บทที่ 1 การคิดและกระบวนการคิดของมนุษย์
Download
Report
Transcript บทที่ 1 การคิดและกระบวนการคิดของมนุษย์
การคิดและกระบวนการคิดของมนุษย์
(Thinking and Decision Making)
กลไกทางสมองกับการพัฒนาความคิดของมนุษย์
► สมองแบ่งออกเป็ น 3 ส่ วน
ส่ วนแกนกลาง
ส่ วนลิมปิ ก (limbic) และไฮโปทาลามัส (hypothalamus)
ซีรีบรัม (cerebrum)
1. ส่ วนแกนกลาง เป็ นส่ วนที่ใช้ควบคุบการทางานของร่ างกาย
ประกอบด้วย
- ก้านสมอง ได้ แก่ การหายใจ การมองเห็น ฯลฯ
- ทาลามัส คือ เป็ นส่ วนรับความรู้สึกและแปลคาสั่ ง ไปยังส่ วนต่ างๆ
- ซีรีเบลลัม ทาหน้ าที่ ทาให้ การเคลือ่ นไหวของร่ างกายเป็ นอย่ างมี
การประสานงานกันและอยู่ในสมดุล เช่ น การหยิบแก้วนา้ เป็ นต้น
2. ส่ วนลิมบิก(limbic) และไฮโปทาลามัส(hypothalamus) ทา
หน้าที่เกี่ยวกับ
- สัญชาตญาณพื้นฐาน ได้แก่ ความต้องการอาหาร ต้องการ
ความปลอดภัย ความต้องการทางเพศ
- การแสดงอารมณ์ ได้แก่ หน้าแดง การโกธร การเกลียด ใจสัน่
เป็ นต้น
3. ซีรีบรัม (cerebrum)
- ทาหน้าที่เกี่ยวกับความจา(memory) ความคิด(thinking) ความฉลาดไหว
พริ บ(intelligence)
- ซี รีบรับ เป็ นส่ วนประกอบที่ใหญ่ที่สุดของสมอง แบ่งออกเป็ น
* สมองซี กซ้าย
* สมองซี กขวา
ปัจจัยส่ งเสริ มการพัฒนาของสมอง
แบ่งได้เป็ น 2 ปัจจัยคือ
1. ปัจจัยภายใน ได้แก่ พันธุกรรม หรื อ ยีน
2. ปัจจัยภายนอก หรื อ สิ่ งแวดล้อม หมายถึง ทุกอย่างที่ไม่ใช่พนั ธุกรรม
รวมถึงอาหารด้วย
1. ปัจจัยภายใน จาแนกเป็ น 2 ลักษณะ คือ
1.1 ลักษณะเด่น หมายถึง ลักษณะที่ส่งเสริ มให้เกิดการคิดและการ
เรี ยนรู ้ได้ดีมีประสิ ทธิภาพ
1.2 ลักษณะด้อย หมายถึง ลักษณะที่เป็ นอุปสรรคหรื อขัดขวางต่อ
การพัฒนาของสมอง ทาให้คิดช้า หรื อคิดไม่ได้ และเรี ยนรู ้ชา้
เช่นเดียวกัน
2. ปัจจัยภายนอก หรื อสิ่ งแวดล้อม หมายความถึง ทุกอย่างที่ไม่ใช่
พันธุกรรมแต่มีส่วนเกี่ยวข้องกับสมองของบุคคลนั้นได้แก่
2.1 สุ ขภาพของบุคลากร
2.2 อาหาร
2.3 การอบรมเลี้ยงดู
2.4 วัฒนธรรม
► สรุ ป
- ปัจจัยภายใน เป็ นสิ่ งที่ติดตัวมาแล้วตั้งแต่เกิดไม่สามารถ
เปลี่ยนแปลงแก้ไขได้
- ปัจจัยภายนอก เป็ นปัจจัยที่สาคัญที่มนุษย์สามารถปรับปรุ ง
เปลี่ยนแปลง และแก้ไขได้ เพื่อนามาใช้ให้เป็ นประโยชน์ต่อการ
ส่ งเสริ มการพัฒนาของสมองได้
1)
ความหมายของการคิด
ให้ความหมายไว้วา่ ความคิดเป็ นการที่บุคคลได้
สารวจ ตรวจสอบประสบการณ์อย่างเจตนา เพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะอย่างใด
อย่างหนึ่ง
► เฮนรี่ กลายท์ แมน (Gleitman 1992:199) ให้ความหมายไว้วา่ การคิด
เกี่ยวข้องกับการให้เหตุผล การพินิจพิจารณา การตรึ กตรอง หรื อ การ
สะท้อนความรู ้สึกของตนเองที่มีต่อเรื่ องต่างๆ ออกมาให้ผอู ้ ื่นรับรู ้
► เอ็ดเวิร์ด ดี. โบโน (Bono)
ให้ความหมายไว้วา่
ความคิดเป็ นกิจกรรมทางสมอง เป็ นกระบวนการทางปัญญา ซึ่ง
ประกอบด้วยการสัมผัส การรับรู ้ การรวบรวม การจา การรื้ อฟื้ นข้อมูล
เก่าหรื อประสบการณ์
► โรเบิร์ต แอล. ซอลโซ (Solso 1991:404) ให้ความหมายไว้วา่ ความคิด
เป็ นกระบวนการที่สมองของมนุษย์นาข้อมูลความรู ้และข่าวสาร มาสร้าง
ความสัมพันธ์ในรู ปแบบสลับซับซ้อน
► มากาเร็ต ดับบลิว. แมทลิน (Matlin 1992:246-247)
การฝึ กทักษะและลักษณะการคิดแบบต่างๆ
► ทักษะการคิด ได้แก่ การจาแนก การแยกแยะ การขยายความ การสรุ ป ริ เริ่ ม
เป็ นต้น
► ลักษณะการคิด คือ รู ปแบบของการคิดที่ประกอบด้วยทักษะการคิดหลายๆ
ทักษะ
* สรุ ปได้ ว่า
ลักษณะการคิด = ทักษะการคิด1+ทักษะการคิด2+….
