ดร.วรยุทธ์ ทิพย์เที่ยงแท้ R1 D1 วิเคราะห์ความต้องการ จาเป็ น •นักเรียน •ครู •การเรียนการสอน •อื่น ๆ ศึกษาข้อมูลพืน้ ฐาน •ศึกษาค้นคว้าเอกสาร •สังเกต •สอบถาม •สัมภาษณ์ ออกแบบ •กาหนดวัตถุประสงค์ •ศึกษาหลักการทฤษฎี •ตัดสินใจเลือก นวัตกรรม •กาหนดลักษณะ/ โครงสร้างองค์ประกอบ นวัตกรรม พัฒนานวัตกรรม •วางแผนการพัฒนา •สร้างนวัตกรรม ต้นแบบ/สือ่ •ตรวจสอบนวัตกรรม โดยผูเ้ ชีย่ วชาญ •ทดลองใช้ 1 ต่อ 1 / ปรับปรุง •ทดลองใช้กลุม่ เล็กไม่ เกิน 10 คน /ปรับปรุง •ทดลองใช้กลุม่ ใหญ่ ไม่ต่ากว่า 30 คน R2 นาไปใช้จริง •กลุม่ ตัวอย่าง •เครือ่

Download Report

Transcript ดร.วรยุทธ์ ทิพย์เที่ยงแท้ R1 D1 วิเคราะห์ความต้องการ จาเป็ น •นักเรียน •ครู •การเรียนการสอน •อื่น ๆ ศึกษาข้อมูลพืน้ ฐาน •ศึกษาค้นคว้าเอกสาร •สังเกต •สอบถาม •สัมภาษณ์ ออกแบบ •กาหนดวัตถุประสงค์ •ศึกษาหลักการทฤษฎี •ตัดสินใจเลือก นวัตกรรม •กาหนดลักษณะ/ โครงสร้างองค์ประกอบ นวัตกรรม พัฒนานวัตกรรม •วางแผนการพัฒนา •สร้างนวัตกรรม ต้นแบบ/สือ่ •ตรวจสอบนวัตกรรม โดยผูเ้ ชีย่ วชาญ •ทดลองใช้ 1 ต่อ 1 / ปรับปรุง •ทดลองใช้กลุม่ เล็กไม่ เกิน 10 คน /ปรับปรุง •ทดลองใช้กลุม่ ใหญ่ ไม่ต่ากว่า 30 คน R2 นาไปใช้จริง •กลุม่ ตัวอย่าง •เครือ่

ดร.วรยุทธ์ ทิพย์เที่ยงแท้
R1
D1
วิเคราะห์ความต้องการ
จาเป็ น
•นักเรียน
•ครู
•การเรียนการสอน
•อื่น ๆ
ศึกษาข้อมูลพืน้ ฐาน
•ศึกษาค้นคว้าเอกสาร
•สังเกต
•สอบถาม
•สัมภาษณ์
ออกแบบ
•กาหนดวัตถุประสงค์
•ศึกษาหลักการทฤษฎี
•ตัดสินใจเลือก
นวัตกรรม
•กาหนดลักษณะ/
โครงสร้างองค์ประกอบ
นวัตกรรม
พัฒนานวัตกรรม
•วางแผนการพัฒนา
•สร้างนวัตกรรม
ต้นแบบ/สือ่
•ตรวจสอบนวัตกรรม
โดยผูเ้ ชีย่ วชาญ
•ทดลองใช้ 1 ต่อ 1 /
ปรับปรุง
•ทดลองใช้กลุม่ เล็กไม่
เกิน 10 คน /ปรับปรุง
•ทดลองใช้กลุม่ ใหญ่
ไม่ต่ากว่า 30 คน
R2
นาไปใช้จริง
•กลุม่ ตัวอย่าง
•เครือ่ งมือทีใ่ ช้เก็บ
ข้อมูล
•แบบแผนการทดลอง
•วิธดี าเนินการ
•วิเคราะห์ขอ้ มูลทีใ่ ช้
•ผลการพัฒนาเป็ น
อย่างไร
กรอบแนวคิดในการวิจยั
D2
ประเมินผล
*ปญั หาใน
สถานการณ์จริง
การแก้ปญั หา
•จัดสัมมนา
•สนทนากลุม่
•จิตปญั ญาศึกษา
*การเผยแพร่
นวัตกรรม
•เอกสาร
•เว็บไซต์
การวิจัยและพัฒนา
มีหลายรูปแบบ
1. Generic Model
2. Applied Model
3. Basic Model
ฯลฯ
Generic Model (ADDIE)
(วิเคราะห์ความต้องการจาเป็ น
ในการพัฒนา)
 Design
(ออกแบบ)
 Development (พัฒนา)
 Implementation (นาไปใช้)
 Evaluation (ประเมินผล)
 Analysis
(Donald Clark. 2003 : 12)
Analyze
Implement
Evaluate
Design
Develop
(Donald Clark. 2003 : 12)
วิเคราะห์อะไร ?
