การเขียนข้ อสอบวัดการคิดขั้นสู ง Bloom’s Taxonomy Evaluation Synthesis Analysis Application Comprehension Knowledge wel-7Apr ขั้นสู ง 3.00 การนาไปใช้ (Application) เป็ นการนาเอาความรู้ ความเข้ าใจในเรื่องราวใด ๆ ทีต่ นมีอยู่เดิมไปแก้ ปัญหาทีแ่ ปลกใหม่ ของเรื่อง นั้นได้

Download Report

Transcript การเขียนข้ อสอบวัดการคิดขั้นสู ง Bloom’s Taxonomy Evaluation Synthesis Analysis Application Comprehension Knowledge wel-7Apr ขั้นสู ง 3.00 การนาไปใช้ (Application) เป็ นการนาเอาความรู้ ความเข้ าใจในเรื่องราวใด ๆ ทีต่ นมีอยู่เดิมไปแก้ ปัญหาทีแ่ ปลกใหม่ ของเรื่อง นั้นได้

การเขียนข้ อสอบวัดการคิดขั้นสู ง
Bloom’s Taxonomy
Evaluation
Synthesis
Analysis
Application
Comprehension
Knowledge
wel-7Apr
ขั้นสู ง
3.00 การนาไปใช้ (Application)
เป็ นการนาเอาความรู้ ความเข้ าใจในเรื่องราวใด ๆ
ทีต่ นมีอยู่เดิมไปแก้ ปัญหาทีแ่ ปลกใหม่ ของเรื่อง
นั้นได้
ลักษณะการถาม
• เน้ นเรื่องราวหรือปัญหาทีผ่ ้ ูเรียนไม่ คุ้นเคย
• คาถามต้ องซ่ อนเงือ่ นหรือทาให้ เกิดความฉงนสนเท่ ห์
• คาถามเกีย่ วพันระหว่ างหลักวิชากับอะไร ๆ สั กอย่ างหน่ง
วิธีการเขียน
แบบ 1 ถามความสอดคล้ องระหว่ างหลักวิชากับการปฏิบัติ
–หลักวิชากับตัวอย่ างของจริง
–ความสอดคล้ องระหว่ างตัวอย่ างกับตัวอย่ าง
คาพูดใดมีลกั ษณะเป็ นประชาธิปไตย
ก. ทาอย่ างนีไ้ ด้ ไหม
ข. ต้ องทาอย่ างนี้
ค. ห้ ามทาอย่ างนี้
ง. อย่ าทาอย่ างนี้
จ. รีบทาเร็วเข้ า
การซื้อกระดาษใช้ วธิ ีนับวัดเหมือนกับการขายอะไร
ก. การขายตะปู
ข. การขายทราย
ค. การขายอิฐ
ง. การขายเชือก
จ. การขายสั งกะสี
แบบ 2 ถามขอบเขตของหลักวิชาและการปฏิบัติ
เป็ นการวัดความรอบรู้ ในการนาหลักวิชาไปใช้ ในสภาพจริง
เหมาะกับเรื่องราวทีม่ กี ฎเกณฑ์ จากัด สามารถใช้ ได้ ดเี พียง
บางลักษณะหรือเป็ นจริงบางกรณี
–ถามขอบเขตและเงือ่ นไขของหลักวิชาและการปฏิบัติ
เช่ น ถามเกีย่ วกับปรากฏการณ์ เรื่องนี้ สิ่ งนี้ แสดงถง
ความจริงของสู ตรหรือกฎใด เป็ นต้ น
