หลักการวิจัยทางการบริหารการศึกษา

Download Report

Transcript หลักการวิจัยทางการบริหารการศึกษา

Research Methodology for
Educational Administration
หลักการวิจัยทางการบริ หารการศึกษา
ณรงค์ศกั ดิ์ บุณยมาลิก
[email protected]
081-9119023
ชื่อ
นายณรงค์ ศักดิ์ บุณยมาลิก
คุณวุฒิ วท.บ. (ภูมิศาสตร์ ) มศว.ประสานมิตร
วท.ม. (การวิจยั พฤติกรรมศาสตร์ ) มศว.
Ph.D. Educational Development จาก JMI., Delhi, India
Cert. Grad. (Knowledge Management) จาก Hitotsubashi Univercity, Japan.
Cert. Dip. (Project Management) จาก MI, Khonkhaen, Thailand.
Provisional Cert. (Educational Planning) จาก UNESCO
วัตถุประสงค์ ของการเรียน
เพือ่ ให้ ผู้เรียนรายวิชานี้
๑. มีความรู้ ความเข้าใจในหลักและวิธีการวิจยั ทางการบริ หาร
การศึกษา
๒. สามารถอ่านงานวิจยั ทางการศึกษาได้เข้าใจ
๓. สามารถทาวิจยั ทางการศึกษาได้
๔. สามารถประยุกต์งานวิจยั มาใช้แก้ปัญหาและพัฒนางานด้าน
การบริ หารการศึกษาได้
บทที่ 1
ปรัชญาและแนวคิดของการวิจยั
ความหมายของการวิจัย
การแสวงหาความรู้ ด้วยวิธีการ ที่น่าเชื่อถือ
• ความรู ้ = ความจริ ง : ความเท็จ
• วิธีการ = เป็ นกระบวนการ มีข้นั ตอน
• น่าเชื่อถือ = ตรวจสอบได้ เป็ นที่ยอมรับ
ข้ อความจริง
•ข้ อเท็จจริง fact
•ความจริง truth
•สั จธรรม (ความเป็ นจริง)
Absolutely truth
การศึกษาข้ อความจริงด้ วย
วิธีการทางวิทยาศาสตร์
ระเบียบวิธีการหาความรู้ที่น่าเชื่อถือ
หลักการทางวิทยาศาสตร์
1. ทุกสิ่ งมี operational definition เพื่อบ่งบอกว่าสิ่ งไหน
คืออะไร
2. การศึกษาด้วยข้อมูลเชิงประจักษ์ (empirical data) เท่านั้น
3. เป็ นวัตถุวิสยั (objective) มากกว่าอัตวิสยั
(subjective)
4. พิสูจน์ได้ (verification) อย่างสมเหตุสมผล
5. การยืนยันด้วยการทาซ้ า (repetitions) อย่างเที่ยงตรง
(validity) และเพื่อให้มนั่ ใจได้ (reliability)
ขั้นตอนการวิจยั โดยทัว่ ไป
1.
2.
3.
4.
5.
ขั้นกาหนดปั ญหาที่ตอ้ งการคาตอบ จากกรอบความรู้
ข้อมูลที่มีอยู่
ขั้นออกแบบวิธีการศึกษา และสร้างสมมุติฐานที่
เป็ นไปได้
ขั้นเก็บรวบรวมข้อมูล
ขั้นวิเคราะห์ขอ้ มูล
ขั้นสรุ ปผล และขยายผลการศึกษา
การวิจัยคืออะไร ?
การศึกษาค้ นคว้ า เพื่อสืบหาข้ อความจริง โดยมีระเบียบ
วิธีการที่น่าเชื่อถือ ตรวจสอบได้ หรื อเป็ นวิทยาศาสตร์
ถ้ าเราจะค้ นหาความจริง ก็จะต้ องมีข้อตกลงกันเสียก่อนว่า
1. “ความจริ งนัน้ มีอยู่จริ ง ขึ้นอยู่ทีว่ ่าเราจะหาเจอหรื อไม่”
2. “แม้สิ่งต่าง ๆ จะเปลีย่ นแปลง แต่เปลีย่ นแปลงไปช้าพอทีเ่ ราจะศึกษาได้”
3. “เราเข้าสิ่ งทีเ่ ป็ นจริ งได้จาก ข้อเท็จจริ ง (fact) ความจริ ง (truth) ความเป็ น
จริ ง หรื อ สัจธรรม (absolutely truth) แล้วแต่ว่าเราจะเข้าถึงเพียงไร”
เราจะรู้ความจริงไปทาไม ?
