การวิจัย - e-Learning วิชา พท 311 วิธิวิจัยทางการท่องเที่ยว

Download Report

Transcript การวิจัย - e-Learning วิชา พท 311 วิธิวิจัยทางการท่องเที่ยว

ตอนที่ 2
ความรู้ ทวั่ ไป
การวิจัยทางการท่ องเทีย่ ว
การศึกษาหาความรู้เพื่อให้พบ
ข้อเท็จจริ งเกี่ยวกับปรากฏการณ์
ทางท่องเที่ยวอย่างมีแบบแผนทางวิทยาศาสตร์
หัวข้ อ
1.1 วิธีการหาความรู ้ ความจริ ง สู่การวิจยั
1.2 ข้อตกลงเบื้องต้นของวิธีการทางวิทยาศาสตร์
1.3 ทฤษฏี ความรู้ความจริ ง
1.4 การวิจยั
1.5 ขั้นตอนในการวิจยั
1.6 ประเภทของการวิจยั
1.7 การวิจยั ในบริ บทการท่องเที่ยว
1.8 งานมอบหมายในห้องเรี ยน
วิธีการหาความรู้ ความจริง นามาสู่ การวิจัย
1.
2.
3.
4.
5.
6.
วิธีโบราณ
วิธีอนุมาน (deductive)
วิธีอุปมาน (inductive)
วิธีอนุมาน-อุปมาน (deductive- inductive)
วิธีใช้เหตุผลทางตรรกศาสตร์ของ จอห์น สจ๊วต มิลล์
วิธีการทางวิทยาศาสตร์
หน้าหลัก
ข้ อตกลงเบือ้ งต้ นของวิธีการทางวิทยาศาสตร์
• ข้ อตกลงเกีย่ วกับรู ปแบบของธรรมชาติ
– สัจพจน์เกี่ยวกับชนิดของธรรมชาติ
– สัจพจน์ของความคงเส้นคงวา
– สัจจพนน์ของความเป็ นเหตุเป็ นผล
• ข้ อตกลงเกีย่ วกับขบวนการทางจิตวิทยา
– สัจพจน์เกี่ยวกับความเชื่อมัน่ ของการรับรู ้
– สัจพจน์เกี่ยวกับความเชื่อมัน่ ของการจา
– สัจจพจน์เกี่ยวกับความเชื่อมัน่ ของการใช้เหตุผล
ความรู้ ความจริง
• ความรู้ ความจริ งที่มนุษย์คน้ คว้าหานั้น คือสิ่ งทีเ่ ชื่อถือได้ เพื่อใช้
ในโอกาสต่างๆ ซึ่ งมีลกั ษณะสาคัญคือ ไม่จาเป็ นต้องแน่นอนคง
ตัวเสมอไป แต่จะดารงคงอยูส่ ภาพนั้นในช่วงระยะเวลาหนึ่ง
กาลเวลาเปลี่ยนไป ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติเปลี่ยนไป ความรู้
ความจริ งนั้นก็อาจเปลี่ยนแปลงได้
ทฤษฏี
• ทฤษฏี คือ ข้อกาหนดที่แสดงถึงความสัมพันธ์ของโครงสร้าง
ความคิดรวบยอด และแบบเค้าโครงของตัวแปรต่างๆ เพื่อให้
สามารถอธิบาย และคาดคะเนปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นได้
• ทฤษฏี จะตั้งขึ้นมาได้ ต้องผ่านการศึกษาค้นคว้าทดลองกับข้อมูล
ต่างๆ มาเป็ นจานวนมาก และเป็ นเวลานาน จนมีความแน่ใจว่าเป็ น
ความรู้ ความจริ งที่เชื่อถือได้
• ทฤษฏี อาจเปลี่ยนแปลงได้ตามสภาพการณ์และตามเวลาที่
เปลี่ยนแปลง หรื อในกรณี ที่มีผสู้ ามารถนาหลักฐานมาพิสูจน์ลบ
ล้างได้
ความสั มพันธ์ ของ ทฤษฏี ความรู้ ความจริง
•
•
•
•
•
•
ช่วยเป็ นเครื่ องมือนาทางในการค้นหาความรู ้ ความจริ งใหม่ๆ
ช่วยสรุ ปความรู ้ความจริ งให้เป็ นหมวดหมู่เพื่อสะดวกต่อการนาไปใช้
ช่วยในการหาส่ วนที่ยงั บกพร่ องของความรู ้ความจริ งให้ครบถ้วน
ความรู ้ ความจริ งช่วยในการสร้างทฤษฏี
ความรู ้ ความจริ งช่วยในการปรับปรุ งทฤษฏีเก่าๆ ให้เหมาะสม
ความรู ้ ความจริ งช่วยที่คน้ พบใหม่ๆ ช่วยบอกความผิดพลาดของ ทฤษฏี
ได้
การวิจยั
ความหมายการวิจยั คุณลักษณะที่ดี บทบาทของการวิจยั
ขั้นตอนการวิจยั ประเภทการวิจยั
ความหมายของการวิจัย
• การวิจยั คือ การค้นคว้า หาความรู ้ ความจริ งที่เชื่อถือได้โดยวิธีการที่มี
ระบบแบบแผนที่เชื่อถือได้ เพื่อนาความรู ้ที่ได้น้ นั ไปสร้างกฎเกณฑ์
ทฤษฏีต่างๆ เพื่อไว้ใช้ในการอ้างอิงอธิบายปรากฏการณ์ เฉพาะเรื่ องและ
ปรากฏการณ์ทวั่ ๆ ไป และเป็ นผลทาให้สามารถทานายและควบคุมการ
เกิดปรากฏการณ์ต่างๆ ได้ (p.12)
พวงรัตน์ ทวีรัตน์. (2531). วิธีวจิ ัยทางพฤติกรรมศาสตร์ และสั งคมศาสตร์์. พิมพ์ครั้งที่ 2.