–ถามข้ อยกเว้ นของหลักวิชาและการปฏิบัติ
การทีเ่ ด็กสามารถคอนนา้ หนักของผู้ใหญ่ บนคานกระดก
เป็ นตัวอย่ างแสดงความจริงของเรื่องใด
ก. งานเข้ าเท่ ากับงานออก
ข. นา้ หนักทีก่ ดเท่ ากับความฝื ด
ค. แรงกิริยาเท่ ากับแรงปฏิกริ ิยา
ง. โมเมนต์ ทวนเท่ ากับโมเมนต์ ตาม
จ. พลังงานจลน์ เท่ ากับพลังงานศักย์
เมือ่ ต้ มสารเหลวเหล่ านีน้ าน ๆ จุดเดือดจะสู งขน้ เรื่อย ๆ
ยกเว้ นของเหลวชนิดใด
ก. นา้ กลัน่
ข. นา้ เกลือ
ค. นา้ แกง
ง. นา้ มัน
จ. นา้ ข้ าว
แบบ 3 ถามให้ อธิบายหลักวิชา
• เป็ นการถามให้ อธิบายเรื่องราว ปรากฏการณ์ การกระทาต่ างๆ
ตามหลักวิชาว่ าการที่สิ่งนั้นเกิดขน้ หรือมีสภาพเช่ นนั้นหรือต้ อง
ประพฤติเช่ นนั้น ๆ เป็ นเพราะมีเหตุผลหรือหลักวิชาใด หรือ
สามารถอธิบายได้ ด้วยสู ตรกฎ และหลักการใด
• คาถาม มักถามว่ าเพราะอะไร เหตุใด ทาไม เนื่องจากอะไร เกิด
จากอะไร อธิบายได้ อย่ างไร แนวคาถามควรเป็ นแง่ มุมใหม่ ผูก
คาถามให้ ผดิ ไปจากตารา
• คาตอบ ต้ องเป็ นคาอธิบายหลักวิชาของเรื่องราวนั้น และคาตอบ
ควรเขียนเป็ นสานวนใหม่
ข้ อความ ไม่ ควรปลูกพืชให้ มีระยะชิดกันมากนัก
เหตุผล เพราะจะทาให้ รสไม่ ดเี หมือนพันธุ์เดิม
ข้ อความ ถ้ าต้ องการเก็บพืชไว้ ค้างคืนก็ไม่ ควรล้ างนา้
เหตุผล เพราะจะทาให้ พชื คายนา้ ไม่ สะดวก
ข้ อความถูก เหตุผลถูก
ตอบ ก
ข้ อความถูก เหตุผลผิด
ตอบ ข
ข้ อความผิด เหตุผลถูก
ตอบ ค
ข้ อความผิด เหตุผลผิด
ตอบ ง
แบบ 4 ถามให้ แก้ ปัญหา
เป็ นการนาความรู้ ไปใช้ ในสภาพจริง สถานการณ์ ใหม่ ๆ ที่
นอกเหนือไปจากตารา เป็ นการย้ ายทีค่ วามรู้ จากตาราออกไปสู่
สถานการณ์ อนื่ ๆ ทีแ่ ปลกใหม่
การแก้ ปัญหาเฉพาะหน้ า เป็ นการเอาหลักวิชามาอนุมานว่ าถ้ า
ได้ ประสบกับสถานการณ์ ต่าง ๆ ทีไ่ ม่ สมบูรณ์ แล้ วจะแก้ ไข
สถานการณ์ น้ันได้ อย่ างไร เป็ นการแก้ ขดั ไปชั่วคราว แต่ ไม่ ทา
ให้ เกิดความบกพร่ องเสี ยหายมากนัก
การแก้ ปัญหาตามหลักวิชา เป็ นการถามทีต่ ้ องหาคาตอบโดย
ใช้ สูตรกฎ หลักวิชาของเรื่องราวนั้น ๆ มาแก้ ปัญหาโดยตรง
ถ้ าขาดแคลนเนือ้ สั ตว์ ควรทดแทนด้ วยอาหารชนิดใด
