เรียน มสธ.อย่างไรให้สอบผ่าน

Download Report

Transcript เรียน มสธ.อย่างไรให้สอบผ่าน

เรียน มสธ.อย่างไรให้สอบผ่าน
โดย วิเชียร สงอักษร
สส.บ.(บริหารสาธารณสุข) มสธ. ปี 2529
ส.บ.(สาธารณสุขศาสตร์) ม.มหิดล ปี 2531
(การจัดการสิง่ แวดล้อม)มอ.หาดใหญ่
ปี 2538
วิชาชีพครู มสธ. ปี 2549
ตาแหน่ง นักวิชาการสาธารณสุขชานาญการพิเศษ
ที่ทางาน สสจ.ยะลา
วท.ม
ป.
ขอขอบค ุณ
ทีก่ รุณา ปิ ด หรือ ปรั บ
มือถือ เป็นระบบ สั่น
และเพื่อสมาธิ ส่วนรวม
ขอบค ุณอีกครัง้
ที่พูดสายนอกห้อง
1. หน่วยการเรียนการสอน คือ อะไร
1. เนื้อหาที่แบ่งออกเป็ นส่วน ๆ ในวิชาหนึง่ ๆ
ปริมาณของเนื้อหา ไม่กาหนดตายตัว
2. การจัดกิจกรรม ประสบการณ์ และประเภทของการ
เรียนรูต้ ่าง ๆ ภายใต้ปัญหาหลักหรือจุดมุ่งหมายที่
กาหนดขึ้นจากความสนใจ ความต้องการและปั ญหาของ
ผูเ้ รียน โดยครูเป็ นผูน้ า
2. แนวคิด (Concept) คือ อะไร
ภาษาไทยใช้หลายคา เช่น ความคิดรวบยอด
สังกัป มโนทัศน์ มโนภาพ แนวคิด
มโนมติ หมายถึง ความคิด ความเข้าใจของ
บุคคลเกีย่ วกับสิง่ ของหรือเหตุการณ์ต่าง ๆ ซึง่ ทาให้
บุคคลนัน้ สามารถสรุปลักษณะรวมหรือแยกแยะ
ลักษณะแตกต่างของคุณสมบัตขิ องสิง่ ของหรือ
เหตุการณ์นนั้ ๆ ได้
ตัวอย่าง
มโนมติ เกีย่ วกับ พลังงาน
พลังงาน เป็ นสิง่ ที่สามารถเปลีย่ นรูปหนึง่ ไปเป็ นอีก
รูปหนึง่ ได้
มโนมติ เกีย่ วกับ ความรัก
ความรัก เป็ น ความทุกข์
มโนมติ เกีย่ วกับ ความยุตธิ รรม
มนุษย์ทุกคน
พอใจความยุติธรรม
3. วัตถุประสงค์การเรียนการสอน คือ อะไร
ข้อความที่ระบุคุณลักษณะ การเรียนรู ้ และ
ความสามารถของผูส้ อนที่ตอ้ งการให้มีข้ นึ กับผูเ้ รียน
หลังจากที่ผูเ้ รียนผ่านกิจกรรมการเรียนการสอนใน
หน่วยการเรียนการสอนหนึง่ ๆ
วัตถุประสงค์ ทางการศึกษาโดยทัว่ ไปแบ่งได้
2 ประเภท
1. วัตถุประสงค์ทว่ั ไป
“กว้าง”
2. วัตถุประสงค์เฉพาะ “เจาะจง”
วัตถุประสงค์ ทางการศึกษาอาจแบ่งตาม
ลักษณะการเรียนรูไ้ ด้ 3 ด้าน
1. ด้านพุทธิพสิ ยั เกีย่ วกับ ความรู ้ ความเข้าใจ
การใช้ความคิด
ด้านสมอง
2. ด้านเจตพิสยั เกีย่ วกับ ความรูส้ กึ นึกคิดและอารมณ์
เช่น การรับรู ้ การตอบสนอง สนใจ เจตคติ ด้าน
จิตใจ
3. ด้านทักษพิสยั เกีย่ วกับ การใช้กล้ามเนื้อ ประสาท
ตัวอย่างพฤติกรรมการเรียนรูด้ า้ นพุทธพิสยั
พฤติกรรมด้านสติปัญญา
ความรู ้ - ความจา
พฤติกรรมที่แสดงออก
บอก ชี้บ่ง บรรยาย ให้รายการ
จับคู่ บอกหัวข้อแยกประเภท
ให้นยิ ม และอืน่ ๆ
ตัวอย่างพฤติกรรมการเรียนรูด้ า้ นพุทธพิสยั
พฤติกรรมด้านสติปัญญา
ความเข้าใจ
พฤติกรรมที่แสดงออก
แปล เปลีย่ นรูป ใช้คาพูดของ
ตัวเอง บอกความแตกต่าง
บอกความคล้ายคลึง ขยายความ