กรุ งเทพฯ : โรงพิมพ์เจริ ญผล.
วัตถุประสงค์ ของการวิจยั
• เพื่อการแก้ปัญหา (Problem solving research)
• เพื่อสร้างทฤษฏี (Theory-developing research)
• เพื่อพิสูจน์ทฤษฏี (Theory testing research)
บทบาทของการวิจัย
•
•
•
•
ทาให้เกิดวิทยาการใหม่ๆ ขึ้น
ทาให้ได้แนวทางในการแก้ปัญหา
หน่วยงานทางานได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพจากการตัดสิ นใจ
ประเทศเกิดการพัฒนา
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
10.
11.
12.
ขั้นตอนของการทาวิจัย
เลือกหัวข้อปัญหา
ศึกษา ค้นคว้าทฤษฏี
ให้คาจากัดความของปัญหา
สร้างสมมุติฐาน
พิจารณาแหล่งที่มาของข้อมูล
วางแผนการวิจยั
สร้างเครื่ องมือ
ทดสอบคุณภาพของเครื่ องมือ
เลือกกลุ่มตัวอย่าง
เก็บรวบรวมข้อมูล
จัดกระทาข้อมูล
เขียนรายงานการวิจยั
การวิจัยในบริบทของการท่ องเทีย่ ว
• การท่องเที่ยวเป็ นศาสตร์ที่อยูใ่ นสังคมศาสตร์ จึงเป็ นการศึกษาวิจยั ที่
เกี่ยวข้องกับมนุษย์ในด้านพฤติกรรม ตลอดจนสิ่ งแวดล้อมที่มี
อิทธิพลต่อมนุษย์ โดยเฉพาะทางการท่องเที่ยว
• การวิจยั ทางการท่องเที่ยว จึงเป็ น การศึกษาหาความรู ้เพื่อให้พบ
ข้อเท็จจริ งเกี่ยวกับปรากฏการณ์ทางท่องเที่ยวอย่างมีแบบแผนทาง
วิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวได้แก่ นักท่องเที่ยว ชุมชน
ผูป้ ระกอบการ ตลอดจนสภาวะแวดล้อมในการดาเนินกิจกรรม
ทางการท่องเที่ยว เพื่อแก้ปัญหา เพื่ออธิบายปรากฏการณ์ และเพื่อ
สร้างแนวทางที่เหมาะสม
วิธีในสมัยโบราณ
•
•
•
•
•
•
โดยบังเอิญ (by chance)
โดยขนบธรรมเนียบประเพณี (by tradition)
โดยผูม้ ีอานาจ (by authority)
จากประสบการณ์ส่วนตัว (by personal experience)
โดยการลองผิดลองถูก (by trial and error)
โดยผูเ้ ชี่ยวชาญ (by expert)
กลับ
โดยวิธีอนุมาน (deductive method)
• อริสโตเติล เป็ นผูท้ ี่ได้นาเอาหลักของเหตุผลมาใช้ ในการหาความรู ้
ความจริ ง
• เป็ นการใช้เหตุผลโดยคานึงถึงข้อเท็จจริ งที่เป็ น เหตุ 2 ประการ แล้ว
หาความสัมพันธ์ของทั้ง 2 เหตุ สรุ ปเป็ น ผล เช่น
เหตุใหญ่
เหตุยอ่ ย
คนทุกคนเกิดมาแล้วต้องตาย
นายแดงเป็ นคน
สรุป
นายแดงต้ องตาย
โดยวิธีอนุมาน (deductive method)
เหตุใหญ่
เหตุยอ่ ย
ถ้านักเรี ยนมาโรงเรี ยนสาย ครู จะทาโทษ
เด็กชายจุกมาโรงเรี ยนสาย
สรุป
เด็กชายจุกจะ………
เหตุใหญ่
เหตุยอ่ ย
ถ้าฝนตกรถจะติด
วันนี้ฝนตก
สรุป
………………
โดยวิธีอนุมาน (deductive method)
• ข้อสรุ ปจะถูกต้องขึ้นอยูก่ บั เหตุใหญ่ และเหตุยอ่ ย
• กรณี ที่ 1 ถ้าเหตุใหญ่ เป็ นจริ ง เหตุยอ่ ยเป็ นจริ ง ข้อสรุ ปจะ
เที่ยงตรงและเป็ นจริ งมาก
