โรฮิงยา

Download Report

Transcript โรฮิงยา

โรฮิงยา
รู้จกั โรฮิงยากันก่อน
โรฮิงยา หรื อ โรฮิงญา เป็ นกลุ่มชาติพนั ธุ์ที่นบั ถือศาสนาอิสลามใน
ประเทศพม่า อาศัยอยูท่ างตอนเหนือของรัฐยะไข่ ทางตะวันตกของพม่า
(สมัยโบราณ มีชื่อว่า รัฐอะระกัน)
ชาวโรฮิ ง ยามี ถิ่ น ฐานอยู่ ใ นบริ เวณรั ฐ อะระกั น มาตั้ง แต่ ใ น
คริ สต์ศตวรรษที่ 7 ในอดีตบริ เวณนี้เป็ นถิ่นฐานของชาวมุสลิมอาหรับที่
เดินทางค้าขายมาตั้งแต่โบราณ
ชาวโรฮิ ง ยามี ล ัก ษณะทางกายภาพคล้า ยคลึ ง กับ ชาวเอเชี ย ใต้
โดยเฉพาะชาวเบงกอล บางส่ วนสื บเชื้อสายมาจากชาวอาหรับ เปอร์เซี ย
และปาทาน ที่อพยพมาตั้งแต่สมัยจักรวรรดิโมกุล
ด้วยเหตุที่ภูมิประเทศที่มีความซับซ้อน ยากต่อการคมนาคมติดต่อ
กับเมืองหลวงของประเทศ เพราะมีเทือกเขาอารากัน เป็ นเสมือนกาแพง
ขวางกั้นจากโลกภายนอก ทาให้ชาวยะไข่มีวิถีชีวิต และวิธีคดิ เป็ นอิสระ
จากชนส่ วนใหญ่ในพม่า
รัฐยะไข่ มีประชากรประมาณ ๒ ล้านคน ในสมัยอังกฤษเข้า
ปกครองเรี ยกรัฐยะไข่วา่ อารากัน (Arakan ) มีเมืองหลวงชื่อ สตวย
(Sittwe)
ประชากรชาวยะไข่ส่วนใหญ่เป็ นชาวพุทธ อยูท่ างด้านใต้ของรัฐ มี
ชาวมุสลิมประมาณ ๕ แสนคน อยูท่ างด้านเหนือ อีกสวนหนึ่งเป็ นมุสลิม
เข้ามาจากจิตตะกองอย่างผิดกฎหมาย พวกนี้แหละคือ “โรฮิงยา”
^ แผนทีป่ ระเทศเมียนม่ าร์ หรือ พม่ า แสดงทีต่ ้ังรัฐยะไข่ ^
* = สัญลักษณ์ แนวเทือกเขา อารากัน
** ยะไข่อยูด่ า้ นตะวันตกของเทือกเขาอารากันติดกับชายแดนบังคลาเทศ
ปัญหาเริ่มต้ นจาก พม่ า.......ฉีก
“สั ญญาปางหลวง”
ในยุคที่กระแสเรี ยกร้องเอกราชจากประเทศมหาอานาจในประเทศพม่า ชน
พม่าเอง และชนกลุ่มน้อยที่อยูใ่ นป่ าในเขาก็เรี ยกร้องเอกราชจากอังกฤษด้วยเช่นกัน
โดยมี ผูพ้ นั อู อ่องซาน (บิดาของ นางอ่องซาน ซุจี) เป็ นผูน้ าเรี ยกร้องเอกราช
ในที่สุด วันที่ ๒๗ ม.ค.๒๔๙๐ อังกฤษได้ลงนามในสัญญาให้เอกราชพม่า
วันที่ ๗ ก.พ.๒๔๙๐ จัดการประชุ มตัวแทนชนกลุ่มน้อยต่าง ๆ ที่ เวียงปาง
หลวง โดยมี ผูพ้ นั อ่องซาน เป็ นประธานในที่ประชุม
ในที่ ประชุมได้มีมติ ให้ชนกลุ่มน้อยต่าง ๆ ในพม่า รวมตัวกัน เป็ นอันหนึ่ ง
อันเดี ยวกันก่อน เพื่อแสดงพลังสามัคคีให้องั กฤษเห็ น เมื่ อได้เอกราชจากอังกฤษ
แล้ว จะอยูร่ ่ วมกันต่ออีก ๑๐ ปี เพื่อผนึกกาลังกันสร้างชาติของทุก ๆ ชน ให้เข้มแข็ง
ก่อนแยกย้ายกันไปเป็ นชาติอิสระของตนเองต่อไป
ข้อตกลงนี้ ได้มีการเซ็นสัญญาร่ วมกันที่เรี ยกกันว่า "สัญญาปางหลวง" เมื่อ
วันที่ ๑๒ ก.พ.๒๔๙๐
วันที่ ๑๙ ก.ค.๒๔๙๐ ผูพ้ นั อ่องซาน แกนนาการเจรจากับชนกลุ่มน้อยฝ่ าย
พม่า ที่ได้สัญญากับชนกลุ่มน้อย จะให้เอกราชหลังรวมชาติแล้ว ๑๐ ปี ถูกลอบ
สังหาร.......