ก. ถั่ว
ข. งา
ค. มัน
ง. เผือก
จ. ข้ าวโพด
เด็กผอมแกร็น ควรแนะนาให้ ซื้ออาหารในข้ อใดรับประทาน
ก. ถั่วต้ ม
ข. อ้ อยควัน่
ค. มันแกว
ง. มะยมดอง
จ. ท้ อฟฟี่
แบบ 5 ถามเหตุผลของการปฏิบัติ
• เป็ นการถามว่ าเรื่องนั้น ๆ ควรปฏิบัติอย่ างไรหรื อจะเกิด
อะไรขน้ เพราะเหตุใด
• เป็ นการถามทีร่ วมเอาแนวการถามแบบที่ 3 และ 4 เข้ า
ด้ วยกันและให้ อ้างเหตุผลด้ วย
แนวการถาม
ถามให้ ตรวจสอบแก้ ไข เป็ นการถามให้ ตรวจสอบความ
สมบูรณ์ ของการปฏิบัตติ ่ าง ๆ ว่ าถูกต้ องตามทฤษฎีและ
หลักการหรือไม่ เพราะอะไร หรือยังมีสิ่งใดบกพร่ อง
ถามให้ วนิ ิจฉัยคัดเลือก วิจารณ์ ติ ชม เปรียบเทียบการ
ปฏิบัตติ ่ าง ๆ ว่ าเป็ นวิธีการทีเ่ หมาะสมถูกต้ อง หรือขัดแย้ ง
กับหลักวิชาใด หรือเพราะมีเหตุผลใดถงต้ องประพฤติ
ปฏิบัติเช่ นนั้น
แบบนีอ้ าจนาไปสู่ คาถามขั้น 4.00 และ 6.00 ได้
เด็ก ๆ ควรซื้ออาหารอะไรรับประทาน เพราะเหตุใด
ก. อ้ อยควัน่ เพราะราคาถูก
ข. มันแกว เพราะมีวติ ามิน
ค. ถั่วต้ ม เพราะมีโปรตีน
ง. นา้ อัดลม เพราะมีโซดา
จ. มะยมดอง เพราะรสอร่ อย
นิยาม การคิดวิเคราะห์
• การจาแนกแยกแยะ องค์ ประกอบของสิ่ งใดสิ่ งหน่ง
ออกเป็ นส่ วนๆ เพือ่ ค้ นหาว่ าทามาจากอะไร มี
องค์ ประกอบอะไร ประกอบขน้ มาได้ อย่ างไร เชื่อมโยง
สั มพันธ์ กนั อย่ างไร (เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ ศักดิ์ .2546)
wel-7Apr
การวิเคราะห์ ตามแนวของมาร์ ซาโน
• แบ่ งจุดมุ่งหมายทางการศกษาออกเป็ นความรู้ และ
กระบวนการจัดกระทาข้ อมูล
• ประเภทของความรู้ ได้ แก่ ข้ อมูล กระบวนการ ทักษะ
• กระบวนการจัดกระทาข้ อมูล ได้ แก่ ขั้นรวบรวม ขั้น
เข้ าใจ ขั้นวิเคราะห์ ขั้นใช้ ความรู้ ให้ เป็ นประโยชน์ เป็ นการ
ตัดสิ นใจในสถานการณ์ ทไี่ ม่ มคี าตอบชัดเจน ขั้นบูรณา
การความรู้ และขั้นจัดระบบแห่ งตน
ขั้นการคิดวิเคราะห์ ของมาร์ ซาโน
•
•
•
•
•
ทักษะการจาแนก
ทักษะการจัดหมวดหมู่
ทักษะการเชื่อมโยง
ทักษะการสรุปความ
การประยุกต์
• การคิดวิเคราะห์ เป็ นการแสวงหาข้ อเท็จจริง การ