• กรณี ที่ 2 ถ้าเหตุใหญ่เป็ นจริ งน้อย เหตุยอ่ ยมีความเป็ นจริ ง
ข้อสรุ ปนั้นก็มีความเป็ นจริ งน้อย
ข้อสรุ ปจะถูกต้องขึ้นอยูก่ บั เหตุใหญ่ และเหตุยอ่ ย
กลับ
โดยวิธีอุปมาน
• ฟรานซิส เบคอน ได้ช้ ีขอ้ บกพร่ องของแบบ อนุมาน 2
ประการคือ
–วิธีอนุมานไม่ช่วยให้หาความรู้ใหม่
–การหาเหตุผลเป็ นการใช้เหตุผลทางภาษา ข้อสรุ ปไม่ถูกต้อง
อยูเ่ สมอไป
ข้อบกพร่ องโดยวิธีอนุมาน
เหตุใหญ่
เหตุยอ่ ย
สรุป
ถ้านักเรี ยนมาโรงเรี ยนสาย ครู จะทาโทษ
เด็กชายจุกมาโรงเรี ยนสาย
นายจุกถูกทาโทษ
จะเห็นว่ า ข้ อสรุปทีไ่ ด้ ไม่ เป็ นจริง
เสมอไป
ข้อบกพร่ องโดยวิธีอนุมาน
เหตุใหญ่
เหตุยอ่ ย
สรุป
นักศึกษาที่จบจากแม่โจ้อดทนสู ้งาน
นายแดง จบจากแม่โจ้
นายแดงอดทนสู้ งาน
จะเห็นว่ า ข้ อสรุปทีไ่ ด้ ไม่ เป็ นจริง
เสมอไป
ขึน้ กับเหตุใหญ่ ทตี่ ้ องเป็ นจริง
หลักของวิธีอุปมาน
• หาความรู ้เริ่ มจากการเก็บข้อมูลย่อยๆ หลายๆ กรณี ใช้
วิธีต่างๆ กัน
• วิเคราะห์ความสัมพันธ์
• สรุ ปออกมาเป็ นความรู้
เก็บข้อมูล
วิเคราะห์ขอ้ มูล
สรุ ปผล
ตัวอย่างวิธีอุปมาน
1. เก็บข้อมูล
แมวแต่ละตัวออกลูกเป็ นตัว
2. วิเคราะห์ขอ้ มูล นาข้อมูลมาพิจารณาพบว่า
แมวที่พบมีหลายชนิด
3. สรุปผล
แมวทุกชนิดออกลูกเป็ นตัว
ข้ อสรุป เป็ นจริงมากน้ อยแค่ ไหน ขึน้ กับการเก็บข้ อมูล
ตัวอย่างวิธีอุปมาน
1. เก็บข้อมูล
นศ.คณะพัฒนาการท่องเที่ยว
จากแม่โจ้อดทดสู ้งาน
2. วิเคราะห์ขอ้ มูล นาข้อมูลมาพิจารณาพบว่า
ทุกคณะมี นศ.จบแล้วอดทน
สู้งาน
3. สรุปผล
มหาวิทยาลัยแม่ โจ้ ทุกคน
อดทนสู้ งาน
ข้ อสรุป เป็ นจริงมากน้ อยแค่ ไหน ขึน้ กับการเก็บข้ อมูล
การเก็บข้อมูลที่ดี
เที่ยงตรง/เป็ นตัวแทนที่ดี
เก็บทุกหน่วยของ
ประชากร
เก็บบางส่ วนของ
ประชาการ
หลักการ 3 ประการของวิธีอุปมาน
• อุปมานแบบ สมบูรณ์ (Perfect induction) โดยการเก็บข้อมูล
จากทุกหน่วย
• อุปมานแบบ ไม่ สมบูรณ์ (Imperfect induction) เก็บข้อมูล
บางส่ วน
• อุปมานแบบ เบคอเนี่ยน (Baconian induction) โดยดูจาก 3
กรณี คือ พิจาณาจากส่ วนที่เป็ นอย่างเดียวกัน พิจารณาจากส่ วนที่
ต่างกันออกไป พิจารณาจากส่ วนที่แปรเปลี่ยนไป แล้วนามา
วิเคราะห์ประกอบกัน
กลับ
วิธีอนุมาน-อุปมาน
• ชาร์ ล ดาวิน ได้นาเอาทั้งแนวคิดอนุมานและอุปมาน มารวมกัน เพราะ
เห็นว่า การที่จะได้ความรู ้ ความจริ งได้ จะใช้วิธีการอย่างเดียว อย่างใด
อย่างหนึ่งไม่เพียงพอ ต้องใช้ท้ งั สอง ตั้งชื่อว่า วิธีการคิดแบบใคร่ ครวญ
รอบคอบ (Reflective thinking) ซึ่งเป็ นต้นแบบของวิธีการทาง
วิทยาศาสตร์ (Scientific method) ต่อมา
วิธีอนุมาน-อุปมาน
ขั้นที่ 1 ขั้นปั ญหา
ขั้นที่ 2 แถลงและนิยามปัญหา
ขั้นที่ 3 ตั้งสมมุติฐาน