1. การคิดคล่องและคิดหลากหลาย คือ ความสามารถในเรื่ องใดเรื่ องหนึ่ ง
หรื อ สถานการณ์ใดสถานการ์หนึ่ง ได้ผลการคิดจานวนมาก รวดเร็ว ตรง
ประเด็น
2. การคิดวิเคราะห์
คือ การจาแนก แยกแยะองค์ประกอบของสิ่ งใดสิ่ งหนึ่งออกเป็ นส่ วนๆ
เพื่อ ค้นหาว่าทามาจากอะไร มีองค์ประกอบอะไร ประกอบขึ้นมาได้
อย่างไร
2)
3. การคิดริเริ่ม คือ การขยายขอบเขตความคิดออกไปจากกรอบความคิด
เดิมที่มีอยู่ สู่ความคิดใหม่ๆ ที่ไม่เคยมีมาก่อน เพื่อค้นหาคาตอบที่ดีที่สุด
ให้กบั ปัญหาที่เกิดขึ้น
4. การคิดละเอียดรอบคอบ คือ การคิดที่ให้ผลการคิดที่มีรายละเอียดทั้ง
ส่ วนที่เป็ นหลักของเรื่ องคิด และส่ วนที่เป็ นองค์ประกอบย่อยของ
หลักการคิด
เช่น การพิจารณาองค์ประกอบของเครื่ องคอมพิวเตอร์ 1 เครื่ อง
องค์ประกอบหลักมีอะไรบ้าง
1. เครื่ องคอมพิวเตอร์ มีองค์ประกอบย่อยอะไรบ้าง
cpu,harddisk,ram เป็ นต้น
2. จอคอมพิวเตอร์ มีองค์ประกอบย่อยอะไรบ้าง
จอรับภาพ,หลอดภาพ เป็ นต้น
5. การคิดอย่ างมีเหตุผล คือ การคิดที่อา้ งหลักฐานมาสนับสนุนเพื่อให้ได้
ข้อสรุ ปที่ถูกต้อง โดยสามารถอ้างหลักฐานและอธิบาย หรื อบอก
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักฐานที่อา้ งกับข้อสรุ ปได้
3)
6. การคิดกว้ างและรอบคอบ คือ การคิดที่ครอบคลุมถึงสิ่ งที่เกี่ยวข้องกับ
เรื่ องที่คิดในทุกด้าน ทุกแง่ ทุกมุมที่เกี่ยวข้องกับเรื่ องนั้น
7. การคิดไกล คือ การคิดถึงส่ วนที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ซึ่งอาจเป็ นผลที่เกิด
จากการ กระทาในปัจจุบนั หรื อเป็ นจุดประสงค์ หรื อจุดหมายที่ตอ้ งการ
ในอนาคต
4)
8. การคิดลึกซึ้ง คือ การคิดที่ทาให้เกิดความเข้าใจอย่างถูกต้องและลึกซึ้ง
เกี่ยวกับเรื่ องที่คิด
9. การคิดดี คิดถูกทาง คือ การคิดที่ตรงจุดมุ่งหมาย คิดในแง่ทดี่ ีเป็ น
ประโยชน์ต่อตนเองต่อส่ วนรวม ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว
5)
การพัฒนากระบวนการคิดรู ปแบบต่ างๆ
กระบวนการคิด หมายถึง
ที่สาคัญได้แก่
- การคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์
- การคิดอย่างมีวิจารณญาณ
- การคิดตามกระบวนการวิทยาศาสตร์
- การคิดแบบอริ ยสัจสี่
- การคิดทางคณิ ตศาสตร์
- การคิดทางการบริ หารและการจัดการ
1.
การคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์ (Creative thinking) เป็ นการสร้างสรรค์สิ่ง
ใหม่ที่ แตกต่างไปจากเดิม และใช้ประโยชน์ได้อย่างเหมาะสม
6)
2.