ตรวจสอบข้ อมูล การระบุความสาคัญ การแจกแจง
จาแนกแยกแยะข้ อมูล การหาความสั มพันธ์ เชิง
เหตุผล
wel-7Apr
การวิเคราะห์ (Analysis) (4.00)
เป็ นความสามารถในการแยกแยะสิ่ งสาเร็จรู ป
ออกเป็ นส่ วนย่ อย ๆ ตามหลักการ และกฎเกณฑ์ ที่
กาหนดให้ เพือ่ ค้ นหาความจริงต่ าง ๆ ทีซ่ ่ อนแฝงอยู่
ภายในเรื่องราวนั้น
(ชวาล แพรัตกุล)
• สิ่ งสาเร็จรูป หมายถง วัตถุสิ่งของต่ าง ๆ ทีอ่ ยู่
รอบตัว หรือบรรดาเรื่องราวและเหตุการณ์ ใด ๆ ก็ได้
เช่ น โคลง กลอน รูปภาพ กราฟ บทความ ข้ อความ
ความคิดเห็น เหตุการณ์ ต่าง ๆ เป็ นต้ น
• กฎเกณฑ์ ในการวิเคราะห์
–มีความหมายทางวิชาการ
–มีเหตุผล เหมาะกับเรื่องราวทีว่ เิ คราะห์
–ได้ รับการรับรองว่ าเป็ นเกณฑ์ ทถี่ ูกต้ องตามนั้นจริง
–เกณฑ์ ทกี่ าหนดให้ ต้องเป็ นเอกพันธุ์กนั ทั้งชุดใน
ตัวเลือก
–เป็ นเกณฑ์ ใหม่ ทไี่ ม่ ได้ คดั ลอกมจากตาราโดยตรง
• การค้ นหาความจริง
–ในการจาแนกแยกแยะสิ่ งใด ๆ ก็ตามมีความมุ่งหมาย
เพือ่ ทีจ่ ะค้ นหาสภาพความจริงและสิ่ งสาคัญของเรื่อง
โดยพยามยามมองให้ เห็นแก่ นแท้ และเนือ้ หาสาระที่
ซ่ อนอยู่ภายใน
สองภาพนีต้ ่ างกันตรงไหน
หหาหัวคนในภาพให้ เจอซิคะ
http://atcloud.com/stories/20033
- ค้ นหาได้ ภาย ในเวลา 25 วินาที คุณเป็ นคนทีม่ ีสมองข้ างขวา
ดีกว่ าคนปกติ
- ค้ นหาได้ ภาย ในเวลา 1 นาที สมองของคุณพัฒนาตามปกติ
- ค้ นหาได้ ในเวลา 1-3 นาที สมองข้ างขวา ของคุณมีปฏิกริ ิยา
ช้ าคุณควรกินโปรตีนให้ มากขน้ กว่ าเดิม
- แต่ ถ้าหากคุณค้ นหาเจอเกินกว่ า 3 นาที สมองของคุณมี
ปฏิกริ ิยาตอบ สนองช้ ามากๆ ทางทีด่ คี ุณควรหัดดูการ์ ตูนเสี ยบ้ าง
เผือ่ จะได้ พฒ
ั นาสมอง ข้ างขวาขน้ บ้ าง
ทายซิ ภาพนีม้ ีคนกีค่ น
http://atcloud.com/stories/19894
หลักการถาม
สิ่ งสาเร็จรู ป
ตัวปัญหา
ค้ นหาสิ่ งสาคัญในแง่ มุมต่ าง ๆ
หลักทั่วไปของการเขียนคาถามวิเคราะห์
• ถามเกีย่ วกับคุณลักษณะใดคุณลักษณะหน่งทีซ่ ่ อนแฝงอยู่
ในเรื่องนั้น
• กาหนดหลักเกณฑ์ ทเี่ หมาะสมสาหรับผู้สอบ
• เป็ นเรื่องทีแ่ ปลกใหม่ ถามในแง่ มุมใหม่ ทตี่ ่ างจากตารา