ขั้นที่ 4 ตรวจสอบความถูกต้องและเหตุผลที่ต้ งั ขึ้นโดย
วิธีการอนุมาน
• ขั้นที่ 5 ทดสอบสมมุติฐานโดยการปฏิบตั ินาไปสู่ การสรุ ปผล
โดยวิธีอุปมาน
•
•
•
•
กลับ
วิธีของจอห์ น สจ๊ วต มิลล์ (Mill’s method)
ได้เสนอหลักของความสัมพันธ์เชิงเหตุผล 5 ประการ
• วิธีของความสอดคล้อง (method of agreement)
• วิธีของความแตกต่าง (Method of difference)
• วิธีของความสอดคล้องและไม่สอดคล้อง (join method of
agreement and disagreement)
• วิธีของการแปรผันร่ วมกัน (method of concomitant variation)
• วิธีของส่ วนที่เหลือ (method of residue)
กลับ
วิธีของจอห์ น สจ๊ วต มิลล์ (Mill’s method)
• วิธีของความสอดคล้ อง (method of agreement)
• สิ่ งที่เกิดขึ้นตั้งแต่ สองอย่างขึ้นไป ทั้งสองอย่างมีเหตุหรื อผล ของ
ปรากฏการณ์น้ นั ๆ
• เช่น คนกลุ่มหนึ่งหลังจากรับประทานอาหารร่ วมกัน ทุก
คนมีอาการปวดท้อง อาจสรุ ปได้วา่ อาหารที่รับประทาน
เป็ นสาเหตุของการปวดท้อง
กลับ
วิธีของจอห์ น สจ๊ วต มิลล์ (Mill’s method)
• วิธีของความแตกต่ าง (Method of difference)
• สิ่ งที่เกิดขึ้นตั้งแต่ สองอย่างในปรากฏการณ์สิ่งที่แตกต่างกันทาให้เกิดผล
ต่างกันในปรากฏการณ์น้ นั ๆ
• เช่น คนหนึ่งอ้วน เป็ นโรคเบาหวาน คนหนึ่งผอม ไม่เป็ น
โรคเบาหวาน อาจสรุ ปได้วา่ ความอ้วนเป็ นสาเหตุของ
โรคเบาหวาน
กลับ
วิธีของจอห์ น สจ๊ วต มิลล์ (Mill’s method)
• วิธีของความสอดคล้ องและไม่ สอดคล้อง (join method of
agreement and disagreement)
• คนกลุ่มหนึ่งมีแม่และลูกหญิง ดื่มน้ าที่เดียวกันเป็ นโรค
ท้องเดิน ส่ วนอีกกลุ่มหนึ่ง มีพอ่ และลูกชาย ไม่ได้ดื่มน้ า
และท้องไม่เดิน สรุ ปได้วา่ การดื่มน้ าเป็ นสาเหตุของโรค
ท้องเดิน
กลับ
วิธีของจอห์ น สจ๊ วต มิลล์ (Mill’s method)
• วิธีของการแปรผันร่ วมกัน (method of concomitant
variation)
• อัตราการเกิดของเด็กขึ้นกับคู่แต่งงาน หากที่ใดมีจานวนคู่
แต่งงานมากแสดงว่าอัตราของเด็กมีมากด้วย
กลับ
วิธีของจอห์ น สจ๊ วต มิลล์ (Mill’s method)
• วิธีของส่ วนที่เหลือ (method of residue)
• A B C -----> X Y Z
• A เป็ นสาเหตุทาให้เกิด X
• B เป็ นสาเหตุทาให้เกิด Y
อาจสรุ ปได้วา่
• C เป็ นสาเหตุทาให้เกิด Z
กลับ
วิธีการทางวิทยาศาสตร์
• จอห์น ดิวอี้ ได้นาเอาวิธีของ ชาร์ล ดาวินมาสานต่อ
กลายเป็ นวิธีการทางวิทยาศาสตร์ (scientific
method) ซึ่ งได้รับการยอมรับว่าเป็ นวิธีที่มีระบบ
แบบแผนสมบูรณ์ที่สุด ใช้เป็ นวิธีการหาความรู้ ความจริ ง
ที่เชื่อถือได้มากที่สุด และเป็ นวิธีที่ได้นาเอามาใช้ในการ
วิจยั ปัจจุบนั
ขั้นตอนวิธีการทางวิทยาศาสตร์
1.
2.
3.
4.
5.
