รูปแบบการจัดกิจกรรมสุขศึกษา ในการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ ตามสุขบัญญัติ

Download Report

Transcript รูปแบบการจัดกิจกรรมสุขศึกษา ในการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ ตามสุขบัญญัติ

รูปแบบการจัดกิจกรรมสุขศึกษา
ในการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
ตามสุขบัญญัตแิ ห่ งชาติ
รศ.ดร.เอมอัชฌา วัฒนบุรานนท์
จีรนันท์ แก้วมา
คณะครุ ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย
*
0 10
เกิด
*
20 30 40 50 60 70 80 90 100 110 120 130
อายุปัจจุบัน
ตาย
เป้าหมายชีวติ
1) ..............................................
2) ...............................................
3) ...............................................
รองศาสตราจารย์ ดร.เอมอัชฌา วัฒนบุรานนท์
พฤติกรรมสุ ขภาพทีไ่ ม่ ดี
ปี ที่สูญหาย
1. สูบบุหรี่
( -8)
2. ดื่มสุรา
( -10)
3. กินมากเกินไป
( -5)
4. กินของหวาน (นา้ ตาล) มาก ( -8)
5. เติมเกลือในอาหารมาก
( -3)
รองศาสตราจารย์ ดร.เอมอัชฌา วัฒนบุรานนท์
6. ไม่ ออกกาลังกาย
7. อ้ วน
8. เคร่ งเครี ยด
9. ไม่ มีความสุข
10 รู้ สึกเหงา
ปี ที่สูญหาย
( -10)
( -10)
( -7)
( -5)
( -3)
สรุป
1. แยกเป้าหมายทีไ่ ม่ สามารถทาได้ สาเร็จหากตายก่ อนกาหนด
2. ถามตัวเอง .........
2.1 คุณมีเวลาพอที่จะทาให้เป้ าหมายในชีวิตสาเร็ จหรื อมม
2.2 คุณต้องการทาอะมรเพื่อให้บรรลุสิ่งที่คาดหวังมว้
2.3 คุณต้องการปรับพฤติกรรมอะมร
2.4 คุณต้องการให้ “สุ ขภาพ” เป็ นยอดปรารถนา
อันดับแรกในชีวติ หรื อมม
รองศาสตราจารย์ ดร.เอมอัชฌา วัฒนบุรานนท์
คาสาคัญ
ส ุขบัญญัติแห่งชาติ
พฤติกรรมส ุขภาพ
กิจกรรมส ุขศึกษา
การสุขศึกษาในโรงเรียน
หลักการและแนวคิดเกีย่ วกับการสุ ขศึกษาในโรงเรียน
• จัดประสบการณ์การเรี ยนรู้ทางสุ ขภาพให้แกทุกคนในโรงเรี ยน
• เกิดความรู้ มีทศั นคติ และการปฏิบัตทิ ี่ถูกต้องในการดูแลสุ ขภาพ
• จัด “โปรแกรมสุ ขภาพในโรงเรี ยน” (School Health Program)
โปรแกรมสุ ขภาพในโรงเรียน
(School Health Program)
สิ่ งแวดล้อม
ทางสุ ขภาพ
การบริการ
สุ ขภาพ
การเรียนการสอน
สุ ขศึกษา
- สิ่ งแวดล้อมทางกายภาพ - การตรวจสุ ขภาพและติดตามผล - หลักสูตร
- สิ่ งแวดล้อมทางจิตภาพ - การป้ องกันและควบคุมโรค
- การเรี ยนการสอนสุ ขศึกษา
- การสุ ขาภิบาลทัว่ มป - การจัดบริ การสงเสริ มสุ ขภาพ - กิจกรรมพิเศษ
การจัดสิ่ งแวดล้ อมทางสุ ขภาพในโรงเรียน