“สิ่ งสาคัญที่จะทาให้ ชีวติ อยูร่ อดและมีความสุ ข คือการได้รู้จกั
ข้อความจริ ง (หรื อได้รับรู้สิ่งต่าง ๆ) เพื่อที่จะนาความรู ้น้ นั มา
ใช้ควบคุมให้เกิดสิ่ งที่ปรารถนา”
1. ใช้ บรรยาย
2. ใช้ อธิบาย
3. ใช้ ทานาย
4. ใช้ ควบคุม
การจะได้มาซึ่งความจริ ง
1.
2.
3.
4.
5.
6.
ถามผูร้ ู ้ มีคนบอก ได้ข่าวสาร
เฝ้ ามอง แอบดู ลอกเลียนแบบ
อ่านหนังสื อ ศึกษาค้นคว้า search จาก internet
วิเคราะห์ ไตร่ ตรอง ตรึ กนึกขึ้นมา
ทาการวิจยั อย่างมีรูปแบบ วิธีการ
ตรัสรู ้เอง
“บางครั้ง ความจริ งอาจรู ้ได้ง่าย ๆ แต่บางเรื่ อง ต้องแลกมาด้วยความยุง่ ยากลาบาก เสี่ ยง
อันตราย มีวธิ ี การมากมาย ลงทุนสู ง ใช้เวลานานกว่าจะได้มา และเมื่อได้มาแล้ว
ก็อาจจะไม่เข้าใกล้ความเป็ นจริ งนัก ไม่เป็ นที่ยอมรับ หรื อเกิดข้อผิดพลาดปะปน
อยูใ่ นความจริ งนั้น”
สิ่ งที่นกั วิจยั ต้องระมัดระวัง คือ จะรู ้หรื อยืนยัน
ได้อย่างไรว่าสิ่ งที่ เรารู ้มานี้เป็ นความจริ ง
ความจริง กับ ความร้ ู
1. เรารู ้จกั สิ่ งนั้นหรื อยัง ?
2. รู้ได้อย่างไรว่าจริ ง ?
3. สิ่ งที่เป็ นจริ งนั้น จริ งพอแล้วหรื อ ?
การทีจ่ ะเข้ าใจหลักการคิดในการวิจยั เชิงคุณภาพ
ต้ องเข้ าใจเรื่อง ความรู้ และความจริง
ความจริง อะไรคือความจริ ง
1. สานักบางสานักถือว่ า ความจริงเป็ น Perception หรื อสิ่ งที่เรารับรู ้วา่ มันมี
จริ ง ถ้ารับรู ้วา่ มันไม่มีจริ ง แสดงว่ามันไม่มี แต่ถา้ เราไม่รับรู ้กอ็ าจจะมีหรื อไม่มีก็
ได้
2. ความจริงมีอยู่แล้ ว แต่ ไม่ มใี ครรู้ ได้ (มีแต่พระเจ้าเท่านั้นที่รู้หรื อเป็ นของใน
ธรรมชาติ) ที่เรารู ้เป็ นความรู ้เฉพาะตัวเราอาจไม่ใช่สิ่งที่พระเจ้ารู้
3. อีกสานักบอกว่ า ความจริงเป็ นสิ่ งที่เราสร้ างขึน้
- ทฤษฎี Definition of operation ของ Sigma คือถ้าเราเชื่อว่ามีความ
จริ ง สิ่ งที่เกิดขึ้นก็จะเป็ นความจริ ง เช่น คนที่เชื่อว่า ตนเป็ นคนอ้วน เขาก็จะ
ประพฤติตนเหมือนคนอ้วนและมีน้ าหนักมากขึ้นตามมา
4. สานักสุ ดท้ ายบอกว่ า ความจริงเป็ นแค่ วาทกรรม ความจริ งไม่มี สิ่ งที่เราพยายาม
อธิ บายว่ามันเป็ นอย่างนั้นอย่างนี้ เป็ นแค่คาพูด ขึ้นอยูก่ บั สังคมวัฒนธรรม ไม่ใช่
ความเป็ นจริ ง
