เศรษฐกิจ การศึกษา การเมือง สังคม ปัจจัยทางสังคมกับการศึกษา

Download Report

Transcript เศรษฐกิจ การศึกษา การเมือง สังคม ปัจจัยทางสังคมกับการศึกษา

องค์ประกอบด้านสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง
กับการศึกษา
โรงเรี ยนบริ หารธุรกิจคิงส์ตนั พัทยา
26 ธันวาคม 2553
ดร. จักรพงศ์ สุ วรรณรัศมี
สังคม
การศึกษา
เศรษฐกิจ
การเมือง
ปัจจัยทางสั งคมกับการศึกษา
- การศึกษาเป็ นระบบของสังคม และต้องเป็ นไปตามจุดมุ่งหมายที่
สังคมวางไว้ รวมถึงการมีบทบาทตามที่สงั คมปรารถนา
- การศึกษาเป็ นตัวการสาคัญที่ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทาง
สังคม ในขณะเดียวกัน การเปลี่ยนแปลงทางสังคมจะมีอิทธิพล
ต่อการกาหนดรู ปแบบ หรื อระบบการศึกษาในสังคมได้
เช่นเดียวกัน
- การศึกษามีบทบาท หรื อมีอิทธิพลอย่างสาคัญต่อการ
เปลี่ยนแปลงทางสังคม แต่อิทธิพล หรื อบทบาทของการศึกษา
เป็ นเพียงอิทธิพลมือสอง ไม่ใช่มือหนึ่ง
การศึกษาเป็ นเครื่ องมือ หรื อเทคนิคให้คนใช้อย่างมี
เป้ าหมาย ด้วยความตั้งใจ และรู้ตวั อยูต่ ลอดเวลา เมื่อเป้ าหมาย
เปลี่ยนแปลง การศึกษาก็จะต้องเปลี่ยนตาม
•
องค์ประกอบปั จจัยทางสังคมต่อการศึกษา ได้แก่
1. ค่านิยม
2. วัฒนธรรม
3. ครอบครัว
4. จานวนประชากร
• ปัจจุบนั การศึกษาเป็ นกระบวนการทางสังคม
– ทางมานุษยวิทยา มองการศึกษาเป็ นกระบวนการถ่ายทอดวัฒนธรรม
(Enculturation Process) เป็ นการนาสมาชิกใหม่ให้สามารถดาเนินวิถี
ในสังคมของเขา และถ่ายถอดวัฒนธรรมไปยังคนคุ่นหลัง
– ทางเศรษฐศาสตร์ มองการศึกษาเป็ นกระบวนการพัฒนาสังคม
(Development Process) คือการพัฒนาตัวบุคคล และกาลังคน เพื่อ
นาไปสู่การพัฒนาสังคม
– ทางรัฐศาสตร์ มองการศึกษาเป็ นกระบวนการประชาธิปไตย
(Democratization Process) มองการศึกษาเป็ นสิ ทธิของมนุษย์ คือ
การศึกษาต้องเปิ ดโอกาสให้ทวั่ ถึง เสมอภาค และเป็ นธรรม
- ทางสังคมวิทยา มองการศึกษา เป็ นกระบวนการสังคมประกิต หรื อการ
ขัดเกลาทางสังคม (Socialization Process) การศึกษาเป็ นกระบวนการขด
เกลาทางสังคม อันจะช่วยให้บุคคลปรับตัว ให้เข้ากับชีวิตทีม่ ีระเบียบ
แบบแผนของสังคม
การศึกษาของแต่ละสังคมในแต่ละยุคสมัยจะขึ้นอยูก่ บั พลังทางสังคม
ที่มีอานาจคือ กลุ่มคนที่พยายามทาให้สงั คมเกิดการเปลี่ยนแปลง แต่
การศึกษาในตัวมันเองก็มีอานาจทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่างๆใน
สังคม เช่น
1.
2.
3.