นักเรียน
ครู
การเรียนการสอน
อื่นๆ
วิเคราะห์อย่างไร ?
ศึกษาข้อมูลพืน
้ ฐาน
ประเมินความต้องการจาเป็ น
(Needs Assessment)
N = สิ่งที่คาดหวัง-สิ่งที่เป็ นจริง
การศึกษาข้ อมูลพืน้ ฐาน
ศึกษาค้นคว้าเอกสาร
สังเกต
สอบถาม
สัมภาษณ์
การประเมินความต้ องการจาเป็ น
1. กาหนดสิ่งที่คาดหวัง โดย
-วิเคราะห์คาอธิบายรายวิชา
-วิเคราะห์โครงสร้างรายวิชา
-วิเคราะห์แผนการจัดการเรียนรู้
-กาหนดสิ่งที่คาดหวัง
ตัวอย่ างการกาหนดสิ่งที่คาดหวัง
นักเรียนไม่ตา่ กว่าร้อยละ 80 คิดแก้ปัญหาเป็ น
นักเรียนไม่ตา่ กว่าร้อยละ 80 มีทกั ษะการใช้
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจาวัน
นักเรียนไม่ตา่ กว่าร้อยละ 80 รับผิดชอบเข้าชัน้
เรียนและส่งงานตรงเวลา
2. ตรวจสอบสภาพที่เป็ นจริง
สังเกต
สอบถาม
สัมภาษณ์
ทดสอบ
ตรวจสอบเอกสารหลักฐาน
ตัวอย่ างผลการตรวจสอบสภาพที่เป็ นจริ ง
นักเรียนร้อยละ 80 คิดแก้ปัญหาเป็ น
นักเรียนร้อยละ 20 มีทกั ษะการพูดภาษ
อังกฤษ
นักเรียนร้อยละ 30 มีความรับผิดชอบเข้า
ชัน้ เรียนและส่งงานตรงเวลา
3. เปรี ยบเทียบสิ่งที่เป็ นจริงกับสิ่งที่
คาดหวัง
ความเป็ นจริงตา่ กว่าสิ่งที่คาดหวัง
แสดงว่ามีปัญหา
ความเป็ นจริงเท่ากับหรือสูงกว่าสิ่ง
ที่คาดหวัง แสดงว่าไม่มีปัญหา
4. ระบุปัญหาที่ต้องการแก้ ไข
นักเรียนส่วนใหญ่ร้อยละ 80 ไม่มี
ทักษะการพูดภาษอังกฤษในการ
สื่อสาร
นักศึกษาส่วนใหญ่ร้อยละ 70 ไม่มี
ความรับผิดชอบในการเข้าชัน้ เรียน
และส่งงาน
5. วิเคราะห์ สาเหตุของปั ญหา
ความรู้ประสบการณ์ของผูส้ อน
(ผูว้ ิ จยั )
ปรึกษาผูเ้ ชี่ยวชาญ ผูท
้ รงคุณวุฒิ
ศึกษาเอกสารและงานวิจยั ที่
เกี่ยวข้อง
จบขัน้ วิเคราะห์ ได้ อะไร?