• แนวคิด “สะอาด เรียบร้ อย ปลอดภัย”
• การจัดสิ่งแวดล้ อมทางกายภาพ
@สถานที่ต้ งั โรงเรี ยน @อาคารเรี ยน @บริ เวณโรงเรี ยน
@โต๊ะเรี ยนและม้านัง่ @กระดานชอล์ก @อุปกรณ์และเครื่ องใช้ตางๆ
@การจัดแสงสวาง @การระบายถายเทอากาศ
• การจัดสิ่งแวดล้ อมทางจิตภาพ
@จัดกิจกรรมสงเสริ มสุ ขภาพจิต
@จัดสถานที่พกั ผอนหยอนใจ
@สร้างสัมพันธ์อนั ดีระหวางบุคลากร @สร้างบรรยากาศความเป็ นกันเอง
• การจัดสุขาภิบาลทั่วไป
@น้ าดื่มน้ าใช้
@ส้วมและและที่ปัสสาวะ
@การกาจัดขยะมูลฝอย @การรักษาความสะอาดทัว่ มป
@การระบายน้ า
การจัดบริการสุ ขภาพในโรงเรียน
การตรวจสุ ขภาพ
# การชัง่ น้ าหนักและวัดสวนสู ง # การตรวจสุ ขภาพและตรวจโรค
# การปฐมพยาบาล # การจัดทาบันทึกสุ ขภาพประจาตัวนักเรี ยน
# การชวยแก้มขข้อบกพรองหรื อความพิการด้านสุ ขภาพ
การป้องกันและ
ควบคุมโรคติดต่ อ
# การตรวจค้นหานักเรี ยนที่เจ็บปวย # การแยกนักเรี ยนที่เจ็บปวย
# การให้ภมู ิคุม้ กันโรคโดยจัดให้มีการฉี ดวัคซี น
# การทาลายเชื้อโรคและแหลงเพาะพันธุ์สัตว์นาโรค
การส่ งเสริมสุ ขภาพ
# การจัดกิจกรรมสงเสริ มสุ ขภาพให้นกั เรี ยนและบุคลากรใน
โรงเรี ยน เชน โครงการอาหารกลางวัน โครงการความปลอดภัย
การแนะแนวสุ ขภาพกาย สุ ขภาพจิตและสุ ขภาพสังคม
การจัดการเรียนการสอนสุ ขศึกษา
• ควรพิจารณา หลักสู ตร การจัดการเรียนรู้ทางสุ ขศึกษาและการจัดกิจกรรม
พิเศษเกีย่ วกับสุ ขภาพ
• จุดมุงหมายสาคัญคือ การให้นกั เรี ยนมีพฤติกรรมสุ ขภาพที่ดี มด้แก การมี
ความรู้ (K) ทัศนคติ (A) และการปฏิบัติ (P) ทางด้ านสุ ขภาพทีถ่ ูกต้ อง
• เน้นที่ “กระบวนการจัดการเรี ยนรู ้เพื่อการป้ องกันโรคและการมีสุขปิิบตั ิที่ดี”
การพิจารณาด้ านหลักสู ตรสุ ขศึกษา
ความสนใจ
หลักจิตวิทยาแหงการเรี ยนรู้
ความต้องการและปัญหาสุ ขภาพของผูเ้ รี ยน
เน้นพฤติกรรมสุ ขภาพด้านความรู้ ทัศนคติและการปฏิบัตมิ ปด้วยพร้อมๆ กัน
ระดับชั้น
ชั้น ป. 1 - 3
ชั้น ป. 4 - 6
ชั้น ม. 1 - 3
ชั้น ม.4 - 6
อันดับที่ 1
การปิิบตั ิ
ทัศนคติ
ทัศนคติ
ความรู้
อันดับที่ 2
ทัศนคติ
การปิิบตั ิ
ความรู้
ทัศนคติ
อันดับที่ 3
ความรู้
ความรู้
การปิิบตั ิ
การปิิบตั ิ
ในระดับอุดมศึกษาก็ควรเน้นความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติตามลาดับเชนเดียวกันในระดับชั้น ม. 4 – 6
(สุชาติ โสมประยูร และเอมอัชฌา วัฒนบุรานนท์, 2553: 74)
หลักสู ตรสุ ขศึกษา
• ทันสมัย
• ยืดหยุนมด้
• สามารถแก้ปัญหาสุ ขภาพในสังคมมด้