ชนิดของการวิเคราะห์
1. วิเคราะห์ ความสาคัญ (4.10)
2. วิเคราะห์ ความสั มพันธ์ (4.20)
3. วิเคราะห์ หลักการ (4.30)
4.10 การวิเคราะห์ ความสาคัญ
• เป็ นการค้ นหาคุณลักษณะทีเ่ ด่ นชัดของเรื่องราวในแง่ มุม
ต่ าง ๆ ตามกฎเกณฑ์ ทกี่ าหนดให้ ได้ แก่
• ถามให้ วเิ คราะห์ ชนิด
• ถามให้ วเิ คราะห์ สิ่งสาคัญ
• ถามให้ วเิ คราะห์ เลศนัย
แนวการถาม
• วิเคราะห์ แบบรวมยอดจากเรื่องราวทั้งหมด
• วิเคราะห์ แยกแต่ ละตอน แต่ ละวรรค
• วิเคราะห์ แบบกลับ หาว่ าสิ่ งสาคัญนั้นอยู่ในตอนใด
หรือวรรคใด
4.10 วิเคราะห์ ความสาคัญ แบบวิเคราะห์ ชนิด
• เป็ นการวัดความสามารถขั้นต้ นของการวิเคราะห์ ให้
จาแนกแจกแจงบอกชนิด ลักษณะ ประเภท ของบรรดา
ข้ อความ เรื่องราว เหตุการณ์ ต่าง ๆ
แนวคาถาม
• ตั้งคาถามให้ นักเรียนชี้บอกชนิด ประเภท ในแง่ ของ
–ความสาคัญ หน้ าที่ วัตถุประสงค์ ประโยชน์ ของ
เรื่องราวและการกระทา เช่ น
• ข้ อความนี้ (โคลง กลอน บทความ ภาพนี)้ กล่ าวว่ าสิ่ งใดสาคัญ
ทีส่ ุ ด
- ความเพียร
• เรื่องนีใ้ ห้ คติ (ความคิด คาสอน) ว่ าอย่ างไร
- วาจาสาคัญกว่ าทรัพย์
• ย่ อหน้ าที่สามกล่ าวถงอะไร
- ความเสี ยสละ
• สิ่ งใด (หรืออะไร ส่ วนไหนของเรื่องนั้น) ที่ขาดเสี ยมิได้
- จานวนสมาชิก
• จุดมุ่งหมายทีส่ าคัญของเรื่องนี้ (คาพูด โคลง) คืออะไร
- เพือ่ ปลุกใจ
• ที่กล่ าวเช่ นนีเ้ พือ่ อะไร
- เตือนสติ
• เป้าหมายสาคัญ (ปลายทาง ข้ อกาหนด จุดประสงค์ ) ของงานนี้
คืออะไร
- เพือ่ การกุศล
“เสพย์ วนั นีเ้ ป็ นผีในวันหน้ า” มีความหมาย
ต่ อต้ านยาเสพย์ ติดชนิดใด
(4.10)
ก. ฝิ่ น
ข. สุ รา
ค. บุหรี่
ง. กัญชา
จ. เฮโรอีน
"เสี ยชีพอย่ าเสี ยสั ตย์ " เป็ นข้ อความชนิดใด (4.10)
ก. คาพังเพย
ข. ความเห็น
ค. ความจริง
ง. คาปลุกใจ
จ. คติเตือนใจ
“มะเร็งคือความโลภ จิตละโมบทาความชั่ว
ปล้ นจีไ้ ม่ เกรงกลัว ใจหมองมัวลืมโทษทัณฑ์
มะเร็งคือความโกรธ แสนเหีย้ มโหดโทษมหันต์
ทาลายทุกสิ่ งอัน ไม่ สุขสั นต์ ตลอดไป”
จากบทความนีใ้ ห้ แนวคิดในเรื่องใด (4.10)
ก. ความโลภก็คอื มะเร็ง
ข. ความโลภ คือสิ่ งทีท่ าให้ หมดทุกข์
