ระบบสนับสนุนการตัดสินใจสำหรับกลุ่ม

Download Report

Transcript ระบบสนับสนุนการตัดสินใจสำหรับกลุ่ม

ระบบสนับสนุ นการตัดสินใจ
Decision Support System
ระดับของการตัดสินใจภายในองค์การ
เราสามารถจาแนกระดับการตัดสิ นใจของผูบ้ ริ หารภายในองค์การ
ได้ 3 ระดับ ได้แก่
1. การตัดสิ นใจระดับกลยุทธ์ (Strategic Decision Making)
- เป็ นการตัดสิ นใจของผูบ้ ริ หารระดับสูงสุ ด ซึ่งจะให้ความ
สนใจต่ออนาคตหรื อสิ่ งที่ยงั ไม่เกิดขึ้น
- อันได้แก่ การสร้างวิสยั ทัศน์องค์การ การกาหนดนโยบายและ
เป้ าหมายระยะยาว การลงทุนในธุรกิจใหม่ และการขยาย
โรงงาน เป็ นต้น
ระดับของการตัดสินใจภายในองค์การ
- การตัดสิ นใจระดับกลยุทธ์มกั จะเกี่ยวข้องกับความไม่แน่นอน
ของสถานการณ์ที่จะเกิดขึ้น ซึ่งต้องอาศัยข้อมูลทั้งภายนอกและ
ภายในองค์การ
2. การตัดสิ นใจระดับยุทธวิธี (Tactical Decision Making)
- เป็ นหน้าที่ของผูบ้ ริ หารระดับกลาง โดยที่การตัดสิ นใจใน
ระดับนี้มกั จะเกี่ยวข้องกับการจัดการ เพื่อให้งานต่างๆ เป็ นไป
ตามนโยบายของผูบ้ ริ หารระดับสูง
- เช่น การกาหนดยุทธวิธีทางการตลาด การตัดสิ นใจในแผนการ
เงินระยะกลาง เป็ นต้น
ระดับของการตัดสินใจภายในองค์การ
3 . การตัดสิ นใจระดับปฏิบัตกิ าร (Operational Decision Making)
- เป็ นหน้าที่ของผูบ้ ริ หารระดับต้น ที่ใช้ในการตัดสิ นใจที่
เกี่ยวข้องกับการปฏิบตั ิงานเฉพาะด้าน ที่มกั จะเป็ นงานประจาที่มี
ขั้นตอนซ้ าๆ
- เช่น การมอบหมายงานให้พนักงานแต่ละคน การวางแผน
ควบคุมการผลิตระยะสั้น การวางแผนเบิกจ่ายพัสดุและการดูแล
ยอดขายประจาวัน
กระบวนการในการตัดสินใจ
- ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสื่อสารและโทรคมนาคม ทาให้
ข้อมูลข่าวสารสามารถเดินทางได้อย่างคล่องตัวและอิสระมาก
ขึ้น องค์การต่างๆ สามารถรับ-ส่ งข้อมูลข่าวสารและข้อสนเทศ
ได้ในระยะเวลาสั้นลง ทาให้โลกธุรกิจในปั จจุบนั หมุนเร็ วกว่าใน
อดีตมาก
- ทาให้การตัดสิ นใจในโอกาสหรื อปัญหา จะต้องทาภายใต้
ข้อจากัดทางสารสนเทศภายในระยเวลาที่เหมาะสม
- มีหลายครั้งจะต้องตัดสิ นใจอย่างรวดเร็ วภายใต้การกดดันของ
สถานการณ์
กระบวนการในการตัดสินใจ
- เช่นการเปลี่ยนแปลงของของอัตราแลกเปลี่ยน การนัดหยุดงาน
หรื อการต่อต้านจากสังคม
- ผูบ้ ริ หารที่จะประสบความสาเร็ จในอนาคต จะต้องปรับตัวให้
ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสิ่ งแวดล้อม พัฒนาทักษาะและสัง่
สมประสบการณ์ในการตัดสิ นใจ เพื่อที่จะสามารถวิเคราะห์และ
ตัดสิ นใจเลือกทางเลือกต่างๆ ได้อย่างแม่นยา มีประสิทธิภาพ
ขั้นตอนการตัดสินใจโดยใช้แบบจาลอง
1. การรับรู้ถึงโอกาสหรื อปัญหา
2. การตั้งเป้ าหมายในการตัดสิ นใจ
3. การสารวจขอบเขตและข้อจากัดในการตัดสิ นใจ
4. การกาหนดทางเลือกในการตัดสิ นใจ
5. การวิเคราะห์ทางเลือกต่างๆ
6. การเลือกทางเลือกที่เหมาะสม
7. การนาทางเลือกไปปฏิบตั ิ
8. การติดตามผลการปฏิบตั ิ
ประเภทการตัดสินใจ
1. การตัดสิ นใจแบบโครงสร้ าง( Structure) บางครั้งเรี ยกว่าแบบ
กาหนดไว้ล่วงหน้าแล้ว( programmed) เป็ นการตัดสิ นใจ
เกี่ยวกับปั ญหาที่เกิดขึ้นเป็ นประจา จึงมีมาตรฐานในการ
ตัดสิ นใจเพื่อแก้ปัญหาอยูแ่ ล้ว โดยวิธีการในการแก้ปัญหาที่ดี
ที่สุดจะถูกกาหนดไว้อย่างชัดเจน ตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้
- เช่น การตัดสิ นใจเกี่ยวกับระดับสิ นค้าคงคลัง จะต้องสัง่ ของ
เข้า( Order Entry) ครั้งละเท่าไร เมื่อใด
ประเภทการตัดสินใจ
2. การตัดสินใจแบบไม่เป็ นโครงสร้าง ( Unstructure) บางครั้ง
เรียกว่า แบบไม่เคยกาหนดล่วงหน้ามาก่อน ( Nonprogrammed)
เป็ นการตัดสินใจเกี่ยวกับปั ญหาซึ่งมีรปู แบบไม่ชดั เจนหรือมีความ
ซับซ้อน จึงไม่มีแนวทางในการแก้ปัญหาแน่ นอน เป็ นปั ญหาที่ไม่มี
การระบุวิธีแก้ไว้อย่างชัดเจนว่าต้องทาอะไรบ้าง การตัดสินใจกับ
ปั ญหาลักษณะนี้ จะไม่มีเครื่องมืออะไรมาช่วย มักเป็ นปั ญหาของ
ผูบ้ ริหารระดับสูง ต้องใช้สญ
ั ชาตญาณ ประสบการณ์ และความรูข้ อง
ผูบ้ ริหารในการตัดสินใจ
- เช่น เช่น การวางแผนการบริการใหม่ , การว่าจ้างผูบ้ ริหารใหม่เพิ่ม
หรือการเลือกกลุ่มของโครงงานวิจยั และพัฒนาเพื่อนาไปใช้ในปี หน้า
ประเภทการตัดสินใจ
3. การตัดสิ นใจแบบกึง่ โครงสร้ าง ( Semistructure ) เป็ นการ
ตัดสิ นใจแบบผสมระหว่างแบบโครงสร้างและแบบไม่เป็ น
โครงสร้าง คือบางส่ วนสามารถตัดสิ นใจแบบโครงสร้างได้ แต่
บางส่ วนไม่สามารถทาได้ โดยปัญหาแบบกึ่งโครงสร้างนี้ จะ
ใช้วธิ ี แก้ปัญหาแบบมาตรฐานและการพิจารณาโดยมนุษย์
รวมเข้าไว้ดว้ ยกัน คือมีลกั ษณะเป็ นกึ่งโครงสร้าง แต่มีความ
ซับซ้อนมากขึ้น ขั้นตอนจึงไม่ชดั เจนว่า จะมีข้นั ตอนอย่างไร
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
