สงครามเกาหลี - ผลงานนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1

Download Report

Transcript สงครามเกาหลี - ผลงานนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1

ความขัดแย้งของประเทศประชาธิปไตย
และสังคมนิยมในภาวะสงครามเย็น
สงครามเกาหลี
สงครามเกาหลี
เมื่อสงครามโลกครัง้ ที่ 2 ยุตลิ ง เกาหลีเป็ นอีกประเทศหนึ่งทีถ่ ูกแบ่ง
ออกเป็ น 2 ประเทศโดยใช้เส้นขนานที่ 38 เป็ นเส้นแบ่งเขต โดยเกาหลีเหนือ
เป็ นประเทศทีป่ กครองโดยระบอบคอมมิวนิสต์ ส่วนเกาหลีใต้ปกครองใน
ระบอบประชาธิปไตย ต่อมาเมื่อ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2493 (ค.ศ.1950) ได้
เกิดสงครามเกาหลีข้ ึน เมื่อกาลังทหารเกาหลีเหนือทาการรุกข้ามเส้นขนานที่
38 ลงมา และเมื่อ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2493 (ค.ศ.1950) สามารถยึดกรุงโซล
ได้
สงครามเกาหลี
สหประชาชาติได้มีมติให้นากาลังทหารเข้าช่วยเกาหลีใต้ ภายใต้การนา
ของสหรัฐฯ (มีกาลังทหารจากประเทศไทยเข้าร่วมด้วย) เมื่อกาลัง
สหประชาชาติเข้าไปช่วยเหลือเกาหลีใต้ ทาให้จนี เคลื่อนย้ายกาลังพลเข้าสูพ่ ้ ืนที่
การรบตามมา ในสงครามเกาหลีตลอดห้วงเวลาร่วม 3 ปี ทแี่ ต่ละฝ่ ายทาการ
รบกันคือตัง้ แต่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2493 (ค.ศ. 1950) ถึง 27 กรกฎาคม
พ.ศ. 2496 (ค.ศ. 1953)
สงครามเกาหลี
นับตัง้ แต่วนั ที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ.2494 (ค.ศ. 1951) เป็ นต้นมา การ
สูร้ บด้วยกาลังทหารขนาดใหญ่แทบจะไม่เกิดขึ้นอีก ทาให้มีความพยายามทีจ่ ะ
เจรจาสงบศึกกันของทัง้ สองฝ่ าย โดยการเจรจายุตสิ งครามครัง้ แรกเกิดขึ้นที่
ร้านอาหารแห่งหนึ่งในเมืองเคซอง เมื่อ 10 กรกฎาคม พ.ศ.2494
(ค.ศ. 1951) ต่อมาได้ยา้ ยไปเจรจากันที่ ตาบลปั นมุมจอม (Punmumjom)
ข้อตกลงสงบศึกทีป่ ั นมุมจอมนี้เป็ นผลจากการเจรจาทีย่ ดื เยื้อถึง 255 ครัง้ ใช้
เวลา 2 ปี 17 วัน ในสงครามเกาหลีน้ ี มีผสู ้ ูญเสียจากการรบกว่า 4 ล้านคน
ทัง้ ทหารและพลเรือน
เส้นขนานที่ 38
สงครามในอินโดจีน
สงครามเวียดนาม
สงครามเวียดนาม
สถานการณ์เริม่ มาจากขบวนการเวียดมินห์ภายใต้การนาของ โฮจิมินห์ ได้
เคลื่อนไหวต่อต้านฝรัง่ เศสและญีป่ ุ่ นทีเ่ ข้ายึดครองเวียดนามในระหว่างสงครามโลก
ครัง้ ที่ 2 เมื่อญีป่ ุ่ นแพ้สงคราม ฝรัง่ เศสได้กลับเข้าไปมีอานาจในคาบสมุทรอินโดจีน
ทาให้เกิดการเคลื่อนไหวเพื่อต่อต้านฝรัง่ เศสอีกครัง้ โฮจิมินห์ได้รอ้ งขอให้สหรัฐฯ
ช่วยเหลือในการเจรจากับฝรัง่ เศสแต่สหรัฐฯได้น่ิงเฉยเพราะมีความเกรงใจฝรัง่ เศส
โฮจิมินห์จงึ ได้เปลี่ยนไปร้องขอความช่วยเหลือจากสหภาพโซเวียตและจีนแทน ซึง่ ก็
ได้รบั การตอบรับและได้รบั ความช่วยเหลือเป็ นอย่างดี