ขั้นปัญหา (Problem)
ขั้นตั้งสมมุติฐาน (Hypothesis)
ขั้นรวบรวมข้อมูล (Collection of data)
ขั้นวิเคราะห์ขอ้ มูล (Analysis of data)
ขั้นสรุ ปผล (Conclusion)
กลับ
ข้ อตกลงเบือ้ งต้ นของวิธีการทางวิทยาศาสตร์
การนาเอาวิธีการทางวิทยาศาสตร์ตอ้ งยอมรับข้อตกลงดังนี้
1. ข้อตกลงเกี่ยวกับรู ปแบบของธรรมชาติ
ก) สัจพจน์เกี่ยวกับชนิดของธรรมชาติ
ข) สัจพจน์ของความคงเส้นคงวา
ค) สัจพจน์ของความเป็ นเหตุเป็ นผล
2. ข้อตกลงเกี่ยวกับขบวนการทางจิตวิทยา
ก) สัจพจน์เกี่ยวกับความเชื่อมัน่ ของการรับรู ้
ข) สัจพจน์เกี่ยวกับความเชื่อมัน่ ของการจา
ค) สัจพจน์เกี่ยวกับความเชื่อมัน่ ของการใช้เหตุผล
กลับ
1. ข้ อตกลงเกีย่ วกับรู ปแบบของธรรมชาติ
(Assumption of the uniformity of nature)
• ปรากฏการณ์ต่างๆ ในธรรมชาติเกิดขึ้นอย่างมีระบบ มีแบบ
ฉบับของตัวมันเอง
• ทุกอย่างมีโอกาสเกิดขึ้นในธรรมชาติ เมื่อเกิดขึ้น ก็มีโอกาส
เกิดขึ้นได้อีก ภายใต้เงื่อนไขอย่างเดียวกัน
• แบ่งออกเป็ น 3 สัจพจน์ ย่อย
– สัจพจน์เกี่ยวกับชนิดของธรรมชาติ
– สัจพจน์ของความคงเส้นคงวา
– สัจพจน์ของความเป็ นเหตุเป็ นผล
กลับ
สัจพจน์เกี่ยวกับชนิดของธรรมชาติ
(Postulate of nature kinds)
• ธรรมชาติ มีโครงสร้าง คุณสมบัติ และจุดมุ่งหมายของมันเอง
• ตัวอย่าง เช่น หิ น แร่ สัตว์
• อาจจะจัดให้อยูเ่ ป็ นหมวดหมู่ กลุ่มได้ เช่น สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
กลับ
สัจพจน์ของความคงเส้นคงวา
(Postulate of constancy)
• ปรากฏการณ์ของธรรมชาติจะคุมลักษณะของมันภายใต้เงือนไข
เฉพาะบางอย่าง อยูไ่ ด้ภายใต้ช่วงเวลาจากัด
• ตัวอย่าง น้ าจะเป็ นน้ าแข็งขึ้นอยูก่ บั เงือนไขของอุณหภูมิ ความ
ดัน และน้ าแข็งจะไม่เป็ นน้ าแข็งตลอดกาล ถ้าเงือนไข
เปลี่ยนแปลง
กลับ
สัจพจน์ของความเป็ นเหตุเป็ นผล
(Postulate of determinism)
• ปรากฏการณ์ท้ งั หลายในธรรมชาติมีสาเหตุที่ทาให้มนั เกิด และ
ผลทั้งหลายจะเกิดมาจากสาเหตุน้ นั
• ตัวอย่าง คนเป็ นไข้จบั สัน่ สาเหตุมาจากเชื่อยุงก้นปล่อง
กลับ
2. ข้ อตกลงเกีย่ วกับขบวนการทางจิตวิทยา
(Assumption concerning the psychological process)
• บุคคลได้รับการรับความรู ้ต่างๆ โดยอาศัยขบวนการทาง
จิตวิทยา 3 ประการได้แก่
–สัจพจน์เกี่ยวกับความเชื่อมัน่ ของการรั บรู้
–สัจพจน์เกี่ยวกับความเชื่อมัน่ ของการจา
–สัจพจน์เกี่ยวกับความเชื่อมัน่ ของการใช้ เหตุผล
กลับ
สัจพจน์เกี่ยวกับความเชื่อมัน่ ของการรับรู้
(Postulate of reliability of perceiving)
• การรับรู้ของบุคคลต้องเชื่อมัน่ ได้ หมายถึง ประสาทสัมผัสที่ใช้
ในการรับรู้ตอ้ งใช้การได้ และมีความแน่นอนในการรับรู ้
กลับ
สัจพจน์เกี่ยวกับความเชื่อมัน่ ของการจา
(Postulate of the reliability of remembering)
• การจาต้องมีความเชื่อมัน่ ว่า จาถูกต้อง ซึ่งอาจจะใช้โดยการจด
บันทึก หรื อเทป นั้นคือหลักฐานที่กระทาอย่างถูกต้อง
กลับ
สัจพจน์เกี่ยวกับความเชื่อมัน่ ของการใช้เหตุผล
(Postulate of the reliability of reasoning)