4.
5.
ทาให้สมาชิกในสังคมมีความฉลาดรอบรู ้ โดยมีผลมาจากการสื บทอด
วัฒนธรรมของตน และเรี ยนรู ้วฒั นธรรมสังคมอื่นๆ
ทาให้มีการประดิษฐ์ คิดค้น แสวงหาสิ่ งใหม่ๆ มาสนองตอบความ
ต้องการของตน กับเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลง
ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ โดยการปรับปรุ งการทามาหา
กินของตนในสังคมให้ดีข้ ึน
ทาให้มนุษย์รู้จกั ปรับปรุ งชีวิตความเป็ นอยูใ่ ห้สะดวกสบายยิง่ ขึ้น
ทาให้มนุษย์สามารถติดต่อสื่ อสารกันได้รวดเร็ ว
สรุ ป
ปัจจัยทางสังคม เป็ นปัจจัยหลักประการหนึ่งที่มีอิทธิพลต่อการศึกษา
เพราะการศึกษาเป็ นกระบวนการทางสังคม การจัดการศึกษาต้องให้
สอดคล้องกับโครงสร้างของสังคม สังคมไทยกาลังเปลี่ยนแปลง เช่น
ขนาดของครอบครัวทั้งสังคมเมือง และสังคมชนบท ความสัมพันธ์ใน
ครัวเรื อนลดน้อยลง รู ปแบบการอบรมเลี้ยงดูเปลี่ยนไป มีการอพยพเข้าสู่
เมืองใหญ่มากขึ้น ลักษณะของสังคมจะเป็ นตัวกาหนดรู ปแบบของ
การศึกษา ถ้าจานวนประชากรของสังคมมีผอู ้ ยูใ่ นวัยศึกษาเล่าเรี ยนมาก ก็
จาเป็ นจะต้องจัดระบบการศึกษา ให้สอดคล้องกับความต้องการของ
ประชาชนให้มากที่สุดเท่าที่จะทาได้
ความแตกต่างระหว่างสังคมเมืองกับสังคมชนบท ลักษณะของชน
กลุ่มน้อย ความแตกต่างของชีวิตความเป็ นอยูข่ องบุคคลในสังคม ความ
แตกต่างของความเชื่อ และค่านิยม ซึ่งถ้าสังคมใดประชาชนมีความ
หย่อนยานในด้านระเบียบวินยั ไร้คุณธรรมมากขึ้นการจัดการศึกษาก็
จะต้องพยายามหาทางช่วยทาให้สมาชิกของสังคมนั้นเป็ นผูม้ คี ุณธรรม มี
ระเบียบวินยั อันดีงามขึ้นให้ได้
ในสังคม สิ่ งเหล่านี้ต่างมีอิทธิพลต่อการศึกษาทั้งสิ้ น ตราบใดที่
ลักษณะทางสังคมมีความหลากหลาย ตราบนั้น ความต้องการทางการ
ศึกษาย่อมแตกต่างกันไป ความสามัคคีกลมเกลียวของบุคคลในสังคม
ย่อมช่วยให้การกาหนดนโยบายทางการศึกษาเหมาะสมสอดคล้องกับ
ลักษณะของสังคม
•
ปัจจัยทางเศรษฐกิจกับการศึกษา
• การจัดการศึกษาเป็ นการพัฒนาทุนมนุษย์และทุนทางสังคมที่เป็ นปัจจัย
สาคัญที่สุดในกระบวนการพัฒนาทางเศรษฐกิจ
• การจัดการศึกษาให้กบั ประชาชนอย่างทัว่ ถึง มีคุณภาพและประสิ ทธิภาพ