วันที่ ๒๕ กันยายน พ.ศ.๒๕๐๑ อูนุ นายกรัฐมนตรี แห่งพม่า ได้เชิญชนกลุ่ม
น้อย ได้แก่ ไทยใหญ่ ฉิ่ น คะฉิ่ น มอญ กะเหรี่ ยง ยะไข่ ที่จะให้อิสระมาประชุม
พร้อมหน้ากัน พร้อมกับเลี้ยงต้อนรับอย่างเต็มที่
ย่างเข้าวันที่ ๒๖ กันยายน พ.ศ.๒๕๐๑ เวลาตีสาม (๐๓.๐๐) วิทยุทางการพม่า
ประกาศแถลงการณ์คณะปฎิวตั ิของ นายพลเนวิน ฯ ผูแ้ ทนชนกลุ่มน้อยที่มา
ประชุมถูกจับทั้งหมด
เจ้าเหยียบฟ้ า (ตัวแทนนักศึกษากลุ่มเพื่อเอกราชรัฐฉาน) ผูห้ าญกล้าประ
คารม และประณาม อูนุ ว่า เป็ นผูต้ ระบัดสัตย์ ในที่ประชุมถูกยิงตาย
ตามข่าวโดยวิทยุพม่าประกาศว่า เจ้าเหยียบฟ้ าได้ทาการ
ต่อสู ้และขัดขืนการจับกุม...... การที่พม่าหลอกเสื อออกจากถ้ า
มาฆ่าได้สร้างความเจ็บช้ าน้ าใจให้กบั ชนกลุ่มน้อยอย่างสุ ด ๆ
ตั้งแต่น้ นั มา ประเทศพม่าไม่เคยได้อยูส่ งบ มีปัญหากับชน
กลุ่มน้อยมาตลอด แม้กระทัง่ ยะไข่ ซึ่ งเป็ นชนหลังเขาก็ไม่เว้น
โรฮิงยา สาเหตุความขัดแย้ งระหว่ างสหภาพพม่ ากับ
บังกลาเทศ
ปั ญหาเกิดขึ้นในปี พ.ศ.๒๕๒๑ จากการที่ชาวมุสลิม
ชาวพม่า "โรฮิงยา" ได้หลัง่ ไหลอพยพเข้าประเทศ
บังกลาเทศที่มีชายแดนติดต่อกัน โดยอ้างว่าชาวมุสลิม
โรฮิงยาถูกรัฐบาลเผด็จการทหารพม่าได้ปฏิบตั ิการอย่าง
โหดร้ายทารุ ณ ใช้อาวุธข่มขู่ขบั ไล่พวกเขาออกจากที่อยู่
อาศัย เผาทาลายบ้านเรื อน ฆ่า ข่มขืนสตรี
ชนมุสลิมชาวพม่าโรฮิงยาที่หลัง่ ไหลอพยพเข้าประเทศ
บังกลาเทศ ได้ต้ งั ค่ายพักผูอ้ พยพเรี ยงรายอยูต่ ามชายแดนบังคลา
เทศ - พม่า ถึง ๗๐,๐๐๐ - ๑๐๐,๐๐๐ คน ทาให้เกิดปัญหาทาง
สังคมและเศรษฐกิจตามมา ทาให้บงั คลาเทศต้องประท้วง
สหภาพพม่าอย่างรุ นแรง ทาให้ เกิดความตึงเครียดระหว่ าง
ประเทศทั้งสอง
แต่ปัญหานี้ยงั ไม่จบ เพราะชาวโรฮิงยาส่ วนใหญ่ไม่ยอม
เดินทางกลับถิ่นเดิม เหตุการณ์ได้ผา่ นไปจนถึงปี พ.ศ.๒๕๓๓
ภาระที่บงั คลาเทศรับผิดชอบผูอ้ พยพทาให้เศรษฐกิจถึงกับ
ถดถอย ถึงแม้จะมีการเดินทางกลับถิ่นเดิมบ้าง แต่กม็ บี างส่ วนที่
ได้เดินทางกลับมายังบังคลาเทศอีก
