัดกุม และช่วยลดความผิดผลาด เมื่อนาระบบไปประยุกต์ใช้งานจริ ง
3.การนาไปใช้ (Implementation)
DSS จะแตกต่างจากระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการโดยทัว่ ไปที่ผใู ้ ช้
จะมีส่วนร่ วมในการพัฒนาระบบจากแรกเริ่ มต้นจนถึงสภาวะปั จจุบนั
และจะพัฒนาต่อไปในอนาคต ดังนั้นนักพัฒนาระบบสมควรที่จะเก็บ
รายละเอียดและข้อมูลของระบบไว้อย่างดีเพื่อที่จะนามาใช้อา้ งอิงใน
อนาคต นอกจากนี้การติดตามตรวจสอบ และประเมินผลการทางาน
ของระบบนับเป็ นสิ่ งสาคัญในการตรวจสอบการทางานของระบบ
หลังการนาไปใช้งาน โดยที่ผอู ้ อกแบบสมควรจะประเมินปัญหาที่
เกิดขึ้น เพื่อจาไปใช้ปรับปรุ งแก้ไขระบบในอนาคต
3.การนาไปใช้ (Implementation) (cont.)
ปัจจุบนั ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศช่วยให้ผใู ้ ช้สามารถ
พัฒนา DSS บนคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล โดยใช้ชุดคาสัง่ ประเภท Spread
Sheet เช่น Excel หรื อ Lotus เป็ นพื้นฐานโดยสร้างแบบจาลองการ
ตัดสิ นใจและปรับเปลี่ยนข้อมูลของตัวแปรแต่ละตัว เพื่อทดสอบผลลัพธ์
ที่เกิดขึ้น เช่น การปรับราคาสิ นค้าจะมีผลต่อยอดขายอย่างไร เป็ นต้น ซึ่ง
ผูใ้ ช้สามารถนาแบบจาลอง สาหรับการตัดสิ นใจมาทดสอบปฏิบตั ิใน
สถานการณ์จาลอง (Simulated Situation) จนกว่าจะสามารถให้ผลลัพธ์ที่
พอใจ ซึ่งจะส่ งผลต่อรู ปแบบและพัฒนาการของ DSS สาหรับการใช้งาน
ทางธุรกิจในอนาคต