และสถานการณ์ในคาบสมุทรอินโดจีนได้เปลี่ยนแปลงไปเมื่อฝรัง่ เศสพ่ายแพ้
ต่อขบวนการเวียดมินห์ทเ่ี ดียนเบียนฟู ส่งผลให้ เวียดนาม ลาว เขมรได้รบั เอกราช
และด้วยความพ่ายแพ้น้ ีเองทาให้ฝรัง่ เศสต้องถอนตัวออกจากภูมิภาคนี้ สหรัฐฯ จึง
ได้ถือโอกาสนี้เข้ามามีบทบาทแทนฝรัง่ เศสในภูมิภาคทางเวียดนามใต้น้ ี
สงครามเวียดนาม
การเข้าไปมีอทิ ธิพลในเวียดนามใต้ได้นาไปสูก่ ารเกิดขึ้นของขบวนการเวียดกง
ซึง่ การต่อต้านนี้ได้สถานการณ์ได้ลุกลามไปสูส่ งครามจากัด (Limited War) ทีร่ ูจ้ กั
กันในชือ่ “สงครามเวียดนาม” โดยการสูร้ บในสงครามเวียดนามได้เปลี่ยนโฉมหน้า
ของการทาสงครามสมัยใหม่ดว้ ยบทเรียนราคาแพงของสหรัฐฯ นามาซึง่ การถอน
ตัวออกจากภูมิภาคนี้ เมื่อสหรัฐฯ ไม่สามารถสร้างชัยชนะขึ้นได้ในดินแดนเวียดนาม
สหรัฐฯได้ใช้เวลานานหลายปี ใช้กาลังพลมหาศาล กองทัพทีเ่ กรียงไกรมีอาวุธ
ยุทโธปกรณ์ทท่ี นั สมัย แต่สูญเสียกาลังพลเกือบจะ 6 หมื่นคนในขณะทีเ่ วียดนาม
สูญเสียคนไปหลายล้านคน (ในสงครามเวียดนามไทยสูญเสียทหารไป 351 นาย)
ในทีส่ ุดสหรัฐฯได้ถอนกาลังทหารออกไปจากภูมิภาคนี้ดว้ ยปั จจัยทาง
การเมืองภายในประเทศของตนเอง ทาให้เวียดนามรวมประเทศเวียดนามเหนือและ
ใต้และปกครองภายใต้ระบอบคอมมิวนิสต์ ต่อมาในสมัยประธานาธิบดีบิล คลินตัน
สหรัฐฯได้ประกาศฟื้ นฟูความสัมพันธ์ระหว่างสหรัฐ ฯ และเวียดนามขึ้นอีกครัง้
สงครามลาว
สงครามลาว
หลังจากฝรัง่ เศสได้ถอนตัวไปจากภูมิภาคนี้ไปพร้อมๆ กับการได้รบั
เอกราชของลาว แต่สถานการณ์ไม่ได้สงบเรียบร้อยตามมา เมื่อขบวนการ
กูช้ าติทมี่ ีความนิยมลัทธิคอมมิวนิสต์ ไม่ยอมรวมกับฝ่ ายรัฐบาลทีน่ ิยม
ประชาธิปไตย (เป็ นรัฐบาลทีฝ่ รัง่ เศสได้จดั ตัง้ ก่อนจะถอนทหารออก) ส่งผลให้
สงครามในลาวทีต่ อ่ สูเ้ พื่อเอกราชเปลี่ยนสถานภาพไปสูส่ งครามระหว่างลัทธิ
โดยสหรัฐฯได้ให้การสนับสนุนฝ่ ายรัฐบาล ในขณะทีฝ่ ่ ายขบวนการกูช้ าติได้รบั
การสนับสนุนจากพวกเวียดมินห์ แต่ฝ่ายรัฐบาลได้พ่ายแพ้เมื่อสหรัฐฯถอน
กาลังออกจากภูมิภาคนี้ ฝ่ ายลาวสูญเสียไปประมาณ 5 หมื่นคน
สงครามกัมพูชา
(เขมรแดง)
สงครามกัมพูชา (เขมรแดง)
เมื่อกัมพูชาได้รบั เอกราชหลังจากความพ่ายแพ้ของฝรัง่ เศสในเดียนเบียนฟู ได้ดาเนิน
นโยบายเป็ นกลางเพื่อเอาตัวรอดจากสถานการณ์รอบ ๆ ประเทศพร้อม ๆ กับรับการ
ช่วยเหลือจากทุกฝ่ ายทัง้ โลกประชาธิปไตยและโลกคอมมิวนิสต์ ต่อมาเมื่อสหรัฐฯไม่สามารถ
ควบคุมการดาเนินการต่างๆ ของเจ้าสีหนุในขณะนัน้ ได้ ทาให้สหรัฐฯสนับสนุนให้มีการ
ปฏิวตั ริ ฐั ประหารขึ้น ทาให้เจ้าสีหนุล้ ภี ยั ไปกรุงปั กกิ่งและจัดตัง้ รัฐบาลพลัดถิ่นขึ้น โดยร่วมมือ
กับฝ่ ายคอมมิวนิสต์ทรี่ ูจ้ กั กันในชือ่ “เขมรแดง (Khmer Rouge) หรือ “พรรคคอมมิวนิสต์