เนือ้ หาสุ ขศึกษา
1. สุ ขภาพสวนบุคคลและชุมชน
2. โภชนาการและสุ ขภาพผูบ้ ริ โภค
3. สุ ขภาพจิต
4. การปฐมพยาบาล
5. การบริ การสุ ขภาพ
6. สิ่ งแวดล้อม
7. ความปลอดภัย
8. ความรู้เรื่ องเพศ(เพศศึกษา)
9. การใช้ยาและสารเสพติด
10. มรณศึกษา
11. โรคติดตอ/โรคมมติดตอ/โรคที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรม
ในการจัดเนื้อหาสุ ขศึกษาควรพิจารณาความเหมาะสมของผูเ้ รี ยนในแตละระดับชั้น
การจัดการเรียนรู้ ทางสุ ขศึกษา






ให้ผเู ้ รี ยนเกิด “การเรี ยนรู ้”มากที่สุด
เปิ ดโอกาสให้ผเู ้ รี ยนมีส่วนร่ วมมากที่สุด
จัดกิจกรรมหรื อวิธีสอนทีห่ ลากหลายและเหมาะสมกับเนื้อหาที่สอน
เน้นกระบวนการเรียนการสอนมากกวาเนื้อหา
มีการใช้สื่อการเรี ยนรู ้ที่เหมาะสมสอดคล้องกับเนื้อหา
มีการประเมินผลการเรียนรู้ ที่สนองจุดมุงหมายของการสุ ขศึกษา
ตัวอย่ างรูปแบบการจัดการเรียนรู้สุขศึกษา
การจัดการเรียนรูส้ ขุ ศึกษาแบบ “โมเดลเลิฟ (Love Model)”ตาม
แนวคิดจิตตปัญญาศึกษา (Contemplative Education)
การจัดการเรียนรูส้ ขุ ศึกษาแบบบูรณาการ
(Integrated Education)
การจัดการเรียนรูส้ ขุ ศึกษาแบบย้อนกลับ
(Backward Design)
การจัดการเรียนรูส้ ขุ ศึกษาแบบพหุปัญญา
(Multiple Intelligences)
การจัดการเรียนรูส้ ขุ ศึกษาแบบคุณธรรมศึกษา
(Moral Education)
1. การจัดการเรียนรู้สุขศึกษาแบบ “โมเดลเลิฟ (LOVE MODEL)”
ตามแนวคิดจิตตปัญญาศึกษา (Contemplative Education)
• แนวคิดจิตตปัญญาศึกษา ชวยให้ผเู้ รี ยนรู้จกั
การจัดการเรียนรู้ สุขศึกษา “โมเดลเลิฟ
ตัวเอง รู้จกั ความดี เข้าใจธรรมชาติ เข้าใจ ความจริ ง
(LOVE MODEL)” ชวยให้ผเู ้ รี ยนเกิด
ของชีวติ มีสติรอบคอบ รู้จกั ใครครวญ เพื่อการ
การเรี ยนรู ้ ดังนี้
พัฒนาจิตใจและปัญญา
• “รู ปแบบโมเดลเลิฟ (LOVE MODEL)”
ตามแนวคิดจิตตปัญญาศึกษา ประกอบด้วย
1) ขั้นเรียนรู้ (Learning)
2) ขั้นเปิ ดใจ (Openness)
3) ขั้นเห็นคุณค่ า (Value)
4) ขั้นเห็นคุณงามความดี (Excellence)




ความคิด
ความรู้
ทัศนคติ
การปิิบตั ิ
ในด้านการมีพฤติกรรม
สุ ขภาพที่ดี และเป็ นผูท้ ี่มี
คุณธรรมในการดาเนิน
ชีวิตประจาวัน
สามารถใช้ ได้ ในทุกเนื้อหาสุขศึกาา
รองศาสตราจารย์ ดร.เอมอัชฌา วัฒนบ ุรานนท์
คณะคร ุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
การใช้ร ูปแบบ “เลิฟโมเดล” (LOVE MODEL)
L (Learning)
ขั้นการเรียนรู้
(Openness) O
ขั้นเปิ ดใจ
ความดี
ความจริง
ความรู้
V (Value)
