กระบวนการจัดการเรียนรู้ สามร้อยยอด

Download Report

Transcript กระบวนการจัดการเรียนรู้ สามร้อยยอด

ผศ.ดร.สุรน
ิ ชุมสาย ณ
อยุธยา
กระบวนการเรี ยนร้ ู
(Learning Process)
กระบวนการเรียนรู้ คือ การดาเนินการ
อย่ างเป็ นขัน้ ตอนหรื อการใช้ วิธีการต่ างๆ
ที่ช่วยให้ บุคคลเกิดการเรี ยนรู้
วงจรการเรี ยนร้ ู
O
L
E
O = Objective
L = Learning Process
E = Evaluation
ถามตัวเองก่ อนการสอน
1. ทาไมต้ องสอน
2. สอนอะไรจึงจะเกิดสิ่งที่ต้องการ
3. จะสอนสิ่งนัน้ อย่ างไร
4. รู้ ได้ อย่ างไรว่ าสอนได้ ตามที่ต้องการ
ผลการเรียนรู้ (Learning Outcome)
ผลการเรี ยนรู้ คือ ความรู้ ความเข้ าใจในสาระ
ต่ างๆ ความสามารถในการกระทา การใช้
ทักษะกระบวนการต่ างๆ รวมทัง้ ความรู้ สึก
หรื อเจตคติอันเป็ นผลที่เกิดจากกระบวนการ
เรี ยนรู้ หรื อการใช้ วธิ ีการเรี ยนรู้
ผลการเรียนรู้ (Learning Outcome)
ส่ วนที่เป็ นสาระ คือ ความรู้ ความเข้ าใจ
ทักษะ และเจตคติเกี่ยวกับสาระที่เรี ยนรู้ ส่ วนที่เป็ น
กระบวนการ เรี ยนรู้ คือวิธีการเรี ยนรู้ กระบวนการ
ต่ าง ๆ อันเป็ นเครื่ องมือสาคัญ ในการเรี ยนรู้ ต่อไป
ผลการเรียนรู้ (Learning Outcome)
การจัดการเรี ยนรู้ ในแต่ ละครั ง้ หรื อในแต่ ละ
บทเรี ยนจะต้ องวิเคราะห์ ผลการเรี ยนรู้ ให้ ชัดเจน
ว่ าต้ องการอะไรบ้ าง
วัตถุประสงค์ การเรียนรู้ /จุดประสงค์ การเรียนรู้
องค์ ประกอบของจุดประสงค์ การเรี ยนรู้
ด้ านพุทธิพสิ ัย (Cognitive Domain)
ด้ านจิตพิสัย (Affective Domain)
ด้ านทักษะพิสัย (Psycho – motor Domain)
ด้ านทักษะกระบวนการต่ าง ๆ
วัตถุประสงค์ การเรียนรู้ /จุดประสงค์ การเรียนรู้
วัตถุประสงค์ การเรียนรู้หรือจุดประสงค์
การเรียนรู้มีสองลักษณะ คือ
1.จุดประสงค์ ท่ วั ไป
2.จุดประสงค์ เชิงพฤติกรรม
ส่ วนประกอบของจุดประสงค์ เชิงพฤติกรรม
ส่ วนประกอบของจุดประสงค์ เชิงพฤติกรรม
มีสามส่ วน คือ
1.สถานการณ์
2.พฤติกรรมที่คาดหวังและสามารถวัดได้
3.เกณฑ์ การประเมิน
คากิริยาที่ใช้ ในการเขียนจุดประสงค์
คากิริยาที่ไม่ สามารถสังเกตพฤติกรรมได้ ชัดเจน (จุดประสงค์ ท่ ัวไป)
รู้ เข้ าใจ สนใจ ทัศนคติ เชื่อ ซาบซึง้ สนุก คุ้นเคย เห็นคุณค่ า สร้ างคุณค่ า
หยั่งรู้ พัฒนาความเข้ าใจ เห็นด้ วย จา ฯลฯ
คากิริยาที่สามารถสังเกตพฤติกรรมได้ ชัดเจน (จุดประสงค์ เชิงพฤติกรรม)
บอก ระบุ ชี ้ เขียน ขยาย บรรยาย จาแนก ออกแบบ สาธิต เลือก จับคู่ คานวณ
ยกตัวอย่ าง วัด วิเคราะห์ ทดลอง สารวจ
จัดลาดับ เปลี่ยน สร้ าง ปฏิบัติ ฯลฯ