เขมร” (Khmer Communist Party) หรือ “กองทัพแห่งชาติกมั พูชาประชาธิปไตย”
(National Army of Democratic Kampuchea) คือ พรรคการเมืองกัมพูชาทีน่ ิยมลัทธิ
คอมมิวนิสต์ ปกครองราชอาณาจักรกัมพูชา ซึง่ ในขณะนัน้ ถูกเปลี่ยนชือ่ เป็ นกัมพูชา
ประชาธิปไตย ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2518 ถึง พ.ศ. 2522
ในทีส่ ุดเมื่อสหรัฐฯ ถอนตัวออกจากภูมิภาคนี้รฐั บาลกัมพูชาได้พ่ายแพ้ตอ่ เขมรแดง
และกัมพูชาได้เปลี่ยนแปลงการปกครองไปเป็ นระบอบสังคมนิยม ในความขัดแย้งนี้มี
ผูเ้ สียชีวติ ระหว่างสงครามกว่า 7 หมื่นคน เมื่อเขมรแดงทีน่ าโดยนายพลพต เข้ายึดครอง
กัมพูชาอีกกว่า 1.5 ล้านคน
เขมรแดง
สงครามในไทย
สงครามในไทย
ในช่วงสงครามโลกครัง้ ที่ 2 นัน้ แนวความคิดในเรือ่ งของการปกครองระบอบ
คอมมิวนิสต์ได้เริม่ แพร่หลายเข้ามายังประเทศไทย เมื่อ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2485 พรรค
คอมมิวนิสต์ไทยได้ถือกาเนิดขึ้น โดยมีวตั ถุประสงค์คอื “ต่อต้านญี่ปุ่นโดยประสานกับพรรค
คอมมิวนิสต์จนี ” เมื่อสงครามโลกครัง้ ที่ 2 ยุตลิ งการเคลื่อนไหวของพรรคคอมมิวนิสต์แห่ง
ประเทศไทยเริม่ มีบทบาทมากขึ้นเรือ่ ยหๆ ซึง่ เดิมทีได้รบั การสนับสนุนจากเวียดนามต่อมา
ได้รบั การสนับสนุนจากประเทศจีน การขยายตัวของพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย มี
การออกกฎหมายคือ “พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทาอันเป็ นคอมมิวนิสต์” ซึง่ มีโทษทีร่ ุนแรงถึง
ขัน้ ประหารชีวติ เมื่อ 6 กรกฎาคม 2502 จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ ได้สง่ั ประหารชีวติ นาย
ศุภชัย ศรีสติ ข้อมีการกระทาอันเป็ นคอมมิวนิสต์ และด้วยการปราบปรามอย่างหนักนี้เองได้
ส่งผลให้พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยเติบโตขึ้นเรือ่ ยๆ นาไปสูข่ นั้ การทาสงคราม
ปฏิวตั ใิ นทีส่ ุด เมื่อ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2508 ได้เกิดการปะทะทีห่ มูบ่ า้ นนาบัว ต.เรณู อ.ธาตุ
พนม จังหวัด นครพนม ระหว่างกาลังติดอาวุธของพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยกับ
ตารวจส่งผลให้ เกิดการสูญเสียทัง้ 2 ฝ่ าย การเริม่ ขัน้ สงครามปฏิวตั ใิ นครัง้ นี้รูจ้ กั กันในนาม
“วันเสียงปื นแตก”
สงครามในไทย
เมื่อการปราบปรามคอมมิวนิสต์ยงั คงดาเนินไปอย่างต่อเนื่องทาให้มีผูค้ นการหลบหนี
เข้าป่ าเป็ นจานวนมากขึ้นเรือ่ ย ทาให้การต่อสูข้ ยายตัวออกเป็ นวงกว้าง เมือ่ สหรัฐฯถอนตัว
ออกจากภูมิภาคนี้ทาให้หลายฝ่ ายมีความเชือ่ ประเทศไทยจะรอดพ้นจากการล้มล้างระบอบ
การปกครองไปสูร่ ะบอบคอมมิวนิสต์ เพราะตัง้ แต่การถอนตัวออกจากเวียดนามของประเทศ