ยกตัวอย่าง ทานาย สรุป
ตีความหมาย อธิบายความหมาย
จัดเรียบเรียงใหม่
ตัวอย่างพฤติกรรมการเรียนรูด้ า้ นพุทธพิสยั
พฤติกรรมด้านสติปัญญา
การนาไปใช้
พฤติกรรมที่แสดงออก
คานวณ สาธิต สร้าง เตรียม
เสนอ แก้ปัญหา บอก และอืน่ ๆ
ตัวอย่างพฤติกรรมการเรียนรูด้ า้ นพุทธพิสยั
พฤติกรรมด้านสติปัญญา
การวิเคราะห์
พฤติกรรมที่แสดงออก
บอก จาแนก ค้นหา เปรียบเทียบ
ให้เหตุผล บอกความแตกต่าง
(คล้ายคลึง) จัดประเภท
ตัวอย่างพฤติกรรมการเรียนรูด้ า้ นพุทธพิสยั
พฤติกรรมด้านสติปัญญา
การสังเคราะห์
พฤติกรรมที่แสดงออก
บอก เขียน สร้าง แก้ไข วางแผน
ออกแบบ จัดผลิต แสดงเหตุผล
วางโครงการ ปรับปรุง
ตัวอย่างพฤติกรรมการเรียนรูด้ า้ นพุทธพิสยั
พฤติกรรมด้านสติปัญญา
การประเมินผล
พฤติกรรมที่แสดงออก
ประเมิน ตัดสิน วินิจฉัย โต้แย้ง
เปรียบเทียบ ให้เกณฑ์
วิพากษ์วิจารณ์
การอ่านหนังสือ(ตารา)
จุดมุ่งหมายในการอ่าน
- สิง่ ที่ตอ้ งการทราบจากการอ่าน
- การจับใจความสาคัญ
- สรุปหรือย่อความ
ก่อนอืน่ ควรเข้าใจธรรมชาติ
ของ ทักษะการอ่าน
• เป็ นพฤติกรรมที่ซบั ซ้อน จากการใช้ตาดู
นาเข้าสมองไปคิด ถอดความ ตีความ
เก็บไว้ในใจ หรือเปล่งเสียงออกมา
ก่อนอืน่ ควรเข้าใจธรรมชาติ
ของทักษะการอ่าน
• เป็ นการตีความหมายของสัญลักษณ์
• เป็ นการปะติดปะต่อความหมายของเรือ่ งราว
• เป็ นการเก็บข้อมูล
ก่อนอืน่ ควรเข้าใจธรรมชาติ
ของทักษะการอ่าน
•การอ่านเป็ นกระบวนการทางสติปัญญาที่สมอง
ทาหน้าที่ทงั้ หมดในการตีความหมายของข้อความที่อ่าน
โดยสมองจะเริม่ ทางานเมื่อตาของผูอ้ ่านมองเห็นตัวอักษร
และสัญลักษณ์ท่ีผูเ้ ขียนเขียนไว้
ก่อนอืน่ ควรเข้าใจธรรมชาติ
ของทักษะการอ่าน
• แล้วนาความรูเ้ ดิมที่สะสมไว้ในสมองมาช่วยในการ
ตีความข้อมูลที่ผ่านตา ได้ขอ้ มูลใหม่จากการอ่านก็จะ
นาเข้าไปปะติดปะต่อกับข้อมูลเก่าในสมองจนได้เป็ นข้อมูล
ใหม่มาสาหรับสะสมไว้ในฐานข้อมูลของสมองเพือ่ จะได้
นามาใช้สอ่ื สารในคราวต่อไป
ก่อนอืน่ ควรเข้าใจธรรมชาติ
ของทักษะการอ่าน
• การอ่านจึงเป็ นการสือ่ สารและแลกเปลีย่ นความคิด
ความรูร้ ะหว่างผูเ้ ขียนกับผูอ้ ่าน ผูอ้ ่านจะอ่านเอา
ความหมายที่ผูเ้ ขียนเขียนไว้ ทัง้ นี้ข้ นึ กับประสบการณ์
เดิมและความรูท้ างภาษาของผูอ้ ่าน
ความหมายของการอ่าน
ว่า ตามตัวหนังสือ
อ่านเสียง ตามตัวหนังสือ
ดูหรือเข้าใจความ จากตัวหนังสือ
สังเกตหรือพิจารณาดูเพือ่ ให้เข้าใจ ตามตัวหนังสือ
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525
(2539, หน้า 941, อักษรเจริญทัศน์)
อ่านอย่างมีคุณภาพ ต้องทาอย่างไร
ต้องให้ความสาคัญหรือตระหนักว่า กิจกรรมการอ่านเป็ น
กิจกรรมเพือ่ ชีวิต