ค. ความโกรธคือสิ่ งทีท่ าให้ หมดทุกข์
ง. ความโลภความโกรธคือสิ่ งทีท่ าให้ เป็ นทุกข์
จ. ความโลภความโกรธ คือสิ่ งทีท่ าให้ เป็ นสุ ข
4.20 การวิเคราะห์ ความสั มพันธ์
• เป็ นการค้ นหาความเกีย่ วข้ องระหว่ างคุณลักษณะใด ๆ ทีม่ ี
ความหมายนัยสาคัญของเรื่องราวและสิ่ งต่ าง ๆ
•
•
•
•
•
•
•
คากล่ าวใดสอดคล้ องกับเนือ้ เรื่องนี้
สิ่ งใดเกีย่ วข้ องกับสิ่ งนั้นโดยตรง
จะมากน้ อยขน้ อยู่กบั อะไร
สิ่ งใดขัดแย้ งกับกฎนี้
ความเห็นใดตรงข้ ามกับผลข้ างต้ น
คากล่ าวใดสรุปผิด
ข้ อเท็จจริงใดไม่ สมเหตุผล
•
•
•
•
โคลงบาทที่ 2 เกีย่ วข้ องเช่ นไรกับบาทแรก
ความสองตอนใดที่ขัดแย้ งกัน
โคลงบาทที่ 3 เกีย่ วข้ องกับโคลงทั้งบทเช่ นไร
ความตอนใดสนับสนุนผลสรุปนี้
อวัยวะคู่ใดทีท่ าหน้ าทีเ่ กีย่ วข้ องกันมากทีส่ ุ ด 4.20
ก. หูกบั ตา
ข. ตับกับไต
ค. จมูกกับปาก
ง. หัวใจกับปอด
การสงครามระหว่ างสุ มาอีก้ บั ขงเบ้ ง เปรียบได้ ดงั ข้ อใด
(4.20)
ก. เสื อ พบ สิ งห์
ข. หนู พบ แมว
ค. โจร พบ ตารวจ
ง. หมาป่ า พบ ลูกแกะ
จ. เต่ า พบ กระต่ าย
จะใช้ อะไรเป็ นต้ นเรื่องของการถามความสั มพันธ์
• ข้ อความทีเ่ กีย่ วกับคติและคาสอน เช่ น โคลง กลอน คาประพันธ์
• บทความทีเ่ กีย่ วกับความคิดความเห็น เช่ น ทัศนคติ ลัทธิ
ทรรศนะ
• ข้ อความทีเ่ กีย่ วกับสู ตรกฎ และหลักวิชา ได้ แก่ ข้ อความที่อธิบาย
ความหมายและกาเนิดทีม่ าสู ตรกฎ ทฤษฎีและสมมติฐาน
• ภาพ กราฟ แผนทีแ่ ผนผังและตารางตัวเลข
• ใช้ วตั ถุของจริง หุ่นจาลองของตัวอย่ างสิ่ งของ
4.30 การวิเคราะห์ หลักการ
• เป็ นการค้ นหาโครงสร้ าง และระบบของวัตถุสิ่งของ
เรื่องราว และการกระทาต่ าง ๆ ถ้ าสิ่ งนั้นสามารถรวมตัว
กัน จนดารงสภาพอยู่ได้ ด้วยอะไร ยดอะไรเป็ นหลัก หรือ
มีสิ่งใดมาเป็ นตัวเชื่อมโยง
• วิเคราะห์ โครงสร้ าง
เป็ นการถามถงลักษณะของวิธีรวมตัวของ
ส่ วนประกอบย่ อย ๆ ทีเ่ ชื่อมโยงยดเหนี่ยวเข้ าเป็ นเอกรู ป
เดียวกัน ไม่ ใชการถามถงรู ปพรรณสั ณฐาน หรือสี สรรค์
ภายนอกของวัตถุน้ัน
• วิเคราะห์ หลักการ