มหาอานาจอย่างสหรัฐอเมริกาถอนกาลังหน่วยสุดท้ายออกจากเวียดนามใต้เมื่อวันที่ 29
มีนาคม 2516 ต่อมาเมื่อ 1 มกราคม 2518 กรุงพนมเปญเมืองหลวงของเขมร ตามมาด้วย
กรุงไซ่ง่อน เมืองหลวงของเวียดนามใต้ แตกเมื่อ 30 เมษายน 2518 และกรุงพนมเปญได้
แตกอีกครัง้ เมื่อ พล.อ.เทียนวันดุง ของเวียดนามได้นากาลังกว่า 20 กองพล เข้ายึดเขมร
เมื่อ 7 มกราคม 2522 หรือทีร่ ูจ้ กั กันในนาม ยุทธการบัวบาน และนักการทหารหลายคนมี
ความเชือ่ ว่า หลังจากเขมรแตกแล้วมีความเป็ นไปได้ทเี่ วียดนามจะทาการรุกต่อมายังไทย
การทีป่ ระเทศต่างๆ แตกกันเป็ นทอดๆ นี้เองทาให้มีนกั วิชาการไปกาหนดเป็ นแนวคิดที่
เรียกว่าทฤษฏีโดมิโน โดยประเทศไทยก็เป็ นหนึ่งในความเชือ่ ทีว่ า่ จะแตกเป็ นประเทศต่อไปใน
แนวคิดของทฤษฏีโดมิโน เพราะกาลังพลมหาศาลของเวียดนามทีเ่ คลื่อนเข้ามาประชิด
ชายแดนไทย ทาให้เป็ นการยากทีป่ ระเทศไทยจะต้านทาน
สงครามในไทย
ในทีส่ ุดรัฐบาลได้อาศัยความร่วมมือกับประเทศทีเ่ ป็ นคอมมิวนิสต์ในการปราบ
คอมมิวนิสต์ในประเทศ ซึง่ ประเทศนัน้ คือประเทศจีน เป็ นทีท่ ราบกันดีวา่ การก่อความไม่สงบ
ไม่วา่ จะเป็ นยุคสมัยใดจะสามารถดาเนินการต่อไปได้จะต้องได้รบั การสนับสนุนจากผูใ้ ห้การ
สนับสนุน และในยุคนัน้ จีนสามารถกล่าวได้วา่ เป็ นผูใ้ ห้การสนับสนุนรายใหญ่ของพรรค
คอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย เมื่อประเทศไทยสามารถเจรจาขอให้จนี ยุตกิ ารสนับสนุนพรรค
คอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยได้
ประเทศไทยเริม่ ดาเนินการกดดันโดยใช้กาลังทหารอย่างหนัก พร้อมทัง้ ออกนโยบาย
รองรับให้ผูห้ ลงผิดวางอาวุธกลับมาเป็ นผูพ้ ฒ
ั นาชาติไทย และนโยบายดังกล่าวคือ คาสัง่
นายกรัฐมนตรี ที่ 66/23 เรือ่ ง นโยบายการต่อสูเ้ พื่อเอาชนะคอมมิวนิสต์ และ คาสัง่
นายกรัฐมนตรี ที่ 65/25 เรือ่ ง แผนรุกทางการเมือง ซึง่ การดาเนินการดังกล่าวได้นาพา
ประเทศไทยไปสูบ่ รรยากาศแห่งความปรองดองแห่งชาติในทีส่ ุด
จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์
ผลจากเหตุการณ์วนั เสียงปื นแตก
พรรคคอมมิวนิสต์ไทย
อ้างอิง
“สงครามเย็น” [ระบบออนไลน์]. แหล่งทีม่ า http://thaimilitary.
multiply.com/journal/item/22. (14 กุมภาพันธ์ 2554).
“สงครามเย็น” [ระบบออนไลน์]. แหล่งทีม่ า http://writer.dek-d.com/
mnktgp/story/viewlongc.php. (14 กุมภาพันธ์ 2554).
อารีย์ บัวงาม. “สงครามเย็น” [ระบบออนไลน์]. แหล่งทีม่ า
http://www.tpn.ac.th/teacher_files/www_coldwar/k_03.htm.
(14 กุมภาพันธ์ 2554).
จัดทาโดย
นางสาวการปฐม เกษรสุวรรณ์
ม.๖/๑ เลขที่ ๑๓
โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
ภาคเรียนที่ ๒ ปี การศึกษา ๒๕๕๓