ในเดือนมกราคม พ.ศ.๒๕๓๕ ความตึงเครี ยดระหว่างบัง
คลาเทศและพม่าได้ขยายตัวมากขึ้น สื บเนื่องจากปัญหาชายแดน
สองประเทศบังคลาเทศและพม่า ต่างก็ได้เพิ่มกาลังเฝ้ าระวัง
ชายแดนฝ่ ายละกว่าพันคน จากเหตุที่กองทัพพม่าข้ามชายแดน
เข้าไปก่อกวนมุสลิมโรฮิงยาในบังคลาเทศ และมุสลิมโรฮิงยาก
ลุ่มต่อต้านรัฐบาลเผด็จการทหารพม่าได้ขา้ มชายแดนจาก
บังกลาเทศเข้าไปปล้นในฝั่งพม่า
ในที่สุดนายบูทรอส บูทรอส กาห์ลี เลขาธิการสหประชาชาติ ได้ส่ง
ผูแ้ ทนจากสหประชาชาติลงไปแก้ปัญหาเพื่อให้เกิดสันติภาพ การเจรจา
ระหว่างสองชาติได้เกิดผลในเดือนเมษายน ในข้อตกลงที่จะส่ งผูอ้ พยพ
กลับบ้าน
อย่างไรก็ตาม พม่าได้ปฏิเสธที่จะยอมให้ผแู ้ ทนสานักงานข้าหลวงใหญ่แห่ ง
สหประชาชาติมาเป็ นสักขีพยาน ในความปลอดภัยในการส่ งผูล้ ้ ีภยั กลับ ดังนั้น จึงมี
ผูท้ ี่ยนิ ยอมเดินทางกลับถิ่นเดิมเพียงไม่มากนัก
จนกระทัง่ บัดนี้ ยังคงมีโรฮิงยาที่ตกค้างอยูใ่ นบังกลาเทศอีกจานวนมาก ต่างก็
ได้เข้าร่ วมขบสวนการก่อการร้าย ฮารกัต อูล ญิฮาด อิสลามหรื อฮุจิ
(Harkat Ui Jihad Islami -HUJI )
พันธมิตรของขบวนการอัล เคดาห์ ซึ่ งมี ฟาชรุ ล ราห์มาน เป็ นหัวหน้า
หลังจากนักรบโรฮิงยาได้ผา่ นการฝึ กโดยขบวนการฮูจิ ก็ถกู ส่ งไปยังสมรภูมิ
อัฟกานิสถาน แคชเมียร์ บอสเนียและเชชเนีย นักรบโรฮิงยาเหล่านั้นเมือ่ กลับจาก
สมรภูมิอฟั กานิสถาน ได้ผนั ตัวเองมาเป็ นขบวนการก่อการร้ายโรฮิงยาเต็มรู ปแบบ
นัน่ เป็ นความสัมพันธ์ของพม่าโรฮิงยากับขบวนการก่อการร้ายบังกลาเทศ
หนีไม่พน้ ที่จะมีโอกาสที่จะสัมผัสมือและเป็ นพันธมิตรกับขบวนการก่อการร้าย
จากทัว่ โลกในฐานะสหายร่ วมรบร่ วมอุดมการณ์
การจัดการด้ วยสั นติวธิ ี
การใช้สนั ติวิธีมีเหตุผลสาคัญตรงที่วา่ เป็ นวิธีการที่น่าจะมีการ
สูญเสี ยน้อยที่สุด ทั้งระยะสั้นระยะยาว ทั้งรู ปธรรมและนามธรรม ผิดกับ
การใช้ความรุ นแรง ซึ่งทุกฝ่ ายอ้างว่าเป็ นวิธีการสุ ดท้าย ซึ่งบางกรณี
สามารถบรรลุผล ในระยะสั้นเป็ นรู ปธรรมชัดเจน แต่หากความขัดแย้ง