คือระบบสารสนเทศที่สามารถโต้ตอบกับผูใ้ ช้ โดยที่ระบบนี้จะ
รวบรวมข้อมูลและแบบจาลองในการตัดสิ นใจที่สาคัญ เพื่อ
ช่วยผูบ้ ริ หารในการตัดสิ นปัญหาแบบกึ่งโครงสร้างและไม่มี
โครงสร้าง
 DSS คือการผสมผสานอย่างเหมาะสมระหว่างความมีเหตุผล
ของมนุษย์กบั เทคโนโลยีสารสนเทศและชุดคาสัง่

ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
DSS ช่วยประมวลผลและเสนอข้อมูลการตัดสิ นใจแก่ผบู้ ริ หาร
เพื่อใช้ทาความเข้าใจและเป็ นแนวทางในการตัดสิ นใจ
 DSS ช่วย ประเมินทางเลือกที่เหมาะสมภายใต้ขอ
้ จากัดของแต่
ละสถานการณ์ ซึ่งจะช่วยผูบ้ ริ หารในการวิเคราะห์ และ
เปรี ยบเทียบทางเลือกให้สอดคล้องกับปัญหา

ส่วนประกอบของ DSS
1.
2.
3.
4.
อุปกรณ์
ระบบการทางาน
ข้อมูล
บุคลากร
1. อุปกรณ์
เป็ นส่ วนประกอบแรกและเป็ นโครงสร้างพื้นฐานของ DSS โดย
อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องสามารถแบ่งออกเป็ น 3 กลุ่มคือ
- อุปกรณ์ ประมวลผล ประกอบด้วย ระบบคอมพิวเตอร์ ซึ่ง
ปัจจุบนั หันมาใช้เครื่ องส่ วนบุคคล เพราะมีราคาถูก มี
ประสิ ทธิภาพดี และสะดวกใช้งาน โดยอุปกรณ์ที่ใช้
ประกอบด้วย
- อุปกรณ์ สื่อสาร เช่น ระบบเครื อข่ายเฉพาะพื้นที่ (LAN) ซึ่ง
นามาใช้สื่อสารข้อมูลและสารสนเทศของ DSS และอาจนามาใช้
ในการประชุมโดยอาศัยสื่ อวิดีโอ (Video Conference)
1. อุปกรณ์
หรื อการประชุมทางไกล(Teleconference) เนื่องจากผูม้ ีหน้าที่
ตัดสิ นใจอาจอยูค่ นละพื้นที่
- อุปกรณ์ แสดงผล DSS ที่มีประสิ ทธิภาพจาเป็ นต้องมีอุปกรณ์
แสดงผล เช่นจอภาพที่มีความละเอียดสูง เครื่ องพิมพ์อย่างดี
และอุปกรณ์ประกอบอื่นๆ เพื่อช่วยถ่ายทอดข้อมูลสารสนเทศ
2. ระบบการทางาน
ระบบการทางานเป็ นส่ วนประกอบหลักของ DSS เพราะถือว่าเป็ น
ส่ วนประกอบสาคัญที่ทาให้ DSS ทางานได้ตามวัตถุประสงค์
และความต้องการของผูใ้ ช้ ซึ่งมีส่วนประกอบ 3 ส่ วน ได้แก่
1. ฐานข้ อมูล (Database) โดย DSS จะมีหน้าที่รวบรวมข้อมูล
ที่สาคัญจากอดีตถึงปัจจุบนั แล้วนามาจัดเก็บ เพื่อให้ง่ายต่อ
การค้นหา ซึ่ งข้อมูลเหล่านี้จะถูกเก็บไว้อย่างสมบูรณ์
ครบถ้วน และแน่นอน เพื่อรอการนาไปประมวลผล
2. ระบบการทางาน
2. ฐานแบบจาลอง (Model Base) มีหน้าที่รวบรวม
แบบจาลองทางคณิ ตศาสตร์ และแบบจาลองในการวิเคราะห์
ปัญหาที่สาคัญ เพื่ออานวยความสะดวกต่อผูใ้ ช้