สิ่งที่ต้องศึกษาก่ อนการจัดการเรียนรู้
1.ทฤษฎีการเรียนรู้
2.พระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. 2542/2545
3.กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ
4.จุดมุ่งหมายทางการศึกษา
5.จิตวิทยาการศึกษา
6.การจัดการเรียนรู้โดยเน้ นผู้เรียนเป็ นศูนย์ กลาง
7.การจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิด
8.รูปแบบการสอน/วิธีสอน/เทคนิคการสอน
9.สาระการเรียนรู้/สื่อและแหล่ งเรียนรู้
10.การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรี ยนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ในช่ วงก่ อนคริสต์ ศตวรรษที่ 20
ทฤษฎีการเรียนรู้ในช่ วงคริสต์ ศตวรรษที่ 20
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอนร่ วมสมัย
ทฤษฎีการเรียนรู้ในช่ วงก่ อนคริสต์ ศตวรรษที่ 20
1.ทฤษฎีของกลุ่มที่เน้ นฝึ กจิตหรือสมอง (Mental Discipline)
เชื่อว่ าจิตหรือสมองหรือสติปัญญา สามารถพัฒนาได้ โดยการฝึ ก
โดยให้ เรียนรู้ส่ ิงยาก ๆ
2.ทฤษฎีของกลุ่มที่เน้ นการพัฒนาไปตามธรรมชาติ (Natural
Unfoldment)
3.ทฤษฎีของกลุ่มที่เน้ นการรับรู้และการเชื่อมโยงความคิด
(Apperception)
ทฤษฎีการเรียนรู้ในช่ วงคริสต์ ศตวรรษที่ 20
1.ทฤษฎีการเรี ยนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม (Behaviorism)
2.ทฤษฎีการเรี ยนรู้กลุ่มพุทธินิยม (Cognitivism)
3.ทฤษฎีการเรี ยนรู้กลุ่มมนุษยนิยม (Humanism)
4.ทฤษฎีการเรี ยนรู้กลุ่มผสมผสาน (Eclecticism)
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอนร่ วมสมัย
1.ทฤษฎีกระบวนการทางสมองในการประมวลข้ อมูล
(Information Processing Theory)
2.ทฤษฎีพหุปัญญา(Theory of Multiple Intelligences)
3.ทฤษฎีการสร้ างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอนร่ วมสมัย
4. ทฤษฎีการสร้ างความรู้ด้วยตนเองโดยการ
สร้ างสรรค์ ชนิ ้ งาน (Constructionism)
5.ทฤษฎีการเรียนรู้แบบร่ วมมือ (Theory of Cooperative
or Collaborative Learning)
ทฤษฎีกระบวนการทางสมองในการประมวลข้ อมูล
ทฤษฎีการเรียนรู้
1.ขัน้ ตอนการทางานของสมอง
1.1.การรับข้ อมูล
1.2.การเข้ ารหัส
1.3.การส่ งข้ อมูลออก
2.มนุษย์ รับข้ อมูลทางประสาทสัมผัสทัง้ 5 บันทึก
เป็ นความจาระยะสัน้ ซึ่งขึน้ อยู่กับองค์ ประกอบ 2 ประการ
คือ การรู้จักและการใส่ ใจ ของบุคคลที่รับสิ่งเร้ า
ทฤษฎีกระบวนการทางสมองในการประมวลข้ อมูล
3. การเก็บข้ อมูลไว้ ใช้ ภายหลัง สามารถทาได้ โดยข้ อมูลจาเป็ นต้ อง