พืน้ ฐานด้ านปรัชญาของการวิจยั
พืน้ ฐานด้ านปรัชญาของการวิจัย
สาขาปรัชญา
ทีเ่ กีย่ วกับการวิจัย 5 สาขา
1. ภววิทยา Ontology (การรับรู้ตามสภาพ) ตั้ง
คาถามเกี่ยวกับธรรมชาติของความ
จริ ง หรื อ ปรากฏการณ์วิทยา
(Phenomenology)
2. ญาณวิทยา Epistemology (การหยัง่ รู้ถึงต้นสายปลาย
เหตุ) สนใจเรื่ องต้นกาเนิ ดและ
ธรรมชาติของการรู้ และการสร้าง
ความรู้
คาถาม
ทีจ่ ะวิจัย หรือเนือ้ หาสาขา
ธรรมชาติของโลกคืออะไร
อะไรคือสิ่ งที่เป็ นจริ ง
อะไรคือหลักฐานของความจริ ง
(เช่นการสารวจสิ่ งต่าง ๆ การค้นพบ การแสวงหา การศึกษาแบบฝังตัว ฯลฯ)
ความสัมพันธ์ของสิ่ งต่าง ๆ เป็ นอย่างไร
ให้คุณค่าในการเข้าใจโลก
(เช่นการศึกษาแบบย้อนรอย หาความสัมพันธ์ การสอบสวน ฯลฯ)
พืน้ ฐานด้ านปรัชญาของการวิจัย
สาขาปรัชญา
ทีเ่ กีย่ วกับการวิจัย
คาถาม
ที่จะวิจัย หรือเนือ้ หาสาขา
3. ตรรกวิทยา Logic (ความสมเหตุสมผล)
เกี่ยวกับการวิจยั ในเรื่ องหลักของการ
แสดงและพิสูจน์ความจริ ง
ข้อมูลต่างๆมีความเชื่อมโยงกันในเชิง
สาเหตุหรื อไม่
4. อันตวิทยา Teleology (ยึดเฉพาะประเด็น)
โดยทัว่ ไปเกี่ยวข้องกับคาถามเรื่ อง
วัตถุประสงค์ ให้คุณค่า Axiological
(การทดลอง พิสูจน์ทฤษฎีหรื อสมมุติฐาน ใช้สถิติ
ในการตรวจสอบ ฯลฯ)
วิจยั จะสนใจเรื่ องอะไร มีขอบเขต
เนื้อหาสาระอะไรบ้าง
(การวิจยั แบบปฏิบตั ิการ วิจยั ชั้นเรี ยน วิจยั สร้างนวัตกรรม ฯลฯ)
พืน้ ฐานด้ านปรัชญาของการวิจัย
สาขาปรัชญา
ที่เกีย่ วกับการวิจัย
5. วาทศาสตร์ Rhetorical
(การอธิบายความจริ ง)
ภาษา หรื อคาพูดเป็ นสิ่ งที่จะอธิบาย
ความจริ ง
คาถาม
ที่จะวิจัย หรือเนือ้ หาสาขา
ขอบข่ายของสิ่ งที่ศึกษามีอะไรบ้าง
บอกได้ดว้ ยคาพูด คาอธิบาย สิ่ งที่
อธิบายไม่ได้ ไม่ใช่สิ่งที่ศึกษา
(การวิเคราะห์ สังเคราะห์ เชิงเนื้อหา การตีความ หรื อการ
วิจารณ์ ฯลฯ)
ฐานคติทางปรัชญา
กับการนาไปประยุกต์ ใช้ ในการวิจัย
ฐานคติทางปรัชญากับการนาไปประยุกต์ ใช้ ในการวิจยั
ฐานคติ
ภววิทยา
Ontological
คาถาม
ลักษณะ
ธรรมชาติคือ
ความจริ งเป็ น
อะไร (ความจริ ง) วัตถุวิสยั มีอยูจ่ ริ ง
ขึ้นกับว่าเราจะ
เข้าถึงหรื อไม่
ตัวอย่ างการ
ประยุกต์ ใช้
นักวิจยั ใช้หลักฐาน