3. ระบบชุดคาสั่ งของ DSS (DSS Software System) เป็ น
ส่ วนประกอบสาคัญที่ช่วยอานวยความสะดวกในการโต้ตอบ
ระหว่างผูใ้ ช้กบั ฐานข้อมูลและฐานแบบจาลอง โดยระบบ
ชุดคาสัง่ จะมีหน้าที่จดั การ ควบคุมการพัฒนา จัดเก็บ และ
เรี ยกใช้แบบจาลองต่างๆ เพื่อนามาประมวลผลกับข้อมูลจาก
ฐานข้อมูล
3. ข้อมูล

ถ้าข้อมูลที่จะนามาใช้ในการประมวลผลมีคุณภาพไม่เพียงพอ
ก็จะไม่สามารถช่วยสนับสนุนการตัดสิ นใจของผูใ้ ช้ได้อย่าง
เหมาะสม โดยข้อมูล DSS ที่เหมาะสมมีลกั ษณะดังนี้
- มีปริ มาณพอเหมาะแก่การนาไปใช้งาน
- มีความถูกต้องและทันสมัยในระดับที่เหมาะสมกับความ
ต้องการ
- สามารถนามาใช้ได้สะดวก รวดเร็ ว และครบถ้วน
- มีความยืดหยุน่ และสามารถนามาจัดรู ปแบบเพื่อการวิเคราะห์
ไอย่างเหมาะสม
4. บุคลากร
เป็ นส่ วนที่เกี่ยวข้องกับ DSS ตั้งแต่การกาหนดปัญหาและความ
ต้องการพัฒนา การออกแบบและการใช้ DSS มี 2 กลุ่มดังนี้
1. ผูใ้ ช้ (End-User) เป็ นผูใ้ ช้งานโดยตรงของ DSS ได้แก่ ผูบ้ ริ หาร
ในระดับต่างๆ ตลอดจนนักวิเคราะห์และผูเ้ ชี่ยวชาญทางด้าน
ธุรกิจ
2. ผูส้ นับสนุน DSS (DSS Supporter) ได้แก่ ผูค้ วบคุมดูแลรักษา
อุปกรณ์ต่างๆ ผูพ้ ฒั นาระบบสนับสนุนการตัดสิ นใจ ผูจ้ ดั การ
ข้อมูล และที่ปรึ กษาเกี่ยบกับระบบ เพื่อให้ DSS มีความ
สมบูรณ์
คุณสมบัติของ DSS
1. ง่ายต่อการเรี ยนรู้และใช้งาน เนื่องจากผูใ้ ช้อาจมีทกั ษะทาง
สารสนเทศที่จากัด ตลอดจนความเร่ งด่วนในการใช้งาน ทาให้
DSS ต้องมีความสะดวกต่อผูใ้ ช้
2. สามารถโต้ตอบกับผูใ้ ช้ได้อย่างรวดเร็ วและมีประสิ ทธิ ภาพ โดย
จะต้องสามารถสื่ อสารกับผูใ้ ช้อย่างฉับพลัน ตอบสนองได้
ทันเวลา โดยเฉพาะสถานการณ์ที่ตอ้ งการความรวดเร็ ว
3. มีขอ้ มูลและแบบจาลองสาหรับสนับสนุนการตัดสิ นใจที่
เหมาะสม และสอดคล้องกับลักษณของปัญหา
คุณสมบัติของ DSS
4. สนับสนุนการตัดสิ นใจแบบกึ่งโครงสร้างและไม่มีโครงสร้าง
5. มีความยืดหยุน่ ที่จะสนองความต้องการที่เปลี่ยนแปลงไปของผูใ้ ช้
เนื่องจากลักษณะของปัญหาที่มีความไม่แน่นอนและ
เปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์
ความแตกต่างระหว่าง DSS กับระบบสารสนเทศอื่น
1. DSS ให้ความสาคัญกับการนาสารสนเทศไปประกอบการตัดสิ ต
ใจของผูใ้ ช้ มิใช่การรวบรวม และการเรี ยกใช้ขอ้ มูลในงาน
ประจาวันเหมือนสารสนเทศสาหรับการปฏิบตั ิการ
