การอ่านคืออะไร

Download Report

Transcript การอ่านคืออะไร

ENL 3701 Unit 2
การอ่านคืออะไร
หัวข้อการเรี ยน
การอ่านคืออะไร
• ๑. คาจากัดความของการอ่าน
• ๒. ธรรมชาติและกระบวนการของการอ่านใน
ระยะเริ่ มเรี ยน
• ๓. การอ่านออกเสี ยงและการอ่านในใจ
• ๔. ปัญหาการอ่านในระยะเริ่ มเรี ยน
๑. คาจากัดความของการอ่าน
• กลุ่มที่ ๑ มองการอ่านโดยอาศัยพื้นฐานของ
กระบวนการถอดรหัสภาษา
(A Decoding Process)
• กลุ่มที่ ๒ มองการอ่านเป็ นการค้นหาความหมาย
• (Reading for Meaning)
กลุ่มที่ ๑ Reading as a
Decoding Process
• คำนิยำมของกำรอ่ ำนตำมแนวพจนำนุกรมของสมำคมกำร
อ่ ำนนำนำชำติ
(International Reading Association)
• ๑. เน้ นลักษณะเฉพำะในกระบวนกำรของกำรอ่ ำนเกีย่ วกับ
• Psychomotor กำรใช้ อวัยวะเคลือ่ นไหว
• Cognitive กระบวนกำรทำงสมอง
• Affective
ภำวะทำงจิต
ลาดับขั้นของกระบวนการอ่านการอ่านตาม
แนว Decoding Process
• ๑. การรับรู ้สญ
ั ลักษณ์ตวั เขียนของภาษา + เสี ยงภาษา
• ๒. การรับรู้และเข้าใจภาษาพูด (Oral Message)
และ ภาษาเขียน (Written Message)
• ๓. กระบวนการปฏิสมั พันธ์ ระหว่าง ประสบการณ์ คาศัพท์
และไวยากรณ์
(Experience+Vocabulary+Grammar)
กระบวนการปฏิสมั พันธ์
Interaction
• ผูอ้ ่าน กับ
• Materials
• Experience
• Intellectual, Physical,
Reasoning
กลุ่มที่ ๒
Reading for Meaning
• การอ่านคือการหาเหตุผล (Reasoning)
• การอ่านคือการเรี ยนรู้ การคิดเป็ นศูนย์กลาง
(Learning, Thinking)
• การอ่านเป็ นการสุ่ มตัวอย่าง การคัดเลือก การ
ทานาย การเปรี ยบเทียบและการยืนยันซึ่งอาศัย
ตัวชี้แนะ (Clues)
Reading as a Social
Process
• ประสบการณ์รอง (Vicarious
Experiences ) ช่วยให้เข้าใจ
สิ่ งแวดล้อม
• มีเงื่อนไขต่อการเชื่อมโยงทางสังคม
การอ่านเป็ นกระบวนการพหุมิติ
(Multi-dimension)
• เป็ นการทาความเข้าใจความหมายตาม
ตัวอักษร ความรู ้สึก ความหมายแฝงจาก
ผูเ้ ขียน ในน้ าเสี ยง ในความจงใจ และ
ในเจตคติ ต่อผูอ้ ่าน และตัวผูเ้ ขียน
คานิยามจากที่อื่น เช่น Walcutt,
Lamport, McCraken
• การอ่านเป็ นกิจกรรมทางปัญญา
• เพื่อพัฒนาชีวติ
• ความเจริ ญงอกงาม ทางกาย สติปัญญา
การรับรู ้ และจิตวิญญาณ
คานิยามของ Dechant
•หมายถึง
•การรับรู้
•การเข้าใจความหมายของสัญลักษณ์
ความหมายของการอ่าน
ตาม Lapp & Flood
• ๑. กำรรับรู้ และจดจำตัวอักษรและคำ (Letter &
word perception/recognition)
• ๒. กำรทำควำมเข้ ำใจแนวควำมคิด จำกคำภำษำเขียน
(Comprehension of the concepts)
• ๓. กำรแสดงปฏิกริ ิยำ (Reaction) และกำรซึมซับ
(Assimilation) ควำมรู้ ใหม่ จำกพืน้ ฐำน
ประสบกำรณ์ เดิมของผู้อ่ำน
๒. ธรรมชาติและกระบวนการอ่าน
ในระยะเริ่ มเรี ยน
• จุดเน้น
• การใช้สายตา (Eye Movement)
• Fixations - real reading activity