ได้ รับการประมวลและเข้ ารหัส เพื่อนาไปเก็บไว้ ในความจาระยะยาว
โดยใช้ เทคนิคต่ าง ๆ เข้ าช่ วย เช่ น การท่ องซา้ หลาย ๆ ครั ง้
หรื อการทาข้ อมูลให้ มีความหมายกับตนเองโดยการสัมพันธ์ ส่ ิงที่เรี ยนรู้
ใหม่ กับสิ่งเก่ าที่เรี ยนรู้ มาก่ อนซึ่งเรียกว่ ากระบวนการขยายความคิด
เป็ นต้ น
4. ความจาระยะยาวมี 2 ชนิด คือความจาที่เกี่ยวกับภาษาและความจา
ที่เกี่ยวกับเหตุการณ์ แบ่ งเป็ น 2 ประเภท คือความจาประเภทกลไก
ที่เคลื่อนไหวและความจาประเภทอารมณ์ ความรู้ สึก
ทฤษฎีกระบวนการทางสมองในการประมวลข้ อมูล
5. การบริหารควบคุมการประมวลข้ อมูลของสมองก็คือการที่บุคคลรู้ ถงึ
การคิดของตนและสามารถควบคุมการคิดของตนให้ เป็ นไปในทางที่
ต้ องการ เรี ยกว่ า metacognition หรื อ การรู้ คิด ซึ่งหมายถึง การ
ตระหนักรู้ เกี่ยวกับความรู้ และความสามารถของตนเองสามารถ จัดการ
ควบคุมกระบวนการคิด การทางานของตนด้ วยกลวิธีต่างๆ อันจะช่ วย
ให้ การเรี ยนรู้ และงานประสบผลสาเร็จตามที่ต้องการ
6.องค์ ประกอบของการรู้ คิดที่ใช้ ในการบริหารควบคุมกระบวนการ
ประมวลข้ อมูลประกอบด้ วยแรงจูงใจ ความตัง้ ใจและความมุ่งหวัง
ต่ าง ๆรวมทัง้ เทคนิคและกลวิธีต่าง ๆ ที่บุคคลใช้
ในการบริหารควบคุมตนเอง
ทฤษฎีกระบวนการทางสมองในการประมวลข้ อมูล
7.ความรู้ในเชิงการรู้คดิ ประกอบด้ วยความรู้เกี่ยวกับบุคคล
งานและกลวิธี
8.แพริสและคณะ จาแนกความรู้ในเชิงการรู้คดิ ออกเป็ น 3 ประเภท
คือ ความรู้ในเชิงปั จจัย ความรู้เชิงกระบวนการและความรู้
เชิงเงื่อนไข
การประยุกต์ ใช้ ทฤษฎี
1.ควรนาเสนอสิ่งเร้ าที่ผ้ ูเรียนรู้จักมาก่ อนแล้ วเชื่อมโยงไปถึงสิ่งใหม่ ท่ ี
เกี่ยวข้ องกับสิ่งนัน้
2.ควรจัดสิ่งเร้ าในการเรียนรู้ให้ ตรงกับความสนใจของผู้เรียน
3.ถ้ าต้ องการให้ ผ้ ูเรียนจาได้ จาเป็ นต้ องใช้ วิธีการต่ าง ๆ
4.การเข้ ารหัสจะทาให้ ผ้ ูเรียนจดจาได้ เพื่อนาไปเข้ าหน่ วยความจา
ระยะยาว
การประยุกต์ ใช้ ทฤษฎี
5.ข้ อมูลที่ถูกเก็บไว้ ในหน่ วยความจา สามารถเรี ยกออกมาใช้ งานได้ โดย
ผ่ าน effector ซึ่งเป็ นตัวกระตุ้นพฤติกรรมทางวาจาหรื อการกระทา
6.การที่ผ้ ูเรี ยนรู้ ตัวและรู้ จักการบริหารควบคุมกระบวนการคิดของตนก็
จะสามารถสั่งงานให้ สมองกระทาการต่ าง ๆ เพื่อผลสาเร็จในการ
เรี ยน
ทฤษฎีพหุปัญญา
การ์ ดเนอร์ ได้ กล่ าวถึงเชาว์ ปัญญา 8 ด้ าน
1. เชาว์ ปัญญาด้ านภาษา
2. เชาว์ ปัญญาด้ านคณิตศาสตร์ หรื อการใช้ เหตุผลเชิงตรรกะ
3. เชาว์ ปัญญาด้ านมิตสิ ัมพันธ์