หลักการคือความจริงแม่ บท ที่บรรดาเรื่องราวและการ
กระทาต่ าง ๆ ยดถือเป็ นพืน้ ฐานและเป็ นแนวทางในการ
ปฏิบัติ
"ควรสอบหลาย ๆ ครั้ง ครั้งละหลาย ๆ ข้ อนั้นดี"
เพราะยดหลักการใด
ก. ความถูกต้ อง
ข. ความเทีย่ งแท้
ค. ความละเอียด
ง. ความแน่ นอน
จ. ความครอบคลุม
(4.30)
บ่ อ สระ ทะเล มีอะไรที่ต่างกัน
ก. นา้
ข. รส
ค. ใส
ง. คลืน่
จ. ขนาด
4.30
มาทดสอบกันเถอะ
คาถามในข้ อใดวัดการคิดวิเคราะห์
1. ภาพทีส่ ะดุดตามักใช้ สีเช่ นไร ---- สี ที่ตัดกัน
2. ภาพนีส้ ะดุดตาเพราะใช้ สิ่งใดช่ วย ----สี – ทรง --- ขนาด
3. โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน มีหลักการใดที่ร่วมกัน --- สั มผัสนอก
4. โคลงบทนีต้ ิดปากประชาชนมาก เพราะกวีใช้ วธิ ีแต่ งแบบใด
--- เล่ นสั มผัสอักษร
เด็กเอ๋ ยเด็กอย่ าดือ้
ผู้ใหญ่ ปรานี
เด็กผิดยิง่ ทวี
เด็กเก่ งพลอยตื่นเต้ น
ถือดี
ไม่ เว้ น
ความห่ วง ใยนา
กล่ าวซร้ องสรรเสริญ
(สุ กจิ นิมมานเหมินทร์ )
• ผู้ใหญ่ เป็ นห่ วงเด็กประเภทใดมากทีส่ ุ ด
–เด็กดือ้ - เด็กอวดดี - เด็กทีท่ าผิด - เด็กทีอ่ ายุน้อย - เด็ก
ที่เรียนอ่ อน
• โคลงนีก้ ล่ าวถงเรื่องอะไร
–ตาหนิเด็กที่ทาผิด - รังเกียจเด็กที่อวดดี - สอนให้ เด็กเรียน
เก่ ง ๆ
–ขอร้ องให้ เด็กรักผู้ใหญ่ - ความรักของผู้ใหญ่ ต่อเด็ก
•
•
•
•
•
•
โคลงนีก้ ล่ าวในลักษณะใด
โคลงบาทใดมีใจความเป็ นทีช่ ื่นชมแก่ ทุกฝ่ าย
สองบาทใดทีข่ ดั แย้ งกัน แต่ ช่วยให้ ความหมายชั ดขน้
ควรตั้งชื่อโคลงนีว้ ่ าเช่ นไร
เด็กดือ้ ได้ แก่ เด็กเช่ นไร
ควรใช้ โคลงนีก้ บั เรียงความเรื่องใด
แนวคาถาม
......ใคร
..... ทาอะไร
… ที่ไหน
… เมื่อไร
… อย่ างไร
… ทาไม
(Who)
(What)
(Where)
(When)
(How)
(Why)
wel-7Apr
5.00 การสั งเคราะห์ (Synthesis)
ความสามารถในการรวมสิ่ งต่ าง ๆ ตั้งแต่ สอง
ชนิดเข้ าด้ วยกันเพือ่ ให้ เกิดสิ่ งสาเร็จรูปชิ้นใหม่
ทีม่ ีคุณลักษณะบางอย่ างแปลกพิสดารไปจาก
ส่ วนประกอบย่ อย ๆ ของเดิม
5.10 การสั งเคราะห์ ข้อความ
• การพูด ให้ แสดงความคิดเห็นต่ อเรื่องราว ขยายความหมาย