แสดงมุมมองต่างๆ
และมุ่งนาเสนอ
ปรากฏการณ์ที่
เป็ นไป
ฐานคติทางปรัชญากับการนาไปประยุกต์ ใช้ ในการวิจยั
ฐานคติ
ญาณวิทยา
Epistemological
คาถาม
ลักษณะ
สิ่ งต่าง ๆ สัมพันธ์ นักวิจยั พยายามที่
จะลดช่องว่าง
กันอย่างไร
ระหว่างตัวผูว้ ิจยั
กับสิ่ งที่ถูกวิจยั ให้
เหลือน้อยที่สุด
ตัวอย่ างการ
ประยุกต์ ใช้
นักวิจยั ร่ วมทางาน
ใช้เวลาอยูใ่ น
ภาคสนามกับผูม้ ี
ส่ วนร่ วมและ
กลายเป็ นส่ วนหนึ่ง
ของการศึกษา
ฐานคติทางปรัชญากับการนาไปประยุกต์ ใช้ ในการวิจยั
ฐานคติ
คุณวิทยา
(อันตวิทยา)
Axiological
คาถาม
ขอบเขตคุณค่า
ของสิ่ งนั้น เป็ น
อย่างไร
ลักษณะ
ตัวอย่ างการ
ประยุกต์ ใช้
นักวิจยั ยอมรับว่า
การวิจยั มีความ
เกี่ยวข้องกับคุณค่า
และอคติต่างๆ มี
อยู่ และจะต้องรู ้
ขอบเขตนั้นจึงจะ
ได้ความจริ ง
นักวิจยั อภิปรายคุณ
ค่าที่เป็ นตัว
กาหนดการอธิบาย
อย่างเปิ ดเผย และ
รวมเอาการตีความ
ของตนร่ วมกับการ
ตีความของผูม้ ีส่วน
ร่ วม
ฐานคติทางปรัชญากับการนาไปประยุกต์ ใช้ ในการวิจยั
ฐานคติ
วาทศาสตร์
Rhetorical
คาถาม
ลักษณะ
ภาษาของการวิจยั นักวิจยั เขียนใน
รู ปแบบของ
เป็ นอย่างไร
วรรณกรรมไม่เป็ น
ทางการ โดยใช้
ท่วงทานองเป็ น
กันเอง และใช้ศพั ท์
ทางคุณภาพและคา
จากัดความอย่างจากัด
ตัวอย่ างการ
ประยุกต์ ใช้
นักวิจยั ใช้การ
บรรยายแบบมี
ชีวิตชีวาอาจใช้
สัพนามบุรุษที่ 1
และใช้ภาษาของ
การวิจยั เชิงคุณภาพ
ฐานคติทางปรัชญากับการนาไปประยุกต์ ใช้ ในการวิจยั
ฐานคติ
วิธีวิทยา
Methodology
คาถาม
ลักษณะ
กระบวนการ นักวิจยั ใช้ตรรกวิทยา
วิจยั เป็ นอย่างไร เชิงอุปนัย ศึกษา
หัวข้อเรื่ องภายใน
บริ บทของมัน และใช้
การออกแบบที่
ยืดหยุน่
ตัวอย่ างการ
ประยุกต์ ใช้
นักวิจยั ทางานอย่าง
ยึดหลักการ และมีกฎ
เกณฑ์แน่นอน
มีการปรับปรุ งคาถาม
จากประสบการณ์ใน
สนามตลอดเวลา
กระบวนทัศน์ การวิจัย
หลักการคิดของปฏิฐานนิยม กับ นัยนิยม
เป็ นพืน้ ฐานของการวิจยั ว่ าจะดาเนินงานวิจยั รู ปแบบใด
กระบวนการคิดแบบ Positivism และ Interpretivism
กระบวนทัศน์ การวิจัย
คาถาม
1. การบรรยายว่า
สิ่ งนั้นเป็ นอย่างไร
(เช่นการศึกษาวัฒนธรรม เหตุการณ์
ปรากฏการณ์ทางสังคม ฯลฯ)
แนวปฏิฐานนิยม
แนวนัยนิยม