4. เชาว์ ปัญญาด้ านดนตรี
5. เชาว์ ปัญญาด้ านการเคลื่อนไหวร่ างกายและกล้ ามเนือ้
6. เชาว์ ปัญญาด้ านความสัมพันธ์ กับผู้อ่ ืน
7. เชาว์ ปัญญาด้ านการเข้ าใจตนเอง
8. เชาว์ ปัญญาด้ านความเข้ าใจธรรมชาติ
การประยุกต์ ใช้ ทฤษฎี
1.ควรมีกจิ กรรมการเรี ยนรู้ ท่ หี ลากหลายสามารถส่ งเสริมเชาว์
ปั ญญาหลาย ๆ ด้ าน
2.ผู้เรี ยนมีระดับพัฒนาการแต่ ละด้ านไม่ เท่ ากัน ต้ องจัดการเรี ยนรู้
ให้ เหมาะสมกับขัน้ พัฒนาการในแต่ ละด้ านของผู้เรี ยน
3.การสอนควรเน้ นการส่ งเสริมความเป็ นเอกลักษณ์ ของผู้เรี ยน
ให้ ผ้ ูเรี ยนค้ นหาตนเอง ภาคภูมิใจในเอกลักษณ์ ของตนเอง
4.ควรมีการประเมินผลหลาย ๆ ด้ าน ให้ ผ้ ูเรี ยนได้ ใช้ สติปัญญา
หลาย ๆ ด้ านในการแก้ ปัญหา
ทฤษฎีการสร้ างความรู้ด้วยตนเอง
1.วีก็อทสกีแ้ ละเพียร์ เจต์ เป็ นรากฐานที่สาคัญของทฤษฎีการสร้ างความรู้
ด้ วยตนเอง ให้ ความสาคัญกับกระบวนการรู้ คิดหรื อกระบวนการ
ทางปั ญญา
2.การจัดการเรี ยนรู้ จะต้ องนาหน้ าระดับพัฒนาการของผู้เรี ยนให้ ไปถึง
ศักยภาพของผู้เรี ยนที่จะพัฒนาไปถึง
3.สมองเป็ นเครื่ องมือที่สาคัญที่สุดที่สามารถใช้ ในการแปลความหมาย
ของสิ่งต่ าง ๆ และเป็ นเรื่ องส่ วนตัวและเฉพาะตัว
4.ผู้เรี ยนจะต้ องจัดกระทาข้ อมูลไม่ ใช่ เพียงแต่ รับข้ อมูลเข้ ามา
5.การสร้ างความรู้ เป็ นกระบวนการทางสติปัญญา
และสังคม
การประยุกต์ ใช้ ทฤษฎี
1.ผู้เรี ยนต้ องสร้ างความรู้ ด้วยตนเอง ต้ องเรี ยนด้ วยการปฏิบัตจิ ริง
2.การเรี ยนรู้ ต้องถึงขัน้ ทาได้ และแก้ ปัญหาจริงได้
3.ผู้เรี ยนต้ องเป็ นผู้จัดกระทากับข้ อมูลหรื อประสบการณ์ ต่าง ๆ
ต้ องสร้ างความหมายของสิ่งนัน้ ด้ วยตนเองโดยการให้ ผ้ ูเรี ยนอยู่ในบริบทจริง
4.ครู ต้องสร้ างบรรยากาศทางสังคมจริยธรรมให้ เกิดขึน้
5.ผู้เรี ยนต้ องนาตนเองและควบคุมตนเองในการเรี ยนรู้
6.ครู เป็ นผู้อานวยความสะดวกในการจัดการเรียนรู้ และเป็ น
ประชาธิปไตย
7.ประเมินผลตามจุดมุ่งหมายที่ยืดหยุ่นกันไปในแต่ ละ
บุคคลด้ วยวิธีหลากหลาย ใช้ เกณฑ์ ในโลกของ
ความเป็ นจริง
ทฤษฎีการสร้ างความรู้ ด้วยตนเองโดยการสร้ างสรรค์ ชนิ ้ งาน
1. พัฒนามาจากทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียร์ เจต์
2. ให้ ผ้ ูเรียนสร้ างความคิดและนาความคิดของตนเองไปสร้ างสรรค์
ชิน้ งานโดยอาศัยสื่อและเทคโนโลยีท่ เี หมาะสม จะทาให้ ความคิด
นัน้ เป็ นรูปธรรม
3.เมื่อผู้เรียนสร้ างสิ่งใดขึน้ มาในโลก ก็หมายถึงการสร้ างความรู้