• การใช้เหตุผลในการหาความรู้ตอ้ งเชื่อมัน่ ได้วา่ ถูกต้อง คือต้อง
ได้มาอย่างเป็ นระบบ
กลับ
1.3 ทฤษฏี ความรู้ ความจริง
• ความจริ ง/ความรู้ความจริ ง
• ทฤษฏี
กลับ
ความจริ ง/ความรู้ความจริ ง
ความหมาย
• ความรู ้ความจริ งคือสิ่ งที่เชื่อถือได้ เพื่อใช้ในโอกาสต่างๆ
• ลักษณะสาคัญคือ ไม่จาเป็ นต้องแน่นอนคงตัวเสมอไป แต่จะ
ดารงอยูใ่ นสภาพนั้นในช่วงระยะเวลาหนึ่ง เวลาเปลี่ยน
ปรากฏการณ์ธรรมชาติเปลี่ยน ความรู้ความจริ งเปลี่ยนไป
ความจริ ง/ความรู้ความจริ ง
ประเภท
1. ความจริ งส่ วนบุคคล เป็ นความจริ งที่ได้รับรู้เฉพาะตัว แต่
ละคนไม่เท่ากันในเรื่ องเดียวกันเป็ นนามธรรม เช่น ความ
กลัว
2. ความจริ งทัว่ ไป เป็ นความจริ งที่บุคคลทัว่ ไปรับรู้ได้ มัก
เป็ นรู ปธรรม เป็ นปรากฏการณ์ในธรรมชาติ ที่ได้รับรู้
โดยตรงเช่น พระอาทิตย์ตกทางทิศตะวันตก ซึ่งสามารถ
ตรวจสอบได้ง่าย
ความจริ ง/ความรู้ความจริ ง
ระดับ
1.
2.
3.
ระดับที่ได้รับจากการรับรู ้ของประสาทสัมผัสโดยตรง ระดับนี้
ความจริ งเรี ยกว่า ความจริ งเบื้องต้น (raw fact)
เช่น ผิวหนังสัมผัสความเย็นของอากาศ
ระดับที่ได้จากการแปลความหมายของความจริ งในระดับแรก
เช่น หูได้ยนิ ฟ้ าร้อง แปลความว่า ฝนกาลังจะตก การแปลความ
ขึ้นกับประสบการณ์ของผูแ้ ปล
ระดับที่ได้จาการใช้เหตุผลขั้นสูง จะได้จากการค้นคว้าด้วยวิธีการ
ที่เชื่อถือได้ มีระบบแบบแผน และมีการใช้เหตุผลชั้นสูง
กลับ
ทฤษฏี
ความหมาย
• คือข้อกาหนดที่แสดงถึงความสัมพันธ์ของโครงสร้าง
ความคิดรวบยอด และแบบเค้าโครงของตัวแปรต่างๆ เพื่อให้
สามารถอธิบาย และคาดคะเนปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นได้
ทฤษฏี ความรู้ความจริ ง
ทฤษฏี
1. ช่วยเป็ นเครื่ องมือนาทางในการค้นหาความรู ้ความจริ งใหม่ๆ
2. ช่วยสรุ ปความรู ้ความจริ งเพื่อสะดวกในการนาไปใช้
3. ช่วยในการหาส่ วนที่ยงั บกพร่ อง
ความรู ้ความจริ ง
1. ช่วยสร้างทฤษฏีเพิ่ม
2. ช่วยปรับแก้ทฤษฏีให้เหมาะสม
3. ช่วยบอกข้อผิดพลาดของทฤษฏี
ทฤษฏีมีประโยชน์ต่อการทาวิจยั อย่างไร
• ช่วยตั้งสมมุติฐาน
• ช่วยบอกปัญหาว่ามีขอ้ มูลอะไรบ้าง แหล่งใด
• ช่วยกาหนดแนวทางในการเลือกใช้เครื่ องมือและการเก็บ
ข้อมูล
• ช่วยให้ทราบขั้นตอนในการจัดกระทาข้อมูล
• ช่วยสรุ ปข้อค้นพบ
• ช่วยนาความรู ้ไปอธิ บายและอ้างอิงได้
• ช่วยในการพยากรณ์ปรากฏการณ์
กลับ
การวิจัย (Research)
ความหมาย
• การหาความรู้ความจริ งที่เชื่อถือได้ดว้ ยวิธีการทาง
วิทยาศาสตร์โดยที่วธิ ีการทางวิทยาศาสตร์ หมายถึง
การใช้เหตุผลชั้นสู งในการหาความรู ้ มีแบบแผน มี
ขั้นตอน
การวิจัย (Research)
ความหมาย
• การค้นคว้าหาความรู้ความจริ งที่เชื่อถือได้โดย
วิธีการที่มีระบบแบบแผนที่เชื่อถือได้ เพื่อนา
ความรู ้ที่ได้น้ นั ไปสร้างกฎเกณฑ์ทฤษฏีต่างๆ เพื่อ
ไว้ใช้ในการอ้างอิงอธิบายปรากฏการณ์เฉพาะเรื่ อง
และปรากฏการณ์ทวั่ ๆ ไป และเป็ นผลทาให้
สามารถทานายและควบคุมการเกิดปรากฏการณ์
ต่างๆ ได้
วัตถุประสงค์ ของการวิจัย
1. เพื่อแก้ปัญหา (Problem solving research)
2. เพือ่ สร้างทฤษฏี (Theory-developing research)
1.