ความจริ งมีเพียงหนึ่ง
เราสามารถเข้าใจ
ทั้งหมดได้โดยแบ่ง
ส่ วนต่างๆ มาศึกษา
อย่างรอบคอบ
ความจริ งมีมากมาย
ความจริ งเหล่านี้เป็ น
ส่ วนต่าง ๆ ซึ่ ง
ประกอบกันขึ้น ที่
เกี่ยวข้องสัมพันธ์กนั
มีมิติต่าง ๆ กัน
กระบวนทัศน์ การวิจัย
คาถาม
2. การอธิ บายว่า
อะไรเกี่ยวข้อง
กับอะไร
(เช่นการเปรี ยบเทียบหาความสัมพันธ์)
แนวปฏิฐานนิยม
แนวนัยนิยม
ผูศ้ ึกษาอยูภ่ ายนอกสิ่ ง
ที่จะศึกษา มองเป็ น
วัตถุวสิ ยั ไม่ผกู พัน
กับสิ่ งนั้น
ผูศ้ ึกษาอยูใ่ นสิ่ งที่
ศึกษา แยกจากกัน
ไม่ได้ และเข้าใจสิ่ ง
นั้นอย่างเป็ นหรื อรู้
เห็นเอง
กระบวนทัศน์ การวิจัย
คาถาม
3. การทานายว่า
จะเกิดสิ่ งใดขึ้น
(เช่นการวิจยั อนาคต การศึกษาความ
ถดถอย การทดลอง)
แนวปฏิฐานนิยม
แนวนัยนิยม
ต้องขจัดสิ่ งแทรกซ้อน มีแนวคิด คติเดิมแทรก
และอคติ เพื่อจะทา อยูก่ ลางระหว่างผู้
ความเข้าใจให้ถูกต้อง ศึกษาและสิ่ งที่ถูก
ศึกษา เพื่อกาหนด
กรอบของสิ่ งที่จะ
ศึกษา
กระบวนทัศน์ การวิจัย
คาถาม
4. การควบคุม
สาเหตุ
ว่าปัจจัยอะไร
ทาให้เกิดอะไร
(การทดลองแบบบริ สุทธิ์ )
แนวปฏิฐานนิยม
แนวนัยนิยม
เหตุการณ์หนึ่งมาก่อน
อีกเหตุการณ์หนึ่ ง และ
อาจกล่าวได้วา่ เป็ น
สาเหตุของเหตุการณ์
นั้น
เหตุการณ์ต่างๆ เป็ น
สาเหตุของกันและกัน
เราสามารถค้นพบ
ความสัมพันธ์ที่มี
ลักษณะหลายทิศทาง
กระบวนทัศน์ การวิจัย
คาถาม
แนวปฏิฐานนิยม
5. การสรุ ปเป็ น
หลักทัว่ ไป
จะเกิดสิ่ งนั้นเป็ นไป
ได้เพียงไร
การอธิบายในช่วงเวลา
หนึ่งและสถานที่หนึ่ง
สามารถสรุ ปเป็ นหลัก
ทัว่ ไปในการอธิบาย
เวลาอื่นและสถานที่
อื่นได้ (Generate)
(การพิสูจน์ ตรวจสอบทฤษฎี)
แนวนัยนิยม
สิ่ งที่รู้ เป็ นคาอธิบาย
ชัว่ คราวสาหรับ
ช่วงเวลาหนึ่งและ
สถานที่หนึ่งเท่านั้น
กระบวนทัศน์ การวิจัย
คาถาม
6. การใช้ความรู้
ว่าวิจยั แล้วได้อะไร
(apply)
แนวปฏิฐานนิยม
แนวนัยนิยม
โดยทัว่ ไปนักปฏิฐาน โดยทัว่ ไป นักนัยนิยม
มุ่งค้นพบหรื อเปิ ดเผย
นิยมมุ่งพิสูจน์
ความจริ ง หรื อพิสูจน์ สมมุติฐาน
สมมุติฐาน
ฐานคติ แนวคิด ของการวิจยั
ในเชิงคุณภาพ (Qualitative Research)
และการวิจยั ในเชิงปริ มาณ (Quantitative Research)
กระบวนทัศน์ การวิจัย
คาถาม
1. โลกทางานอย่างไร
2.