ในตนเองนั่นเองความรู้จะคงทน ไม่ ลืมง่ ายสามารถถ่ ายทอดให้
ผู้อ่ นื เข้ าใจความคิดของตนได้ ดี เป็ นฐานให้ ผ้ ูเรียนสร้ างความรู้
ใหม่ ต่อไปอย่ างไม่ มีท่ สี ิน้ สุด
การประยุกต์ ใช้ ทฤษฎี
1.ให้ ผ้ ูเรี ยนใช้ ส่ ือ เทคโนโลยี วัสดุและอุปกรณ์ ต่าง ๆ ที่เหมาะสม
ในการสร้ างสาระการเรี ยนรู้ และผลงานต่ าง ๆ ด้ วยตนเอง
2.ควรจัดบรรยากาศและสภาพแวดล้ อมที่ดี ซึ่งมีส่วนประกอบ
3 ประการคือ เป็ นบรรยากาศที่มีทางเลือกหลากหลาย
เป็ นสภาพแวดล้ อมที่มีความแตกต่ างกันและเป็ นบรรยากาศที่มี
ความเป็ นมิตร เรี ยนอย่ างมีความสุข
3.ครู เป็ นที่ปรึกษา เป็ นผู้อานวยความสะดวกในการเรี ยนรู้
4.การประเมินผลการเรี ยนรู้ ต้ องประเมินทัง้ ด้ านผลงาน
และกระบวนการ โดยใช้ วธิ ีการที่หลากหลาย
ทฤษฎีการเรี ยนรู้ แบบร่ วมมือ
1.จอห์ นสันและรอเจอร์ จอห์ นสัน กล่ าวถึงปฏิสัมพันธ์ ระหว่ าง
ผู้เรียนมี 3 ลักษณะ คือ ลักษณะการแข่ งขัน ต่ างคนต่ างเรี ยน
และช่ วยกันเรียนรู้
2.องค์ ประกอบของการเรียนรู้แบบร่ วมมือมี 5 ประการ
2.1. การพึ่งพาเกือ้ กูลกัน
2.2. การปรึกษาหารื อกันอย่ างใกล้ ชิด
2.3. ความรั บผิดชอบที่ตรวจสอบได้ ของสมาชิกแต่ ละคน
2.4. การใช้ ทกั ษะการปฏิสัมพันธ์ ระหว่ างบุคคลและทักษะการทางาน
2.5. การวิเคราะห์ กระบวนการกลุ่ม
ทฤษฎีการเรี ยนรู้ แบบร่ วมมือ
3.ผลดีของการเรี ยนรู้ แบบร่ วมมือ
1.มีความพยายามที่จะบรรลุเป้าหมายมากขึน้
2.มีความสัมพันธ์ ระหว่ างผู้เรี ยนดีขนึ ้
3.มีสุขภาพจิตดีขนึ ้
4.ประเภทของกลุ่มการเรี ยนรู้ แบบร่ วมมือ
1.กลุ่มการเรี ยนรู้ แบบร่ วมมืออย่ างเป็ นทางการ
2. กลุ่มการเรี ยนรู้ แบบร่ วมมืออย่ างไม่ เป็ นทางการ
3. กลุ่มการเรี ยนรู้ แบบร่ วมมืออย่ างถาวร
5.เทคนิคการเรียนรู้ แบบร่ วมมือมีหลายอย่ าง ต้ อง
เลือกใช้ ตามความเหมาะสม
การประยุกต์ ใช้ ทฤษฎี
ด้ านการวางแผนการจัดการเรียนรู้
1. กาหนดจุดมุ่งหมายของบทเรี ยนทัง้ ด้ านความรู้และทักษะกระบวนการ
2. กาหนดขนาดของกลุ่ม ควรมีขนาดเล็กประมาณ 3-6 คน 4 คนเหมาะ
ที่สุด
3. กลุ่มควรคละกันด้ านเพศ ความสามารถ ความถนัด
4. กาหนดบทบาทของสมาชิกแต่ ละคนในกลุ่ม
5. จัดสถานที่ให้ เหมาะสมในการทางานและปฏิสัมพันธ์ กัน
6. จัดสาระ วัสดุ หรื องานที่จะให้ ผ้ ูเรี ยนทา ให้ ทุกคนมีส่วนช่ วยกลุ่มและ
พึ่งพากันในการเรี ยนรู้
การประยุกต์ ใช้ ทฤษฎี
ด้ านการสอน
1. อธิบายชีแ้ จงเกี่ยวกับงานของกลุ่ม
2. อธิบายเกณฑ์ การประเมินผลงาน
3. อธิบายถึงความสาคัญและวิธีการของการพึ่งพาและเกือ้ กูลกัน