ทราบปญั หาทีแ่ ท้จริงทีต่ อ้ งแก้ไข
ทราบเป้าประสงค์ทต่ี อ้ งการบรรลุถงึ
ทราบสาเหตุของปญั หา
ได้ขอ้ มูลพืน้ ฐานสาหรับการออกแบบ
ขัน้ ตอนการออกแบบ
กาหนดวัตถุประสงค์ของการใช้นวัตกรรม
ศึกษาทฤษฏี หลักการแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับ
นวัตกรรม
ตัดสินใจเลือกนวัตกรรมที่จะใช้แก้ปัญหา
กาหนดลักษณะ/โครงสร้าง/องค์ประกอบ
ของนวัตกรรม
1 .กาหนดวัตถุประสงค์ ของการใช้
นวัตกรรม
เป้ าประสงค์
ของการแก้ปัญหา
วัตถุประสงค์
ของการใช้นวัตกรรม
2. ศึกษาทฤษฏีหลักการแนวคิดที่
เกี่ยวข้ องกับนวัตกรรม
ประเภท
ลักษณะเฉพาะ
ข้อบ่งใช้
ฯลฯ
3 .ตัดสินใจเลือกนวัตกรรมที่จะใช้ แก้ ปัญหา
ปัญหา
สาเหตุของปัญหา
เป้ าประสงค์
นวัตกรรม
แนวคิดหลักการทฤษฏี แนวทางแก้ปัญหา
3.กาหนดลักษณะ/โครงสร้ างของ
นวัตกรรม
ชื่อนวัตกรรม
ลักษณะ
โครงสร้าง/องค์ประกอบ
จบขัน้ ออกแบบแล้ วได้ อะไร?
แบบจาลองของนวัตกรรมทีจ่ ะพัฒนา
สือ่ /อุปกรณ์ประกอบการใช้
นวัตกรรม (ถ้ามี)
ขัน้ ตอนการพัฒนานวัตกรรม
วางแผนพัฒนานวัตกรรม
สร้างนวัตกรรมต้นแบบ / สื่อ
ตรวจสอบคุณภาพนวัตกรรมเบือ้ งต้น
ทดลองใช้ 1 ต่อ 1 / ปรับปรุง
ทดลองใช้กลุ่มเล็ก(ไม่เกิน 10 คน) / ปรับปรุง
ทดลองใช้กลุ่มใหญ่ (ไม่ตา่ กว่า 30 คน)
1. วางแผนพัฒนานวัตกรรม
1.1 กาหนดขัน้ ตอนการสร้าง
นวัตกรรม
 ขึน
้ อยู่กบั ประเภทของนวัตกรรม
 ขึน
้ อยู่กบั แนวคิดหลักการทฤษฏี
 ขึน
้ อยู่กบั การประยุกต์ของผูว้ ิ จยั
1.2 กาหนดเกณฑ์ การประเมินประสิทธิภาพ
นิยามให้ชดั ว่า ประสิทธิภาพ หมายถึงอะไร
ประสิทธิภาพต้องสอดคล้องปัญหาที่ต้องการ
แก้ไข
นวัตกรรมมีประสิทธิภาพแสดงว่าสามารถใช้
แก้ปัญหาได้
ตัวอย่ างเกณฑ์ การประเมินประสิทธิภาพ
ร้อยละ
คะแนนก่อนหลัง
ประสิทธิภาพ E1/E2
ดัชนี ประสิทธิผล
สถิติ t-test
2. สร้ างนวัตกรรมต้ นแบบ
สร้างให้มีลกั ษณะโครงสร้าง
องค์ประกอบครบถ้วนตามแบบ
สร้างตามขัน้ ตอนที่วางแผนไว้
3.ตรวจสอบคุณภาพนวัตกรรมเบือ้ งต้ น
(โดยผู้วิจัยและผู้เชี่ยวชาญ)
ความเที่ยงตรงเชิงพินิจ
(Face validity)
ความเที่ยงตรงเชิงเนื้ อหา
(Content validity)
ความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้าง
(Construct validity)
ดัชนีความสอดคล้ อง (IOC) สาหรับวิเคราะห์
ความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ
IOC