แนวปฏิฐานนิยม
แนวนัยนิยม
ความจริ งมีเพียงหนึ่ง เราสามารถเข้าใจทั้งหมดได้โดยแบ่ง
ส่วนต่างๆ มาศึกษาอย่างรอบคอบ
ความจริ งมีมากมาย ความจริ งเหล่านี้เป็ นการสร้างทางกิจ
สังคม ซึ่งประกอบกันขึ้นเป็ นส่วนรวมทั้งหมด ที่เกี่ยวข้อง
สัมพันธ์กนั
ผูร้ ู ้และผูถ้ ูกรู ้แยกจากกันไม่ได้
ผูร้ ู ้สามารถอยูภ่ ายนอกสิ่ งที่จะถูกรู ้ วัตถุวสิ ยั อย่างแท้จริ งมี
ความเป็ นไปได้
อะไรคือความสัมพันธ์ระหว่างผูร้ ู ้และผูถ้ ูกรู ้
3. คุณค่ามีบทบาทอย่างไรในการเข้าใจโลก
ต้องปลอดคุณค่าเพื่อจะทาความเข้าใจ
คุณค่าแทรกอยูก่ ลางระหว่างผูร้ ู ้และผูท้ ี่ถูกรู ้ และกาหนด
รู ปร่ างของสิ่ งที่จะเข้าใจ
4. ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุมีความเป็ นไปได้หรื อไม่
เหตุการณ์หนึ่งมาก่อนอีกเหตุการณ์หนึ่ง และอาจกล่าวได้
ว่าเป็ นสาเหตุของเหตุการณ์น้ นั
เหตุการณ์ต่างๆ เป็ นสาเหตุของกันและกัน เราสามารถ
การอธิบายในช่วงเวลาหนึ่งและสถานที่หนึ่ง สามารถสรุ ป
เป็ นไปได้ที่จะให้คาอธิบายชัว่ คราวสาหรับช่วงเวลาหนึ่ง
เป็ นหลักทัว่ ไปในการอธิบายเวลาอื่นและสถานที่อื่นได้
และสถานที่หนึ่งเท่านั้น
โดยทัว่ ไปนักปฏิฐานนิยมมุ่งพิสูจน์ความจริ ง หรื อพิสูจน์
โดยทัว่ ไป นักนัยนิยมมุ่งค้นพบหรื อเปิ ดเผยสมมติฐาน
5. การสรุ ปเป็ นหลักทัว่ ไปเป็ นไปได้หรื อไม่
6. การวิจยั สร้างอะไรแก่ความรู ้
ค้นพบความสัมพันธ์ที่มีลกั ษณะหลายทิศทาง
สมมติฐาน
สมมติฐานเหล่ านีเ้ ป็ นรากฐานของแนวทางในการวิจยั ต่ างๆ
แนววิจัยเชิงปริมาณ
แนววิจัยเชิงคุณภาพ
ลักษณะการวิจัย
ลักษณะการวิจัย
โลกทัศน์
การจัดระบบความรู้
จานวนตัวแปร
รู ปแบบความสั มพันธ์
วิธีการตัดสิ นใจ
การอธิบาย
การนาเสนอสิ่ งที่ศึกษา
มุมมองของผู้วจิ ัย
กระบวนทัศน์
ปฏิฐานนิยม
ไม่ ซับซ้ อน
มีลาดับชั้นทิศทางเดียว
จากัด
จักรกล
กาหนดไว้ แล้ว
เชิงสาเหตุทางเดียว
ประกอบชิ้นส่ วนเข้ าด้ วยกัน
วัตถุวสิ ั ย
กระบวนทัศน์
นัยนิยม
ซับซ้ อน
มีลาดับชั้นหลายทิศทาง
มีไม่ จากัด
3 มิติ
กาหนดไม่ ได้
เชิงสาเหตุ 2 ทิศทาง
การวิวฒ
ั นาการของส่ วนต่ างๆ
อัตวิสัย หลายมุมมอง
การออกแบบวิธีการศึกษาเพื่อให้ได้คาตอบที่ตอ้ งการ
วัตถุประสงค์ ของการวิจัย
กาหนดเป็ นคาถาม
ทีต่ ้ องการคาตอบ
ลงมือศึกษา
แล้วจะลงศึกษาอย่างไร
จึงจะได้ขอ้ คาตอบ
สรุปผลการวิจัย