4. อธิบายวิธีช่วยเหลือกันระหว่ างกลุ่ม
5. อธิบายถึงความสาคัญและวิธีการในการตรวจสอบความ
รับผิดชอบต่ อหน้ าที่ท่ แี ต่ ละคนได้ รับมอบหมาย
6. ชีแ้ จงพฤติกรรมที่คาดหวัง
การประยุกต์ ใช้ ทฤษฎี
ด้ านการควบคุมกากับและการช่ วยเหลือกลุ่ม
1. ดูแลสมาชิกกลุ่มให้ มีการปรึกษาหารื อกันอย่ างใกล้ ชิด
2. สังเกตการณ์ การทางานร่ วมกันของกลุ่ม
3. ครู เข้ าไปช่ วยเหลือกลุ่มตามความเหมาะสมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ
ของงาน
4. สรุ ปการเรี ยนรู้ ครู ควรให้ กลุ่มสรุ ปประเด็นที่ได้ จากการเรี ยนรู้
แบบร่ วมมือ
การประยุกต์ ใช้ ทฤษฎี
ด้ านการประเมินผลและวิเคราะห์ กระบวนการเรียนรู้
1. ประเมินผลการเรียนรู้ทงั ้ ด้ านปริมาณและคุณภาพด้ วยวิธีการ
หลากหลายและให้ ผ้ ูเรียนมีส่วนร่ วมในการประเมิน
2. วิเคราะห์ กระบวนการทางานและกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน
วิเคราะห์ พฤติกรรมของสมาชิกกลุ่มเพื่อปรับปรุ ง
ส่ วนที่บกพร่ อง
การใช้ ทฤษฎีการเรียนรู้ในการจัดการเรียนรู้
วิเคราะห์
สังเคราะห์
ประยุกต์ ใช้
สาระการเรียนรู้
ระดับของเนือ้ หา (Taba, 1962)
1.เนือ้ หาที่เป็ นข้ อมูลและกระบวนการ
(Specific Facts and Process)
2.เนือ้ หาที่เป็ นความคิดและหลักการเบือ้ งต้ น
(Basic Idea and principles)
3.ความคิดรวบยอด (Concept)
4.ระบบความคิด (Though System or Method
of Inquiry)
สื่อ/นวัตกรรมและแหล่ งเรียนรู้
ความหมายของนวัตกรรมการเรี ยนรู้
1.รู ปแบบใหม่ ๆ ของสื่อหรื ออุปกรณ์ และวิธีการใช้ ส่ ือหรื ออุปกรณ์
2.รู ปแบบใหม่ ๆ ของกระบวนการจัดการเรี ยนรู้ หรื อรูปแบบ
ที่สังเคราะห์ จากรู ปแบบเดิมหรื อรู ปแบบเดิมที่ใช้ ในบริบทใหม่
รู ปแบบการสอน/วิธีสอน/เทคนิคการสอน
รูปแบบการสอน
1.รูปแบบเน้ นการพัฒนาด้ านพุทธิพสิ ัย
1.1 รู ปแบบการเรี ยนการสอนมโนทัศน์
(Concept Attainment Model)
1.2 รู ปแบบการเรี ยนการสอนตามแนวคิดของกานเย
(Gagne’s Instructional Model)
1.3 รู ปแบบการเรี ยนการสอนโดยการนาเสนอมโนทัศน์ กว้ าง
ล่ วงหน้ า (Advance Organizer Model)
รูปแบบการสอน
1.4 รู ปแบบการเรี ยนการสอนเน้ นความจา
(Memory Model)
1.5 รู ปแบบการเรี ยนการสอนโดยใช้ ผังกราฟิ ก
(Graphic Oraganizer Instructional Model)
รูปแบบการสอน
2. รู ปแบบเน้ นการพัฒนาด้ านทักษะพิสัย
2.1 รู ปแบบการเรี ยนการสอนตามแนวคิดการพัฒนาด้ านจิตพิสัย
ของแครทโวล บลูม และมาเซีย (Instructional Model Based
on Affective Domain by Krathwohl,Bloom and Masia)