การคิดอย่างมีวิจารณญาณ (Critical thinking) หมายถึง การใช้
ความคิดใน ลักษณะวิเคราะห์ สังเคราะห์ ตัดสิ นใจ และแก้ปัญหาโดย
ยึดหลักการคิดด้วยเหตุผล จากข้อมูลที่จริ งมากกว่าอารมณ์ และการ
คาดเดา
7)
3. การคิดตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เป็ นวิธีการที่นกั วิทยาศาสตร์
ใช้ในการแสวงหาความรู ้ วิธีการทางวิทยาศาสตร์เป็ นกระบวนการคิด
และการทางานอย่างมีระบบ มีเป้ าหมายในการทางานชัดเจน ทาง
วิทยาศาสตร์ ประกอบด้วย 5 ขั้นตอนดังต่อไปนี้
ขั้นที่ 1 การกาหนดปัญหาให้ ถูกต้ อง (Location of problems)
ขั้นที่ 2 การตั้งสมมุติฐาน (Setting of hypothesis)
ขั้นที่ 3 การสั งเกตและการทดลอง (Observation and
experimentation)
ขั้นที่ 4 การวิเคราะห์ ข้อมูล (Analysis of data)
ขั้นที่ 5 การสรุปผล (Conclusion)
แผนภูมิกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กาหนดปัญหา
สรุ ปผล
ตั้งสมมุตฐิ าน
ทดลอง
เก็บรวบรวมข้ อมูล
วิเคราะห์ ข้อมูล
4.
การคิดแบบอริยสั จสี่ เป็ นวิธีคิดแบบแก้ปัญหา โดยเริ่ มจากตัวปัญหา
ทาความเข้าใจให้ชดั เจน สื บค้นหาสาเหตุ เตรี ยมแก้ไข วางแผนกาจัด
สาเหตุของปัญหา มีวิธีการ 4 ขั้นตอนคือ
4.1 ทุกข์
- การกาหนดปัญหา
4.2 สมุทยั
- การกาหนดเหตุแห่งทุกข์เพื่อกาจัด
4.3 นิโรธ
- การดับทุกข์อย่างมีจุดหมาย ต้องมีการกาหนดว่า
จุดหมายที่ตอ้ งการคืออะไร
4.4 มรรค
- การกาหนดวิธีการในรายละเอียดและปฎิบตั ิเพื่อ
กาจัดปัญหา
แผนภูมิการบวนการคิดแบบอริ ยสัจสี่
สาเหตุของ
ปัญหา
(สมุทยั )
วิธีลดหรื อแนวทางปฎิบตั ิ
หรื อลดและกาจัดปั ญหา
(มรรค)
ปัญหา(ทุกข์)
จุดประสงค์
(ปัญหาลดลงหรื อหมดไป)
นิโรธ
8)
เครื่ องมือที่นิยมใช้ในการแก้ปัญหา เราเรี ยกว่า “แผนภูมิกา้ งปลา” ซึ่ง
แผนภูมิกา้ งปลานั้น เป็ นการมองที่ตวั ปัญหา (ทุกข์) และพยายามหา
สาเหตุแห่งปัญหา (สมุทยั )
แผนภูมิก้างปลา (Fish Bone Diagram)
สาเหตุใหญ่ 3
สาเหตุใหญ่ 2
สาเหตุใหญ่ 1
ผล
สาเหตุใหญ่ 4
สาเหตุใหญ่ 5
สาเหตุใหญ่ 6
5. การคิดทางคณิ ตศาสตร์ ก็คือ ความคิดที่มนุษย์พยายามใช้เหตุผลที่มีอยู่
เดิมสร้างความสัมพันธ์กบั ความรู ้ใหม่ เพื่อเป็ นการหาข้อสรุ ป สร้าง
กฎเกณฑ์ หรื อเพื่อพิสูจน์ความเป็ นจริ ง
กระบวนการที่สาคัญ 2 อย่าง
1. กระบวนการอุปนัย (Inductive)
2. กระบวนการนิรนัย (Deductive)
แผนภูมิกระบวนการคิดทางคณิ ตศาสตร์
นาไปแก้ปัญหาเมื่อต้องการ
ปัญหา หรือ
สิ่ งที่ต้องการ
กระบวนการอุปนัย
-รวบรวมข้อมูล
-ค้นหารู ปแบบ
- กาหนดรู ปแบบทัว่ ไป
กระบวนการนิรนัย
-ตรวจสอบความถูกต้อง
ของรู ปแบบทัว่ ไป
ปรับปรุ งรู ปแบบทัว่ ไปเมื่อไม่ถกู ต้อง
ความคิดทางการบริ หารและจัดการ
ความคิดทางการบริ หารและจัดการ คือ ความคิดที่มุ่งไปสู่ความสาเร็ จของผล
การปฎิบตั ิงานขององค์การ ซึ่งประกอบไปด้วย
- การวางแผน
- การจัดบุคคลเข้าทางาน
- การสัง่ งาน
- การควบคุม
ปัจจัยเสริ มต่อการคิดทางการบริ หารและการจัดการ
1. การสังเกต
3. ประสบการณ์
5. การใช้เหตุผล
7. ความประณี ต
9. ความสนใจใครรู ้
2. ความคิดสร้างสรรค์
4. การประเมินค่า
6. ความกล้าหาญ
8. ความพากเพียรอุตสาหะ
10. ความเชื่อมัน่ ในเหตุผล