2.
3.
4.
ใช้อา้ งอิง (Generalization)
อธิบาย (Explanation)
ทานาย (Prediction)
ควบคุม (Control) ปรากฏการณ์ต่างๆ
3. เพื่อพิสูจน์ทฤษฏี (Theory testing research) เมื่อเวลา
เปลี่ยน
สถิติสาหรับการวิจัย
สถิติเกี่ยวข้องกับการวิจยั เพราะว่า ภายหลังจากที่ผวู้ ิจยั ได้
รวบรวมข้อมูลมาแล้ว จะต้องนาเอามาวิเคราะห์ เพื่อตีความ
และอธิบาย
• สถิติบรรยาย (Descriptive statistics)
• สถิติอนุมาน (Inferential statistics)
สถิติบรรยาย (Descriptive statistics)
• เป็ นสถิติที่ใช้ในการบรรยาย หรื ออธิบายคุณลักษณะของข้อมูล ไม่มีการ
นาเอาไปอ้างอิงสู่ประชากรหรื อกลุ่มอื่นได้ ได้แก่ การวัดแนวโน้มเข้าสู่
ส่ วนกลาง การวัดการกระจาย การหาความสัมพันธ์ของตัวแปรแบบ
ต่างๆ เป็ นต้น
สถิติอนุมาน (Inferential statistics)
• เป็ นสถิติที่ใช้ผลที่ศึกษาจากกลุ่มตัวอย่าง สรุ ปอ้างอิงไปสู่ประชากร เช่น
t-test ANOVA เป็ นต้น
กลับ
ขั้นตอนในการทาวิจัย
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
10.
11.
12.
13.
เลือกหัวข้อปัญหา
ศึกษาค้นคว้าทฤษฏี
ให้คาจากัดความของปั ญหา
สร้างสมมุติฐาน
ตรวจสอบสมมุติฐานกับปั ญหา
พิจารณาแห่งที่มาของข้อมูล
วางแบบแผนการวิจยั
สร้างเครื่ องมือ
ตรวจสอบคุณภาพของเครื่ องมือ
การเลือกกลุ่มตัวอย่าง
การเก็บรวบรวมข้อมูล
การจัดกระทาข้อมูล
การเขียนรายงานวิจยั
กลับ
1.6 ประเภทของการวิจยั
1. พิจารณาจากประโยชน์หรื อความต้องการที่จะได้รับจาก
การวิจยั (3 ประเภท)
2. พิจารณาจากคุณลักษณะของข้อมูล (2 ประเภท)
3. พิจารณาจากระดับของการศึกษาตัวแปร (2 ประเภท)
4. พิจารณาจากชนิดของข้อมูล (2 ประเภท)
5. พิจารณาจากลักษณะการศึกษากับตัวแปร (3 ประเภท)
6. พิจารณาจากระเบียบวิธีการวิจยั (3 ประเภท)
กลับ
1.6 ประเภทของการวิจยั
1. พิจารณาจากประโยชน์หรื อความต้องการที่จะได้รับจาก
การวิจยั (3 ประเภท)
1. การวิจยั พื้นฐาน (Pure/Basic research) เพื่อสร้างสูตร ทบ. กฎ
ในการเป็ นพื้นฐานสาหรับเรื่ องอื่นๆต่อไป
2. การวิจยั ประยุกต์ (Applied research) การวิจยั ที่มุ่งนาผลจาก
การวิจยั ไปทดลองแก้ปัญหาต่างๆเช่นทางการแพทย์
3. การวิจยั เชิงปฏิบตั ิ (Action research) มุ่งแก้ปัญหาเฉพาะหน้า
เป็ นเรื่ องๆ ไม่สามารถแก้ไขได้ในสถานการณ์อื่น
กลับ
1.6 ประเภทของการวิจยั
2. พิจารณาจากคุณลักษณะของข้อมูล (2 ประเภท)
1. การวิจยั เชิงปริ มาณ (Quantitative research) มุ่งเน้นข้อมูลที่อยู่
ในลักษณะของตัวเลข และต้องใช้วิธีการทางสถิติในการ
วิเคราะห์ขอ้ มูล
2. การวิจยั เชิงคุณภาพ (Qualitative research) ข้อมูลส่ วนใหญ่ไม่
สามารถทาให้อยูใ่ นรู ปของปริ มาณได้ จะเก็บข้อมูลด้วยหลาย
วิธีเช่น สังเกต สัมภาษณ์ การบรรยายเป็ นการพรรณนาเชิง
ถ้อยคามากกว่า
กลับ
1.6 ประเภทของการวิจยั
3. พิจารณาจากระดับของการศึกษาตัวแปร (2 ประเภท)
1. การวิจยั เพื่อสารวจ (Exploratory study) มุ่งสารวจตัวแปรและ