2.2 รู ปแบบการเรี ยนการสอนโดยการซักค้ าน
(Jurisprudential Model)
2.3 รู ปแบบการเรี ยนการสอนโดยใช้ บทบาทสมมุติ
(Role Playing Model)
รูปแบบการสอน
3. รูปแบบเน้ นการพัฒนาด้ านจิตพิสัย
3.1 รู ปแบบการเรี ยนการสอนตามแนวคิดการพัฒนาทักษะปฏิบัติ
ของซิมพ์ ซัน(Instruction Model Based on Simpson’s Process
for Psycho-Motor Skill Development)
3.2 รู ปแบบการเรี ยนการสอนทักษะปฏิบัตขิ องแฮร์ โรว์ (Harrow’s
Instructional Model for Psychomotor Domain)
3.3 รู ปแบบการเรี ยนการสอนทักษะปฏิบัตขิ อง เดวีส์
(Davies’ Instructional Model for Psychomotor
Domain)
รูปแบบการสอน
4. รูปแบบเน้ นการพัฒนาทักษะกระบวนการ
4.1 รูปแบบการเรียนการสอนกระบวนการสืบสอบ
และแสวงหาความรู้เป็ นกลุ่ม (Group Investigation Instructional Model)
4.2 รูปแบบการเรียนการสอนการคิดอุปนัย(Inductive Thinking
Instructional Model)
4.3 รูปแบบการเรียนการสอนกระบวนการคิดสร้ างสรรค์
(Synectics Instructional Model)
4.4 รูปแบบการเรียนการสอนกระบวนการคิดแก้ ปัญหาอนาคต
ตามแนวคิดของทอร์ แรนซ์ (Torance’s Future
Problem Solving Instructional Model)
รูปแบบการสอน
5. รูปแบบเน้ นการบูรณาการ
5.1 รู ปแบบการเรี ยนการสอนทางตรง (Direct Instruction Model)
5.2 รู ปแบบการเรี ยนการสอนโดยการสร้ างเรื่อง (Storyline Model)
5.3 รู ปแบบการเรี ยนการสอนตามวัฏจักรการเรี ยนรู้ 4 MAT
5.4 รู ปแบบการเรี ยนการสอนของการเรี ยนรู้ แบบร่ วมมือ
(Instructional Model Cooperative Learning)
รูปแบบการสอน
6.รูปแบบการเรียนการสอนที่พัฒนาขึน้ โดยนักการศึกษาไทย
และนิสิตนักศึกษา
6.1 รู ปแบบการเรี ยนการสอนทักษะกระบวนการเผชิญสถานการณ์
6.2 รู ปแบบการเรี ยนการสอนโดยสร้ างศรั ทธาและโยนิโสมนสิการ
6.3 รู ปแบบการเรี ยนการสอนกระบวนการคิดเพื่อการดารงชีวติ
ในสังคมไทย
6.4 รู ปแบบการเรี ยนการสอนโดยยึดผู้เรี ยนเป็ นศูนย์ กลาง ฯ ลฯ
วิธีสอน
1.วิธีสอนโดยใช้ การบรรยาย
9. วิธีสอนโดยใช้ การแสดงบทบาทสมมุติ
2. วิธีสอนโดยใช้ การสาธิต
10. วิธีสอนโดยใช้ กรณีตัวอย่ าง
3. วิธีสอนโดยใช้ การทดลอง
11. วิธีสอนโดยใช้ เกม
4. วิธีสอนโดยใช้ การนิรนัย
12. วิธีสอนโดยใช้ สถานการณ์ จาลอง
5. วิธีสอนโดยใช้ การอุปนัย
13. วิธีสอนโดยใช้ ศูนย์ การเรียน
6. วิธีสอนโดยใช้ การไปทัศนศึกษา 14. วิธีสอนโดยใช้ บทเรียนแบบโปรแกรม
7. วิธีสอนโดยใช้ การอภิปรายกลุ่มย่ อย
8. วิธีสอนโดยใช้ การแสดงละคร
เทคนิคการสอน