เดิมให้ ชัด ให้ สรุ ปหัวใจของเรื่องโดยใช้ ภาษาของตนเอง ให้ หาข้ อ
ยุตจิ ากการอภิปราย
• การเขียน เขียนเรียงความ รายงาน ด้ วยภาษาหรือสานวนของ
ตนเอง
• การแสดง ให้ กล่ าวบรรยายจากภาพ แสง สี เสี ยง หรืออากัปกิริยา
ท่ าทาง การกระทา จากสิ่ งทีพ่ บเห็น
5.20 สั งเคราะห์ แผนงาน
• เป็ นการวางโครงการหรือแผนงานต่ าง ๆ
• เสนอวิธีการตรวจสอบสมมติฐาน
5.30 สั งเคราะห์ ความสั มพันธ์
• เป็ นการค้ นหาความสั มพันธ์ ของส่ วนย่ อยต่ าง ๆ ให้ รวม
เป็ นสิ่ งเดียวกัน เช่ น การประดิษฐ์ การค้ นคว้ า การลงท้ าย
สรุปในนิทานอีสป
6.00 การประเมินค่ า (Evaluation)
การตีราคาสิ่ งต่ าง ๆ โดยสรุปอย่ างมีหลักเกณฑ์ ว่า
สิ่ งนั้นมีคุณค่ าดีเลว หรือเหมาะควรเช่ นไร
6.10 การประเมินค่ าโดยอาศัยเกณฑ์ ภายใน
เป็ นการถามทีใ่ ห้ ประเมินสิ่ งใด ๆ โดยอาศัยข้ อเท็จจริงต่ าง ๆ เท่ าที่
ปรากฏอยู่ในเรื่องราวนั้นเองมาเป็ นหลักในการพิจารณา
6.20 ถามการประเมินค่ าโดยอาศัยเกณฑ์ ภายนอก
เป็ นการถามทีใ่ ห้ ประเมินสิ่ งใด ๆ โดยใช้ เกณฑ์ อนื่ ๆ ที่อยู่ภายนอก
เรื่องราวนั้นมาเป็ นหลักในการวินิจฉัย เกณฑ์ นีอ้ าจเป็ นเกณฑ์ ที่
สั งคมหรือระเบียบประเพณีกาหนดก็ได้
มาวิเคราะห์ตวั บง่ ชี้การคิด
ขั
น
้
สู
ง
กั
น
เถอะ
จากมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วดั
ผลการเรียนรู้
april52-71
ตัวอย่ างข้ อสอบตามแนวของ PISA
เรื่องนมโรงเรียน (หน้ า 18)
ในปี ค.ศ. 1930 ได้ มีการศกษาทดลองครั้งใหญ่ ในโรงเรียนต่ างๆ ในท้ องที่
หน่งของสก็อตแลนด์ ในช่ วงเวลาสี่ เดือน นักเรียนบางคนได้ รับนมฟรีและ
บางคนไม่ ได้ รับ ครูใหญ่ เป็ นผู้คดั เลือกว่ านักเรียนคนใดได้ รับนม การศกษาทา
ดังนี้
นักเรียน 5000 คน ได้ รับนมไม่ พาสเจอร์ ไรส์ ปริมาณหน่งทุกวันทีเ่ รียน
นักเรียนอีก 5000 คน ได้ รับนมพาสเจอร์ ไรส์ ปริมาณเท่ ากันทุกวันที่เรียน และ
นักเรียน 10000 คนไม่ ได้ รับนมชนิดใดเลย
ชั่งนา้ หนักและวัดส่ วนสู งของนักเรียนทั้ง 20000 คน ทั้งเริ่มต้ นและจบการ
ทดลอง
จานวนจุดของลูกเต๋ าทีอ่ ยู่หน้ าตรงข้ ามกันสองหน้ า
รวมกันได้ 7
c
b
aa
e
d
f