การอ่านเพือ่ ชีวิต โดย สมพร มันตะสูตร แพ่งพิพฒ
ั น์ (2534) เพชรบูรณ์ ส. ราชภัฏเพชรบูรณ์
ต้องทาความเข้าใจในสิง่ ที่อ่านได้และหาคาตอบได้
หรือได้ความรูท้ ่ีตอ้ งการ
ต้องมีหลักการในการอ่าน คืออ่านแล้วจับประเด็น สาระได้
หลักนักอ่านโดยสมบัติ จาปาเงินและสาเนียง มณีกาญจน์(2539)กท.ม.ต้นอ้อแกรมมี่
ประเภทของการอ่าน
1. อ่านแบบคร่าวๆ (skimming)
อ่านผ่านอย่างรวดเร็ว ใช้ในการค้นหาคาตอบที่ ต้องการ
จะทราบ
2. อ่านแบบรวดเร็ว (scanning)
คล้ายแบบแรก แต่มีจุดประสงค์ชดั เจนกว่าเช่นต้องการ
หาวลีดๆี มาใช้
ประเภทของการอ่าน
3. อ่านเพือ่ ค้นคว้า (reading for detail)
หาข้อมูลและรายละเอียดเพิม่ เติมเพือ่ เพิม่ พูนความรู ้ ตอ้ งมี
ความระมัดระวัง และสมาธิมากกว่า
ประเภทของการอ่าน
4. อ่านแบบศึกษา(study reading)
ต้องเข้าใจความคิดสาคัญ ความคิดรวบยอด (concept)
ต้องอ่านด้วยความตัง้ ใจและมีการทบทวนเพือ่ ให้เกิดความ
เข้าใจ
อ่านแล้วต้องสามารถจดจาทาบันทึกย่อๆไว้ในประเด็นหลัก
(อ่านเอาเรือ่ ง)
ประเภทของการอ่าน
5. อ่านแบบวิเคราะห์(analytical reading)
อ่านเกีย่ วกับกฎ ทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์ อ่านบทความ
วิชาการ บทความวิจยั ต้องใช้พ้ นื ความรูท้ างวิชาการ
เพือ่ ทาความเข้าใจ มีความระมัดระวัง น่าจะตัง้ คาถาม
และพยายามหาคาตอบจากการอ่าน
ประเภทของการอ่าน
6. อ่านแบบวิจารณ์ (critical reading)
ต้องใช้ทกั ษะสูงสุด สามารถใช้เหตุผลมาอธิบายหรือ
ต่อรองกับข้อความที่อ่านได้ สามารถเปรียบเทียบ
แสดงความคิดเห็น หรือสามารถเสนอแนะได้ ผูอ้ ่าน
ต้องมีวุฒิภาวะและประสบการณ์ในเรือ่ งที่อ่านจึงจะวิจารณ์ได้
องค์ ประกอบที่มีผลต่ อความสั มฤทธิ์ผลในการอ่ าน
การมีความพร้อมด้วยการมีความสามารถด้านต่างๆ ดังนี้
1. ความสามารถเชิงมโนทัศน์ (conceptual ability) คือ ความ
สามารถทางสติปัญญา จึงจะค้นพบสาระ ความคิด และความคิด
เห็นจากเรือ่ งที่อ่าน
2. ความรูเ้ ดิม (background knowledge)
3. ยุทธศาสตร์ดา้ นกระบวนการอ่าน (reading process
strategies) การรูค้ วามหมายของศัพท์ สัญลักษณ์ การลาดับ
ขัน้ ตอนในการอ่าน การสร้างสมาธิ
องค์ ประกอบที่มีผลต่ อความสั มฤทธิ์ผลในการอ่ าน
4. ความสามารถในการตีความ การถอดความ(ability to
interpret)
5. ความสามารถ ในการจดจา (ability to memorize)
6. ความสามารถ ในการทราบความหมายของศัพท์ สัญลักษณ์
7. ความสามารถ ในการจับใจความ ประเด็นหลัก
8. ความสามารถ ในการสรุปสาระสาคัญจากเรือ่ งที่อ่าน
การอ่าน จึงเป็ นเครือ่ งมือที่ สาคัญใน
การสร้าง ขุมทรัพย์ ทางปั ญญาของ
ปั จเจกชน (นักศึกษา) อันจะนามาซึง่
ความมัง่ คัง่ อย่างไม่มีขดี จากัด