ประชากรมีความรู ้ความสามารถ มีทกั ษะและเป็ นพลเมืองดีที่มีความ
รับผิดชอบ สามารถแก้ไขปัญหาและพัฒนาเศรษฐกิจให้ประสบ
ความสาเร็ จได้
• เศรษฐกิจในประเทศมีความมัน่ คง มัง่ คัง่ ส่ งผลให้การจัดการศึกษามี
ประสิ ทธิภาพและคุณภาพ
• การศึกษาเป็ นการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้เป็ นทรัพยากรที่มีคุณค่า เป็ น
การสะสมทุนมนุษย์ (Human Capital) ซึ่งจะมีผลต่อการพัฒนาและ
สะสมทุนทางสังคม (Social Capital) คือสร้างความมัน่ คง และความเท่า
เทียมกันทางด้านสถานะและรายได้
• ระบบการศึกษาเปรี ยบเสมือนโรงงานที่แปลงหรื อผลิตแรงงานให้เป็ น
ทรัพยากรที่มีค่า แรงงานเป็ นส่ วนหนึ่งของปัจจัยการผลิตทีใ่ ช้ร่วมกับ
ทรัพยากรอื่นๆ เช่น เครื่ องมือ เครื่ องจักร เทคโนโลยี วัตถุดิบ เพื่อผลิต
สิ นค้าบริ การสนองตอบความต้องการของมนุษย์ การศึกษาจึงมีผล
โดยตรงต่อการเจริ ญเติบโตของระบบเศรษฐกิจ
• ปัจจัยทางเศรษฐกิจเป็ นปัจจัยหลักอีกประการหนึ่งที่มีอิทธิพลต่อ
การศึกษาโดยตรง เพราะการศึกษาเป็ นการลดทุนทั้งภาครัฐและเอกชน
• เศรษฐกิจของประเทศเป็ นเครื่ องบ่งชี้วา่ รัฐจะสามารถลงทุนทาง
การศึกษาได้มากน้อยเพียงใด ถ้าสังคมหรื อประเทศชาติมีระบบเศรษฐกิจ
ดีสมบูรณ์มนั่ คง พลังทางเศรษฐกิจก็จะมีอิทธิพลต่อการเกื้อหนุนระบบ
การศึกษาอย่างมาก เช่น ออกมาในรู ปอาคารเรี ยน วัสดุอุปกรณ์การศึกษา
จานวนครู อาจารย์ เงินเดือน รวมถึงอุดมการณ์ของครู อาจารย์ดว้ ย
• เศรษฐกิจของบุคคลและครอบครัวเป็ นเครื่ องบ่งชี้วา่ บุคคลจะสามารถ
ได้รับการศึกษาในระดับและประเภทที่ตนเองปรารถนาได้มากน้อย
เพียงใด
•
การจัดการศึกษาจะไม่สามารถบรรลุเป้ าหมายได้ ถ้าหากประเทศขาด
ความมัน่ คงทางเศรษฐกิจ ปัจจัยทางเศรษฐกิจที่มีอิทธิพลต่อการศึกษา
ได้แก่
1. อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจ
2. โครงสร้างการผลิตของประเทศ
3. แรงงานและการจ้างงาน
4. การกระจายรายได้
• สรุ ป เศรษฐกิจกับการศึกษาต่างมีความสัมพันธ์เกี่ยวเนื่องกัน
เป็ นเหตุและผลซึ่งกันและกัน และเป็ นความสัมพันธ์ทมี่ ีอิทธิพล
ต่อกันทั้งทางตรงและทางอ้อม ดังนั้นหากประเทศไทย และ
หน่วยงานทางการศึกษาต้องการพัฒนาการศึกษาของชาติให้คน