2. DSS ถูกพัฒนาให้สามารถจัดการข้อมูล เพื่อสนับสนุนการ
ตัดสิ นใจในปั ญหากึ่งโครงสร้างและไม่มีโครงสร้าง ซึ่ งมักจะ
เป็ นปัญหาของผูจ้ ดั การระดับกลางและผูบ้ ริ หารระดับสู ง ขณะที่
ระบบสารสนเทศในสานักงานจะเกี่ยวข้องกับการทางานประจา
ของพนักงานหรื อหัวหน้างานระดับต้น
ความแตกต่างระหว่าง DSS กับระบบสารสนเทศอื่น
3. DSS ถูกพัฒนาให้เหมาะสมกับการแก้ปัญหาของผูใ้ ช้ โดยต้องมี
ความยืดหยุน่ สมบูรณ์ และสะดวกต่อการใช้งาน ซึ่งแตกต่าง
จากระบบสารสนเทศในการปฏิบตั ิงานที่เก็บรวบรวม จัด
ระเบียบ และจัดการสารสนเทศทัว่ ไปขององค์การ
4. DSS มีแนวโน้มที่จะถูกพัฒนาขึ้นให้เหมาะสมกับการใช้งานบน
เครื่ องคอมพิวเตอร์ ส่วนบุคคล เนื่องจากการขยายตัวของการใช้
งานคอมพิวเตอร์ ส่วนบุคคลระดับต่างๆ ขององค์การที่มีความ
สนใจและมีความรู้ในเทคโนโลยีสารสนเทศมากขึ้น
ความแตกต่างระหว่าง DSS กับระบบสารสนเทศอื่น
5. ผูใ้ ช้มีส่วนสาคัญในการออกแบบและการพัฒนา DSS เนื่องจาก
ปัญหาในการตัดสิ นใจจะมีลกั ษณะที่เฉพาะตัว ตลอดจนผูใ้ ช้แต่
ละคนจะเกี่ยวข้องกับปัญหาหรื อมีความถนัดในการใช้งาน
ระบบสารสนเทศที่แตกต่างกัน ประกอบกับผูใ้ ช้ส่วนมากมี
ความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศสูงขึ้น
การพัฒนา DSS
1. การวิเคราะห์ ระบบ (System Analysis)
- มีเป้ าหมายเพื่อที่จะกาหนดถึงปัญหา
- วิเคราะห์หาขั้นตอนที่สาคัญในการตัดสิ นใจ
- ผูใ้ ช้ระบบสมควรที่จะมีส่วนร่ วมในขั้นตอนนี้เป็ นอย่างยิง่
เนื่องจากผูใ้ ช้จะทราบและเกี่ยวข้องกับปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นใน
การทางาน จึงสามารถกาหนดและสรุ ปปัญหาอย่างครอบคลุม
การพัฒนา DSS
2. การออกแบบ (System Design)
- ผูอ้ อกแบบควรจะออกแบบให้ระบบมีความยืดหยุน่ สูง
สามารถปรับตัวได้ตามความเหมาะสม
- มีความสะดวกต่อผูใ้ ช้
- การพัฒนา DSS นิยมใช้ “การพัฒนาการจากต้นแบบ
(Evolutionary Prototyping Approach) โดยสร้างต้นแบบขึ้น
เพื่อการศึกษาและทดลองใช้งานในขณะเดียวกัน จากนั้นจึง
พัฒนาให้ระบบต้นแบบมีความสมบูรณ์ข้ ึน
การพัฒนา DSS
3. การนาไปใช้ (Implementation)
- ผูใ้ ช้จะมีส่วนร่ วมในการพัฒนาระบบจากเริ่ มต้นจนถึงสภาวะ
ปัจจุบนั และจะพัฒนาต่อไปในอนาคต
- นักพัฒนาระบบสมควรที่จะเก็บรายละเอียดและข้อมูลระบบไว้
อย่างดี เพื่อที่จะนามาใช้อา้ งอิงในอนาคต