• Regression การอ่านย้อนกลับ
• Mental Process:
• – Eye-Brain connections
ตัวแบบการอ่านในระยะเริ่ มเรี ยน
• ๑. The Gray-Robinson Reading Model
๑. การรับรู้คา (Word perception)
• ๒. ความเข้าใจการอ่าน (Comprehension)
• ๓. การแสดงปฏิกิริยาต่อเรื่ องที่อ่าน
(Reaction)
• ๔. การซึ มซับในการอ่าน (Assimilation)
• ๕. อัตราความเร็ วในการอ่าน (Rate of
Reading)
•
The Psycholinguistic
Model
• Professor K. Goodman เป็ นต้นคิดรู ปแบบ
• กำรอ่ ำนเป็ นเกมกำรเดำทำงจิตภำษำศำสตร์
• กำรอ่ ำนต้ องอำศัยตัวชี้แนะ (Clues)
– ภำยในคำ
– ภำยในภำษำหรือเนือ้ เรื่อง
– จำกผู้อ่ำนเอง
– จำกภำยนอก
แนวคิดเกี่ยวกับการอ่าน
ตามแนวตัวแบบทางจิตภาษาศาสตร์
• ๑. กำรอ่ ำนมิใช่ กระบวนกำรที่ตำยตัวหรือแน่ นอน
• ๒. กำรอ่ ำนเป็ นกระบวนกำรที่มคี วำมหมำยเป็ น
ศูนย์ กลำง
• ๓. บริบทเป็ นส่ วนประกอบทีส่ ำคัญทีส่ ุ ดสำหรับกำรอ่ ำน
• ๔. ควำมชำนำญทำงภำษำจะเพิม่ ทักษะกำรอ่ ำน
The Information
Processing Model
• ลาดับขั้นของการอ่าน
• ๑. กำรรับภำพ (Visual Impact)
• ๒. กำรรับรู้ ภำพทีม่ องเห็น (Recognition of
Input)
• ๓. ภำพลักษณ์ ไอโคนิต (Iconic Image)
• ๔. ควำมจำชั่วครำวในสมอง (Temporary
Memory) ๔. ควำมจำถำวร (Permanent
Memory)
การอ่านออกสี ยงและการอ่านในใจ
• การอ่านออกเสี ยง (Oral Reading)
• พฤติกรรม –การใช้ประสาทสัมผัสหลายอย่างในขณะ
อ่านออกเสี ยง
• จุดมุ่งหมายสาคัญ---ความสามารถในการสื่ อ
ความหมายในทางความคิดของผูเ้ ขียนไปยังผูฟ้ ั งได้
อย่างชัดเจน
ประโยชน์ของการอ่านออกเสี ยง
• ๑. ด้านการศึกษา
– บทประพันธ์ บทละคร
– เครื่ องมือตรวจสอบข้อบกพร่ องของผูอ้ ่าน
• ๒. ด้านสังคม
– กิจกรรมการสื่ อสารสาหรับมวลชน
การปรับปรุ งการอ่านออกเสี ยง
กำรเรียนรู้ กำรออกเสี ยงแต่ ลำอย่ ำงถูกต้ อง
๒. รู้ วธิ ีกำรบังคับเสี ยงในระดับทีเ่ หมำะสม
๓. ควำมสำมำรถในกำรสื่ อควำมหมำยทีแ่ ท้ จริง
๔. กำรควบคุมกำรทรงตัวและกำรสั มผัสสำยตำกับผู้ฟัง
๕. กำรควบคุมกำรใช้ เสี ยง---ควำมไพเรำะ ควำมดังชัดเจน ให้
พอเหมำะกับขนำดผู้ฟัง
• ๑.
•
•
•
•
กำรอ่ำนในใจ (Silent Reading)
• พฤติกรรมกำรอ่ ำน
– เป็ นกระบวนกำรทีเ่ กิดก่ อนกำรอ่ ำนออกเสี ยง ด้ ำนกำรรับรู้
คำและกำรเข้ ำใจควำมหมำย
– ไม่ มีกำรเปล่ งเสี ยงใดๆทั้งสิ้น
• จุดประสงค์ ของกำรอ่ ำน
– กำรรับรู้ และแปลควำมหมำยจำกภำษำเขียนให้ แก่ ตวั เอง
– ควำมแตกต่ ำงระหว่ ำงกำรอ่ ำนออกเสี ยงและกำรอ่ ำนในใจ
ปัญหาการอ่านในระยะเริ่ มเรี ยน
• ๑. กำรใช้ ควำมคิดเพือ่ ให้ เกิดควำมเข้ ำใจเป็ นหน่ วย
(Conceptualization)
• ๒. กำรเรียนรู้ ภำษำ (Language Acquisition)
• ๓. กำรใช้ กลไกทำงร่ ำงกำยด้ ำนประสำมสั มผัสและกำร
รับรู้ ต่ำงๆ (Eye-hand Coordination) กำร
ควบคุมอำรมณ์ และควำมสนใจ