อะไรบ้ างทีเ่ ราอยากรู้ อยากค้ นหา
1. ถ้าเรื่ องนั้นเริ่ มจากศูนย์ เราก็ตอ้ งรู ้จกั สิ่ งนั้น ๆ ให้ได้ก่อน เช่น คุณภาพ
การศึกษาคืออะไร Tsunami คืออะไร KM คืออะไร ฯลฯ เป็ น
การศึกษา what และ how much
2. ถ้าเรารู ้สิ่งนั้นแล้ว ขั้นต่อไปคือการหาว่าสิ่ งนั้นเกีย่ วข้องกับสิ่ งอื่น เช่น
ICTส่ งผลต่อคุณภาพการศึกษาไหม หรื อ ผลจาก Tsunamiมี
อะไรบ้าง การจัด KM ในองค์กรทาอย่างไร เป็ นการศึกษา how
และ why
3. ถ้าเรารู ้จกั เรื่ องราวต่าง ๆ มากพอแล้ว เราต้องสามารถสร้างกฏเกณฑ์
ทฤษฎี หรื อ model ให้ผอู ้ ื่นเห็นสิ่ งทั้งหมดนั้นได้ดว้ ย เช่น อธิบาย
ผลจาก Tsunami ด้วย model อธิบายกฎKMขององค์กร
ฯลฯ เป็ นการศึกษา apply และ integration
ขอบเขตของสิ่ งที่เราศึกษา มีแค่ไหน
1. ถ้ามีตวั แปรจากัด และสามารถวัดได้ เราสามารถศึกษาได้ดว้ ยวิธีเชิง
ปริ มาณ ซึ่งมีความเป็ น scientific สูง
2. ถ้าเราจากัดตัวแปรให้อยูใ่ นกรอบ และเป็ นตัวแปรที่ไม่สามารถวัดได้
เราต้องศึกษา เชิงคุณภาพแบบมีกรอบในการศึกษา
3. ถ้าเราไม่จากัดตัวแปร ไม่ตีกรอบในการศึกษา และเปิ ดกว้างในการ
รับรู ้ทุกข้อมูล นั้นคือเราศึกษาสิ่ งที่พบนั้นด้วยตัวเรา ซึ่งมีความเป็ น
scientific ต่า
ความสัมพันธ์ระหว่างคาถามและคาตอบที่ตอ้ งการ
คาถาม
1. ความเกี่ยวข้องของตัว
แปรบางตัว
2. ความเกี่ยวข้องของตัว
แปรมากมาย
3. เหตุการณ์ที่มีโครงสร้าง
ในการศึกษา
4. เหตุการณ์ที่ไม่มี
โครงสร้างในการศึกษา
คาตอบ
วิจยั เชิงปริ มาณ
ปริ มาณหรื อ
คุณภาพก็ได้
๑. บอกด้วยค่าความสัมพันธ์
๒. อธิบายด้วยโมเดล
คุณภาพแบบมีกรอบ ๓. บอกเล่าประเด็น
Case study
๔. เล่าเรื่ อง
สิ่ งที่นกั วิจยั ต้องระมัดระวัง คือ จะรู ้หรื อยืนยัน
ได้อย่างไรว่าสิ่ งที่ เรารู ้มานี้เป็ นความจริ ง
ระเบียบวิธีการหาความรู้ที่น่าเชื่อถือ
หลักการทางวิทยาศาสตร์
1. ทุกสิ่ งมี operational definition เพื่อบ่งบอกว่าสิ่ งไหน
คืออะไร
2. การศึกษาด้วย empirical data เท่านั้น
3. เป็ นวัตถุวิสยั (objective) มากกว่าอัตวิสยั
(subjective)
4. พิสูจน์ได้ (verification) อย่างสมเหตุสมผล
5. การยืนยันด้วยการทาซ้ า (repetitions) อย่างเที่ยงตรง
(validity) และเพื่อให้มนั่ ใจได้ (reliability)
ขั้นตอนการวิจยั โดยทัว่ ไป
1. ขั้นกาหนดปัญหาทีต่ ้ องการคาตอบ จากกรอบ
2.