=
R
N
เมื่อ
IOC
R
N
แทน ดัชนีความสอดคล้อง
แทน ผลรวมคะแนนความคิดเห็น
แทน จานวนผูเ้ ชีย่ วชาญ
แบบประเมินสาหรั บผ้ ูเชี่ยวชาญ
การคานวณค่า IOC ควรสร้างแบบประเมินให้
ผูเ้ ชี่ยวชาญประเมิน
ผูเ้ ชี่ยวชาญตอบว่าเห็นด้วยให้ +1 คะแนน ตอบ
ว่าไม่แน่ ใจให้ 0 คะแนน ตอบว่า ไม่เห็นด้วย
ให้ -1 คะแนน จากนัน้ คาคะแนนไปคานวณหาค่า
IC ตามสูตร
องค์ประกอบ
ของแบบฝึ ก
ผลการประเมินความสอดคล้อง
เหมาะสม
ไม่แน่ ใจ
ข้อเสนอแนะ
ไม่เหมาะสม
หลักการ
////
//
/
วัตถุประสงค์
///// /
/
เนื้อหาสาระ ………..………………………………………………………………………………………..
ฯลฯ
ค่า IOC ของหลักการ
= .............
ค่า IOC ของวัตถุประสงค์ = ............
4. ทดลองใช้ 1 ต่ อ 1
กลุ่มตัวอย่าง 1 คน
นานวัตกรรมไปใช้
สังเกต สอบถาม บันทึกข้อมูล ในเรื่อง
ความเหมาะสมของภาษา ความเหมาะสม
ขององค์ประกอบนวัตกรรม
ปรับปรุงแก้ไข
5. ทดลองใช้ กลุ่มเล็ก
กลุ่มตัวอย่าง 5-10 คน
นานวัตกรรมไปใช้
สังเกต สอบถาม บันทึกข้อมูล ความเหมาะสม
ของเวลา ปฏิสมั พันธ์ระหว่างกลุ่ม
ปรับปรุงแก้ไข
6. ทดลองใช้ กลุ่มใหญ่
กลุ่มตัวอย่างประมาณ 30 คน
นานวัตกรรมไปใช้
ใช้เครื่องมือเก็บข้อมูลที่มีคณ
ุ ภาพ เน้ นวิธีเชิง
ปริมาณ เช่น แบบทดสอบ แบบสอบถาม
ในด้านประสิทธิภาพของการใช้นวัตกรรม
วิเคราะห์ข้อมูล
สรุปผลประสิทธิภาพ
รายละเอียดของการทดลองกลุ่มใหญ่
กลุ่มตัวอย่าง
เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูล
ขัน้ ตอนการสร้างเครื่องมือ
วิธีหาคุณภาพ
แบบแผนการทดลอง
วิธีดาเนินการทดลอง
การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้
•กลุ่มตัวอย่ าง
ประชากร
(Population)
กลุ่มตัวอย่าง
(Sample)
Sampling
Simple Random Sampling
Cluster Random Sampling
Purposive Sampling
Random Assignment
population
Or
sample
Group 1
Group 2
•เครื่ องมือที่ใช้ ในการเก็บรวบรวม
ข้ อมูล
เครื่องมือต้องสอดคล้องกับ
วัตถุประสงค์การวิจยั และตัวแปร
เครื่องมือต้องผ่านการหาคุณภาพ
แบบทดสอบ
K&P(ความรู้&ทักษะ
แบบสอบถาม
แบบสัมภาษณ์
A (คุณธรรม จริยธรรม)
แบบมาตรประมาณค่า
แบบตรวจสอบรายการ ความสามารถ
แบบสังเกต
Rubrics
ขัน้ ตอนการสร้ างเครื่ องมือทั่วไป
วิเคราะห์หลักสูตร
ศึกษาทฤษฎีหลักการสร้างเครื่องมือประเภทนัน้
เขียนข้อคาถาม
ตรวจสอบความเที่ยงตรง เช่น Content validity