ไทยมีคุณภาพ เป็ นคนดี คนเก่ง และมีความสุ ข จาเป็ นต้องพัฒนา
เศรษฐกิจควบคู่กบั การศึกษา
ปัจจัยทางการเมืองกับการศึกษา
• พืน้ ฐานแนวคิด
• การศึกษาเป็ นผลมาจากโครงสร้ างและกระบวนการทางการเมือง
การให้ ความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ การพัฒนาทักษะ
นิสัย และทัศนคติต่าง ๆ ให้ เกิดขึน้ ในตัวผู้เรียนเพือ่ ช่ วยให้ เขาได้ ดาเนิน
ชีวติ อย่ างถูกต้ องเหมาะสมและควรค่ าแก่สังคม
การเมือง เป็ นเรื่องของอานาจฝ่ ายการเมืองใช้
อานาจในการดาเนินการปกครองซึ่งจะอยู่ใน
รูปของกฎหมาย การกาหนดนโยบายและ
การจัดสรรทรัพยากร
การเมือง เป็ นเรื่องของคุณธรรมหาก
นักการเมืองเป็ นผู้มีคุณธรรม มีความ
ยุติธรรม ไม่ เห็นแก่ประโยชน์ ส่วนตัว
มากกว่ าส่ วนรวม ก็จะทาให้ บ้านเมือง
เจริญก้าวหน้ า โดยการกาหนดนโยบายทีด่ ี
• การเมือง เป็ นเรื่องของผลประโยชน์ การเมืองจะเป็ นฝ่ ายจัดสรรทรัพยากร
ของชาติเพือ่ สาธารณะชน มุ่งผลประโยชน์ เพือ่ ความสุ ขของประชาชน ไม่ ใช่
เป็ นนักการเมืองเพือ่ ประโยชน์ ของตนเอง
• หน้ าที/่ ความสาคัญของการเมือง
ตัดสิ นใจ
ออกกฎหมาย/คาสั่ ง
กาหนดนโยบาย
ความสั มพันธ์ ระหว่ างการเมืองกับการศึกษา
• การเมือง มีอทิ ธิพลและอานาจหน้ าที่เรื่องการศึกษา เช่ น การจัดสรร
ทรัพยากร ค่ าใช้ จ่าย โครงสร้ างและระบบการศึกษา
• การศึกษา เป็ นกระบวนการถ่ ายทอดความรู้ ค่ านิยม ความคิด ความเชื่อ
เจตคติ เรื่องทางการเมืองให้ กบั ประชาชน/พลเมือง
• ผู้สาเร็จการศึกษาจะไปเป็ นนักการเมือง
บทบาทของการศึกษาที่มีตอ่ การเมือง
อริสโตเติล
 รัฐ เป็ นอย่างไร การศึกษาก็เป็ นเช่นนั้น
 เป้าหมายการศึกษา คือ การปรับปรุงคน
และสังคม โดยการสร้างคนให้สานึก
แห่งการรับใช้และการปรับปรุง
มนุษยชาติ
บทบาทของการศึกษาที่มีตอ่ การเมือง
Jame S.Coleman
 รัฐ ต้องการอะไร ก็ใส่สิ่งนั้นไปในโรงเรียน
 หน้าที่ทางการเมืองของการศึกษา
1.การขัดเกลาทางการเมือง
2.การเลือกสรรทางการเมือง
3.การบรูณาการทางการเมือง/
สร้างความเป็ นปึ กแผ่นในสังคม
บทบาทของการศึกษาที่มีตอ่ การเมือง
• พัฒนาผูน้ าทางการเมือง โดยผ่านระบบการศึกษา
• เตรียมให้ประชาชน/พลเมืองให้มีคุณภาพ...