3.
4.
5.
ความรู้ ข้อมูลทีม่ อี ยู่
ขั้นออกแบบวิธีการศึกษา และสร้ างสมมุตฐิ านที่
เป็ นไปได้
ขั้นเก็บรวบรวมข้ อมูล
ขั้นวิเคราะห์ ข้อมูล
ขั้นสรุปผล และขยายผลการศึกษา
ประเภทของการทางานวิจยั
• การวิจยั เชิงปริ มาณ (Quantitative Research)
• การวิจยั เชิงคุณภาพ (Qualitative Research)
ด้ านความรู้
• วิจยั บริ สุทธิ์ (Pure Research)
• วิจยั ประยุกต์ (Applied Research)
ด้ านการใช้ งาน
• วิจยั ปฏิบตั ิการ (Action Research)
• วิจยั และพัฒนา (Research and Development : R&D)
• วิจยั ประเมินผล (Evaluation Research)
• วิจยั ชั้นเรี ยน (Classroom Research)
• วิจยั คลีนิก (Clinic Research)
รู ปแบบการวิจยั
• วิจยั เชิงสารวจ (Survey Research)
• วิจยั เชิงความสัมพันธ์ (Correlation Research)
• วิจยั เชิงสาเหตุ (Causal Research)
• วิจยั เชิงทดลอง (Experimental Research)
• วิจยั เอกสาร (Documentary Research)
• วิจยั เชิงเปรี ยบเทียบ (Comparative Study)
• กรณี ศึกษา (Case Study)
ด้ านวิธีการทางเนือ้ หา
• วิจยั เชิงชาติพนั ธ์ (Ethnography Research)
• วิจยั เชิงประวัติศาสตร์ (Historical Research)
• วิจยั ข้ามวัฒนธรรม (Cross Culture Research)
การวิจยั ตามเนื้อหา
•
•
•
•
•
•
•
•
•
การวิจยั การศึกษา
การวิจยั ทางจิตวิทยา
การวิจยั ทางประวัติศาสตร์
การวิจยั ทางเศรษฐศาสตร์
การวิจยั การเมืองและรัฐศาสตร์
การวิจยั ด้านศิลปวัฒนธรรม
การวิจยั ทางมานุษยวิทยา
การวิจยั ทางสังคมวิทยา
การวิจยั ทางศาสนาและปรัชญา
•
•
•
•
•
•
•
•
•
การวิจยั ทางเคมี
การวิจยั ทางฟิ สิ กส์
การวิจยั ทางชีวะวิทยา
การวิจยั ทางดาราศาสตร์
การวิจยั ทางภูมิศาสตร์
การวิจยั การเกษตร
การวิจยั เทคโนโลยี
การวิจยั ICT
การวิจยั ทางการแพทย์
งานศึกษา (study) บางอย่างอาจไม่ใช่การวิจยั
1.
2.
3.
4.
5.
6.
การสารวจความเห็นแบบโพลล์ (Poll)
การสารวจแบบ exploratory
การศึกษาเอกสาร
การวิเคราะห์ สังเคราะห์ขอ้ มูลเท่านั้น
การสร้างประดิฐกรรมที่มีอยูแ่ ล้ว
ปฏิบตั ิการที่ไม่ตอ้ งการคาตอบ