ทดลองใช้ (Try out)
หาคุณภาพรายข้อ เช่น Difficulty, Discrimination
หาคุณภาพทัง้ ฉบับ เช่น Reliability
คุณภาพของแบบทดสอบ (Test)
ความเที่ยงตรง (Validity)
ความยากง่าย (Difficulty)
อานาจจาแนก (Discrimination)
ความเชื่อมัน่ (Reliability)
คุณภาพของแบบมาตรประมาณค่ า
(Rating Scale)
ความเที่ยงตรง (Validity)
อานาจจาแนก (Discrimination)
ความเชื่อมัน่ (Reliability)
คุณภาพของแบบสัมภาษณ์
แบบ
ตรวจสอบรายการ แบบสังเกต
ความเที่ยงตรง (Validity)
 แบบแผนการทดลอง
The One-Group, Pretest-Posttest
Design
O1
X
O2
The Nonequivalent, Pretest-Posttest
Design
O1
X
O3
X
O2
O4
The Equivalent-Materials,
Single-Group, Pretest-Posttest
Design
MA O1
X
O2
; MB O3 X O4
•การดาเนินการทดลองและเก็บ
รวบรวมข้ อมูล
เตรียมความพร้อมประชากร/กลุ่มตัวอย่าง
ดาเนินการทดลองตามแบบแผนการทดลอง
เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยเครื่องมือที่เหมาะสม
•การวิเคราะห์ ข้อมูลและสถิตทิ ่ใี ช้
ถ้าทดลองโดยตรงกับประชากร ไม่มีการสุ่ม
ตัวอย่าง ใช้สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive statistics)
เช่น Mean, SD, frequency, percentage
ถ้าทดลองกับกลุ่มตัวอย่าง มีการสุ่ม ใช้สถิติเชิง
อนุมาน (Inferential statistics) เช่ น t-test, F-test
random sampling
Population
Sample
sampling error
Parameter
Statistics
infer
ตัวอย่ างสถิตทิ ่ ใี ช้ กับการทดลอง
กลุ่มใหญ่
ค่าดัชนี ประสิทธิผล (EI)
คะแนนเฉลี่ยหลังเรียน - คะแนนเฉลี่ยก่อนเรียน
คะแนนเต็มหลังเรียน - คะแนนเฉลี่ยก่อนเรียน
เกณฑ์การตัดสิน .50 ขึน้ ไป
•ประสิทธิภาพ E1/E2
E1
=
X
N
A
เมือ่
E1
X
A
N
×
100
คือ ประสิทธิภาพกระบวนการ
คือ ผลรวมของคะแนนทีไ่ ด้จากการวัด
ระหว่างเรียน
คือ
คะนนเต็มของแบบวัดระหว่างเรียน
คือ
จานวนตัวอย่างทัง้ หมด
E2
=
Y
N × 100
B
เมือ่
E2
คือ ประสิทธิภาพของผลลัพธ์
Y
คือ ผลรวมของคะแนนทีไ่ ด้จากการวัดหลังเรียน
B
คือ คะนนเต็มของแบบวัดหลังเรียน
N
คือ จานวนตัวอย่างทัง้ หมด
2
t-test Dependent sample
t
=
D
nD2 -
(D)
n - 1
2
การวิจยั และพัฒนาตามปกติท่ วั ไป
กลุ่มเป้ าหมายที่มีปัญหา
(นักเรียน4ห้อง 160 คน)
กลุ่มตัวอย่าง
(นักเรียน 40 คน)
นาไปใช้แก้ปัญหาจริง
ทดลองใช้เพื่อ