1.เทคนิคการใช้ ผังกราฟิ ก
2.เทคนิคการใช้ คาถามตามระดับจุดมุ่งหมายด้ านพุทธิพสิ ยั ของบลูม
3. เทคนิคการใช้ คาถามเพื่อพัฒนาลักษณะการคิดที่พงึ ประสงค์
4.เทคนิคการแบ่ งกลุ่ม
5.เทคนิคการจัดการและควบคุมชัน้ เรียน
6.เทคนิคที่ใช้ ควบคู่กับการสอนแบบต่ าง ๆ
ตัวอย่ างรูปแบบการสอน/วิธีสอน/เทคนิคการสอน
รูปแบบการสอนมโนทัศน์






การทาโครงงาน
การเรี ยนรู้ แบบร่ วมมือ
การใช้ ผังกราฟิ กหรื อผังความคิด
กระบวนการสืบสอบและแสวงหาความรู้ เป็ นกลุ่ม
อุปนัย (วิเคราะห์ จากตัวอย่ างสรุ ปเป็ นหลักการ)
นิรนัย (เรี ยนหลักการก่ อนให้ ตัวอย่ าง)
ตัวอย่ างรูปแบบการสอน/วิธีสอน/เทคนิคการสอน
 กระบวนการคิดสร้ างสรรค์
 กระบวนการคิดแก้ ปัญหาอนาคตของทอร์ แรนซ์
 การบูรณาการ
ตัวอย่ างรูปแบบการสอน/วิธีสอน/เทคนิคการสอน
การสร้ างเรื่อง
• 4 MAT
• SIX HAT
• การปฏิบัตจิ ริง
ตัวอย่ างรูปแบบการสอน/วิธีสอน/เทคนิคการสอน








KWDL
กระบวนการเผชิญสถานการณ์
การสอนโดยใช้ ปัญหาเป็ นฐาน
กระบวนการแก้ ปัญหา
อริยสัจ 4
โยนิโสมนสิการ
CIPPA MODEL
รู ปแบบการสอนกระบวนการคิดเพื่อการดารงชีวติ ในสังคมไทย
ตัวอย่ างรูปแบบการสอน/วิธีสอน/เทคนิคการสอน







การอภิปราย
กรณีศึกษา
บทบาทสมมติ
สถานการณ์ จาลอง
ละคร
ใช้ แหล่ งเรียนรู้
ใช้ นวัตกรรมและเทคโนโลยี
ตัวอย่ างรูปแบบการสอน/วิธีสอน/เทคนิคการสอน
o การฝึ กทักษะ ลักษณะและกระบวนการคิด
o กระบวนการทางปั ญญา
o กระบวนการต่ าง ๆ ของกรมวิชาการ
o การไปทัศนศึกษา
o การทดลอง
o การใช้ เกม เพลง
o ใช้ นวัตกรรมพืน้ บ้ าน
ตัวอย่ างรูปแบบการสอน/วิธีสอน/เทคนิคการสอน





การเรี ยนรู้ แบบเน้ นประสบการณ์
การเรี ยนรู้ โดยการรั บใช้ สังคม
การจัดการเรี ยนรู้ ตามสภาพจริง
การสร้ างองค์ ความรู้
การสร้ างสรรค์ ชนิ ้ งาน
ตัวอย่ างรูปแบบการสอน/วิธีสอน/เทคนิคการสอน
 ผังกราฟิ ก/mind map/concept map
 การใช้ คาถาม
 การใช้ หมวกความคิดหกใบ
 การบริหารสมอง
การจัดการเรียนรู้โดยเน้ นผู้เรียนเป็ นศูนย์ กลาง
การจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิด
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
1.วัดผลและประเมินผลให้ ตรงกับจุดประสงค์
การเรียนรู้ ทุกข้ อในแผนการจัดการเรียนรู้
2.ใช้ วธิ ีการวัดผลที่หลากหลายและเหมาะสม
3.ใช้ การวัดผลและประเมินผลตามสภาพจริง
4.เครื่องมือวัดผลต้ องมีคุณภาพเชื่อถือได้
5.มีเกณฑ์ การประเมินชัดเจน แน่ นอน
การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้