- มีความรูค้ วามสามารถ
- มีระเบียบวินยั
- มีความซื่อสัตย์สุจริต
- มีความจงรักภักดีตอ่ ชาติ
การเมืองกับนโยบายทางการศึกษา
• การเมืองมีบทบาทหน้ าทีใ่ นการกาหนดทิศทางเป้าหมายของการ
ดาเนินการและพัฒนาส่ วนต่ าง ๆ ของสั งคม การศึกษา ของ
ประเทศ
• ผู้เกีย่ วข้ องกับการศึกษาจึงจาเป็ นต้ องศึกษาทาความเข้ าใจ
นโยบายด้ านการศึกษาของฝ่ ายการเมืองให้ กระจ่ างชัด เพือ่ นา
นโยบายไปสู่ การปฏิบัตใิ ห้ บังเกิดผลตามเจตนารมณ์ ของฝ่ าย
การเมือง
โครงสร้ างการปกครอง

ต้ องสอดคล้ องกับลักษณะของรู ปแบบการแบ่ งส่ วน
ราชการบริหารของประเทศ
 การจัดการศึกษาจะต้ องกระจายไปให้ เหมาะสม
และสอดคล้ องกับการแบ่ งส่ วนการปกครอง
 ข้ อมูลพืน้ ฐานของหน่ วยงานการศึกษา ต้ อง
นามาใช้ ในการวางแผนและบริหารการศึกษาด้ วย
ระบอบการปกครองหรืออุดมการณ์ ทางการเมือง
การศึกษามีหน้ าทีป่ ลูกฝังความเชื่อคุณค่า และทัศนคติ
ที่สอดคล้ องกับสภาพการปกครองโรงเรียนในระบอบประชาธิปไตย
บทบาทของการศึกษาที่มีต่อสถาบันการปกครองในส่ วนที่เกีย่ วกับ
ระบอบการปกครองหรืออุดมการณ์ ทางการเมือง ดังนี้
1. การขัดเกลาทางการเมือง
2. การเลือกสรรทางการเมือง
3. การสร้ างบูรณาการทางการเมืองและวัฒนธรรมทางการเมือง
ในปัจจุบันและอนาคต การเมืองจะเข้ ามามีส่วนเกีย่ วข้ อกับ
การศึกษามากยิง่ ขึน้ อันเป็ นผลสื บเนื่องมาจากการ
เปลีย่ นแปลงทางเทคโนโลยี การศึกษาเป็ นสิ่ งสาคัญและ
จาเป็ นของทุกคนเพือ่ ปรับปรุงชีวติ ของทุกคนให้ดขี นึ้
นโยบายด้ านการศึกษาของฝ่ ายการเมืองปรากฏอยู่ใน
เอกสารที่เกีย่ วข้ องต่ าง ๆ ทีส่ าคัญ ได้ แก่
 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสั งคมแห่ งชาติ
 รัฐธรรมนูญแห่ งราชอาณาจักรไทย
 แผนการศึกษาแห่ งชาติ
 พระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ
 นโยบายของพรรคการเมือง
 นโยบายของรัฐบาลทีแ่ ถลงต่ อรัฐสภา
 กฎหมายข้ อบังคับ ระเบียบ กฎเกณฑ์ ต่าง ๆ
กรอบความคิดเกีย่ วกับความสั มพันธ์ ระหว่ างการศึกษากับการเมือง
การศึกษาพัฒนาคนให้ มีคุณภาพ
คนมีคุณภาพเข้ าสู่ ระบบการเมือง
ระบบการเมืองมีคุณภาพ
ระบบการเมืองทาหน้ าทีอ่ ย่ างมีคุณภาพ
การศึกษามีคุณภาพ
ผลิตคนมีคุณภาพ
คนมีคุณภาพเข้ าสู่ ระบบต่ าง ๆ
คุณลักษณะของคนไทยทีพ่ งึ ประสงค์
เก่ ง
ดี
มีความสุ ข
คิดเป็ น
ทาเป็ น
แก้ ปัญหา
เป็ น
• สรุ ป
การเมืองเป็ นเรื่ องของอานาจ การกาหนดนโยบายและการ
ควบคุมดูแล ดังนั้นการเมืองจึงมีอิทธิพลอย่างมากต่อการศึกษา
โดยตรง การศึกษาเป็ นเครื่ องมือของรัฐในการพัฒนาประเทศ ผู้
มีอานาจจึงเป็ นผูช้ ้ ีนา กาหนดแนวทางและกรอบในการจัด
การศึกษา
สวัสดี