ตรวจสอบประสิทธิภาพ
การวิจัยในชัน้ เรี ยน
กลุ่มเป้ าหมายที่มีปัญหา
(นักเรียน 5 คน)
กลุ่มตัวอย่าง
(นักเรียน 5 คน)
นาไปใช้แก้ปัญหาจริง
ทดลองใช้เพื่อ
ตรวจสอบประสิทธิภาพ
สรุ ปผลประสิทธิภาพการใช้ นวัตกรรม
 นวัตกรรมมีประสิทธิภาพ แสดงว่า นวัตกรรม
สามารถใช้แก้ปัญหากับกลุ่มตัวอย่างได้ ควร
นาไปใช้แก้ปัญหาจริงต่อไป
 ถ้ากลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดลอง เป็ นกลุ่มเดียวกับ
กลุ่มเป้ าหมายที่มีปัญหา แสดงว่าหลังการทดลองใช้
นวัตกรรม ปัญหาของกลุ่มเป้ าหมายได้รบั การแก้ไข
แล้ว การวิจยั และพัฒนาในกรณี นี้ถือว่าจบแล้ว ไม่มี
ขัน้ ตอนการนานวัตกรรมไปใช้แก้ปัญหาอีก
จบขัน้ พัฒนาแล้ วได้ อะไร?
 นวัตกรรมทีส่ มบูรณ์แบบ
พร้อมนาไปใช้แก้ปญั หาจริง(ประชากร)
 ปญั หาได้รบั การแก้ไขในระดับการ
ทดลอง (กลุ่มตัวอย่าง)
 จบการวิจยั ระยะแรก
วิเคราะห์
ออกแบบ
พัฒนา
นาไปใช้และ
ประเมินผล
ปัญหา
แนวทางแก้ปัญหา
นวัตกรรมที่มีประสิทธิภาพ
ปัญหาในสถานการณ์จริง
ได้รบั การแก้ไข
การวางแผนนานวัตกรรมไปใช้ และ
ประเมินผล
กาหนดกลุ่มเป้ าหมาย
สร้างเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล
กาหนดแผนการใช้นวัตกรรม
ดาเนินการใช้นวัตกรรม/รวบรวมข้อมูล
วิเคราะห์ข้อมูล
สรุปและรายงานผล
1. การกาหนดกลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้ าหมาย คือ กลุ่มที่มีปัญหา
กลุ่มเป้ าหมายเป็ นกลุ่มตัวอย่างที่
เลือกจากประชากรในการวิจยั
กลุ่มเป้ าหมายอยู่ในสภาพจริง ไม่ใช่
ห้องทดลอง
2. การสร้ างเครื่ องมือเก็บรวบรวม
ข้ อมูล
ใช้เครื่องมือเดียวกับตอนทดลองใช้
นวัตกรรม
3. แบบแผนการใช้ นวัตกรรม
ลักษณะเช่นเดียวกับตอนการ
ทดลองใช้นวัตกรรม
4. ดาเนินการใช้ นวัตกรรม
ใช้กบั กลุ่มเป้ าหมายจริง
ใช้ในสถานการณ์ จริง
ใช้ตามแผนปฏิบตั ิ ที่กาหนดไว้
เก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อการประเมินผล
5. วิเคราะห์ ข้อมูล
ค่าเฉลี่ย (Mean)
ค่าความเบีย่ งเบนมาตรฐาน (SD)
ความถี่ (Frequency)
ร้อยละ (Percentage)
ประสิทธิภาพ E1/E2
ดัชนี ประสิทธิผล (EI)
6. สรุ ปและรายงานผล
กราฟ
ตารางวิเคราะห์ข้อมูล
การบรรยายข้อมูล
จบขัน้ นาไปใช้ และประเมินผล
แล้ วได้ อะไร?
ทราบว่าปัญหาทัง้ หมดใน
ภาพรวมได้รบั การแก้ไขด้วย
การใช้นวัตกรรมหรือไม่
THE END