- ผูอ้ อกแบบจะต้อง ตรวจสอบ และประเมินปัญหาที่เกิดขึ้นเพื่อ
นาไปปรับปรุ งแก้ไขระบบในอนาคต
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจสาหรับกลุม่



Group Decision Support System : GDSS
พัฒนาขึ้นมาเพื่อเพิ่มประสิ ทธิภาพและประสิ ทธิ ผลในการ
ตัดสิ นใจของกลุ่ม
GDSS มีองค์ประกอบที่สาคัญ 3 ประการ คือ
1. อุปกรณ์ (Hardware)
2. ชุดคาสัง่ (Software)
3. บุคลากร (People)
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจสาหรับกลุม่
1. อุปกรณ์ (Hardware)
- อุปกรณ์ที่ออกแบบให้สอดคล้องตามหลัก การยศาสตร์
(Ergonomics) จะมีส่วนช่วยอย่างมากในการสร้างความ
สอดคล้องระหว่างอุปกรณ์และผูใ้ ช้ในการทางาน
- อุปกรณ์ ได้แก ห้องประชุม โต๊ะ เก้าอี้ เครื่ องฉายภาพ
คอมพิวเตอร์ ตลอดจนอุปกรณ์เครื่ องเขียน
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจสาหรับกลุม่
2. ชุดคาสั่ ง (Software)
- จะต้องมีลกั ษณะเหมาะสมในการรวบรวมและนาเสนอข้อมูล
- จะต้องบ่งชี้ถึงความจาเป็ นก่อนหลังในการตัดสิ นปั ญหาต่างๆ
- ช่วยส่ งเสริ มการแสดงความคิดเห็น เพื่อที่จะหาข้อสรุ ป
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจสาหรับกลุม่
2. ชุดคาสั่ ง (Software)
ชุดคาสัง่ ประกอบไปด้วย
- แบบสอบถามอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Questionnaire)
- ระบบรวบรวมและจัดระบบความคิด (Idea Organizer)
- เครื่ องมือระดมความคิดทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic
Brainstorming Tool)
- เครื่ องมือช่วยกาหนดนโยบาย (Policy Formation Tool)
- พจนานุกรมสาหรับกลุ่ม (Group Dictionaries)
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจสาหรับกลุม่
3. บุคลากร (People)
- จะรวมถึงสมาชิกของกลุ่ม ตลอดจนผูส้ นับสนุนในด้านต่างๆ ที่
ทาให้การทางานและการตัดสิ นใจของกลุ่มดาเนินไปอย่าง
เรี ยบร้อย
ประโยชน์ของระบบสนับสนุนการตัดสินใจสาหรับกลุ่ม
1. ช่วยในการเตรี ยมความพร้อมในการประชุม
2. มีการจัดเตรี ยมข้อมูลและสารสนเทศที่เหมาะสมในการประชุม
3. สร้างบรรยากาศในการร่ วมมือกันระหว่างสมาชิก
4. สนับสนุนการมีส่วนร่ วมและกระตุน้ การแสดงความคิดเห็นของ
สมาชิก
5. มีการจัดลาดับความสาคัญก่อนหลังของปัญหา
6. ช่วยให้การประชุมบรรลุผลในระยะเวลาที่สมควร
7. มีหลักฐานการประชุมแน่ชดั