ศึกษาธรรมชาติของตัวแปรเพื่ออธิบายการเกิดขึ้นของ
ปรากฏการณ์น้ นั ๆ
2. การวิจยั เพื่อตรวจสอบสมมุติฐาน (Hypothesis testing study)
เพื่อสร้าง ทบ. เพื่อที่จะนาไปใช้ในการทานาย โดยต้องตั้ง
สมมุติฐานก่อน
กลับ
1.6 ประเภทของการวิจยั
4. พิจารณาจากชนิดของข้อมูล (2 ประเภท)
1. การวิจยั เชิงประจักษ์ (Empirical research) วิธีการหาความจริ ง
โดยมีการเก็บหลักฐานข้อมูล
2. การวิจยั เชิงไม่ประจักษ์ (No empirical research) วิธีการหา
ความจริ งโดยมีการเก็บหลักฐานข้อมูล ไม่มีสถิติวิเคราะห์ เช่น
โบราณคดี
กลับ
1.6 ประเภทของการวิจยั
5. พิจารณาจากลักษณะการศึกษากับตัวแปร (3 ประเภท)
1. การวิจยั เชิงสารวจ (Survey research) มุ่งเน้นการสารวจหา
ข้อเท็จจริ ง ทาให้ทราบความสัมพันธ์ของตัวแปร
2. การวิจยั เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นแล้วจึงศึกษาย้อนหลัง (Expost
facto research) หาความสัมพันธ์ของตัวแปรก่อน แล้วจึง
พิจารณาย้อนหลังว่าเกิดจากตัวแปรใดบ้าง
3. การวิจยั เชิงทดลอง (Experimental research) หาความสัมพันธ์
ของตัวแปรต้นและตาม โดยมีการควบคุม
กลับ
1.6 ประเภทของการวิจยั
6. พิจารณาจากระเบียบวิธีการวิจยั (3 ประเภท)
1. การวิจยั เชิงประวัติศาสตร์ (Historical research) เป็ นหา
เรื่ องราวข้อเท็จจริ งในอดีต
2. การวิจยั เชิงบรรยาย (Descriptive research) เพื่อบรรยาย
ปรากฏการณ์น้ นั ๆ
3. การวิจยั เชิงทดลอง (Experimental research) ศึกษา
ความสัมพันธ์ของตัวแปรที่เป็ นเหตุและผลต่อกัน
นิยมมากทีส่ ุ ด
กลับ
1.7 การวิจยั ในบริ บทการท่องเที่ยว
• การท่องเที่ยวในแง่มุมของระบบข้อมูล อาจจะมีความหมายว่า
ผลรวมของปรากฏการณ์ต่างๆ และความสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นจาก
ปฏิสมั พันธ์ระหว่างนักท่องเที่ยว กับธุรกิจและบริ การต่างๆจาก
รัฐบาลประเทศเจ้าภาพและประชาชนในท้องถิ่นซึ่งเป็ นแหล่ง
ท่องเที่ยวที่เกี่ยวข้องอยูใ่ นกิจกรรมหรื อกระบวนการ
(นิคม จารุ มณี 2544 : หน้า 92)
นักท่องเที่ยว
ธุรกิจท่องเที่ยว
ประเทศเจ้าบ้าน
ชุมชนเจ้าบ้าน
การวิจัยกับการท่ องเที่ยว???
ดร.โฉมยง โต๊ะทอง มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ได้ทา
รายงานสังเคราะห์งานวิจยั เพื่อพัฒนาการท่องเที่ยว
1. การเปลี่ยนแปลงของโลก
2. สถานการณ์การท่องเที่ยวของประเทศไทย
3. นโยบายของประเทศไทยเกี่ยวกับการท่องเที่ยว
1
2
3
ดร.โฉมยง โต๊ะทอง มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี (2549)
กลับ
งานมอบหมาย
• แบ่งนักศึกษาออกเป็ น 5 กลุ่มๆละ 9-10 คน
• ให้นกั ศึกษาไปหาข้อมูล สถานการณ์ทางการ
ท่องเที่ยวในปั จจุบนั ในประเด็นดังต่อไปนี้
1.
2.
3.
4.
5.
นักท่องเที่ยวต่างประเทศ
นักท่องเที่ยวในประเทศ
ธุรกิจการท่องเที่ยว
สถานที่ท่องเที่ยว
ชุมชนในแหล่งท่องเที่ยว
• ให้นกั ศึกษาทารายงานเป็ นรู ปเล่ม และทา ppt นามา
เสนอหน้าห้องเรี ยนในชัว่ โมงหน้า
กลับ