ดารงอยูเ่ พียงแต่ถูกกดไว้ โอกาสที่จะเกิดความรุ นแรงในระยะยาวย่อมมี
อยู่ ส่ วนในทางนามธรรม เช่น ความเข้าใจอันดี ความสามัคคีปรองดอง
นั้นย่อมเกิดขึ้นได้ยากด้วยวิถีความรุ นแรง
บางคนมองสันติวิธีในลักษณะปฏิสมั พันธ์เชิงอานาจ เช่น การใช้
ปฏิบตั ิการไร้ความรุ นแรง เพื่อให้รัฐหรื อผูม้ ีอานาจเปลี่ยนแปลงนโยบาย
หรื อพฤติกรรมบางคนใช้สนั ติวิธี เพราะความเชื่อว่าจะให้ผลทีย่ งั่ ยืนและ
เป็ นไปตามหลักจริ ยธรรม หรื อ ศาสนธรรม บางคนใช้สันติวิธีตาม
หลักการบริ หารเพื่อลดความขัดแย้ง ไปใส่ รูปแบบอื่นที่จะจัดการได้
ดีกว่า โดยไม่ใช้ความรุ นแรง
ลักษณะสาคัญของสันติวิธี
ลักษณะสาคัญของสันติวิธี คือ ไม่ใช่วิธีที่เฉื่อยชาหรื อยอมจานน
หากเป็ นวิธีที่ขนั แข็งและต้องใช้ความคิดสร้างสรรค์ ไม่ใช่ยทุ ธวิธีที่
เลือกใช้ในบางโอกาส หากเป็ นยุทธศาสตร์ที่ปฏิบตั ิได้อย่าสม่าเสมอ เป็ น
สัจธรรมที่น่าเชื่อถือไม่ใช่วิธีที่ดีในเชิงกระบวนการเท่านั้น หากเป็ นวิธีที่
หวังผลที่กลมกลืนกับวิธีการด้วย
ความขัดแย้ งทางสั งคม และความมัน่ คงแห่ งชาติในมิตใิ หม่
ปั ญหาความขัดแย้งในสังคมที่มีผลกระทบต่อความมัน่ คงแห่ งชาติมี ๓ ระดับ คือ
ระดับความขัดแย้งในขั้นต้ น เป็ นความขัดแย้งเฉพาะหน้า ที่ตอ้ งประเมิน
สถานการณ์วา่ จะเกิดความรุ นแรงหรื อไม่ และมีทิศทางอย่างไร โดยเจ้าหน้าที่
ตารวจ หรื อ ทหารสามารถเข้ามาคลี่คลายสถานการณ์ได้
ระดับความขัดแย้งในเชิงโครงสร้ าง เป็ นความขัดแย้งที่เกิดขึ้นในระบบต่าง ๆ ของ
สังคม ซึ่ งต้องแก้ปัญหา ที่ระบบ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
ความขัดแย้งทางวัฒนธรรม เป็ นความขัดแย้งที่เกิดขึ้นจากแนวความคิดและการ
ดาเนินวิถีชีวติ ที่มีความแตก ต่างกัน ซึ่ งการแก้ไขปั ญหาความขัดแย้งในระดับนี้
ต้องอาศัยระยะเวลา และต้องให้ความสาคัญกับคนทุกเชื้อชาติและทุกวัฒนธรรม
จบการนาเสนอ
นางสาวจินตวีร์ ล่องวิไล
รหัสนักศึกษา 5320110010
วิชาเอกจิตวิทยา
ขอบคุณค่ะ