ขั้นเห็นคุณค่ า
E (Excellence)
ขั้นเห็นคุณงามความดี
รศ.ดร.เอมอัชฌา วัฒนบุรานนท์
คณะครุ ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กระบวนการจัดการเรียนรู้ รู ปแบบ “เลิฟโมเดล”
(LOVE MODEL)
1.ขั้นการเรียนรู้
(Learning)
การตั้งคาถาม/การตอบคาถาม/การทาสมาธิ/
การสวดมนต์ /การแลกเปลีย่ นเรียนรู้ และการอภิปราย/ การ
ระบายความรู้ สึก
2. ขั้นเปิ ดใจ
(Openness)
การระบายความรู้ สึก/การเล่ าประสบการณ์ / การแสดงความ
คิดเห็น/ การจัดสุ นทรียสนทนา
3. ขั้นเห็นคุณค่ า
(Value)
การเขียนบันทึก/ การให้ น้าหนักคะแนน/ การทาสมาธิ/ การสวด
มนต์ / การแสดงบทบาทสมมติ
4. ขั้นเห็นคุณงามความดี
(Excellence)
กิจกรรมช่ วยเหลือซึ่งกันและกัน/ การแผ่ เมตตา/
การทาสมาธิ/การแสดงความรู้ สึก/ การแสดงความรัก/
การเขียนบันทึก
รศ.ดร.เอมอัชฌา วัฒนบุรานนท์
คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย
การทาสมาธิ
การสวดมนต์
กิจกรรมระบายความในใจ
...เป็ นกิจกรรมที่ได้ ระบายความรู้ สึก
บางอย่ างที่ไม่ อาจบอกกับใครได้
รู้ สึกสบายใจและผ่ อนคลาย
รศ.ดร.เอมอัชฌา วัฒนบุรานนท์
คณะครุ ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย
การเขียนบันทึก
รศ.ดร.เอมอัชฌา วัฒนบุรานนท์
คณะครุ ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย
2. การจัดการเรียนรู้สุขศึกษาแบบบูรณาการ
(Integrated Education)
การบูรณาการ
อะไรบ้ าง
วิธีการสอน
กิจกรรม
เนือ้ หา
ในกลุ่มสาระเดียวกัน
ข้ ามกลุ่มสาระ
รูปแบบการบูรณาการ
แบบผู้สอนคนเดียว
แบบคู่ขนาน
แบบสหวิทยาการ
แบบโครงการ
เชื่อมโยงสาระการเรี ยนรู ้ตางๆกับหัวข้อเรื่ องที่สอดคล้องกับ
ชีวติ จริ งหรื อสาระที่กาหนดขึ้นมา
ผูส้ อนตั้งแต 2 คนขึ้นมป รวมกันจัดการเรี ยนการสอน โดยอาจจะ
ยึดหัวข้อใดหัวข้อหนึ่งแล้วบูรณาการเชื่อมโยงแบบคูขนาน
นาเนื้อหาจากหลายกลุมสาระมาเชื่อมโยงเพื่อจัดการเรี ยนรู้
ผูเ้ รี ยนและผูส้ อนจะรวมกันสร้างสรรค์โครงการขึ้น อาจสอนเป็ น
ทีมหรื อแยกกันสอนมด้ เชน กิจกรรมเข้าคายสุ ขภาพ กิจกรรมเข้า
คายสิ่ งแวดล้อม ฯลฯ
3. การจัดการเรียนรู้สุขศึกษาแบบย้ อนกลับ
(Backward Design)
เป็ นการจัดการเรี ยนรู ้
ที่ออกแบบจากการ
เริ่มต้ นทีก่ ารประเมิน
สู่ การจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้ สุขศึกษา โดย
อิงมาตรฐานการ
เรียนรู้ มีลกั ษณะดังนี้
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ สุขศึกษาแบบย้ อนกลับ
(Backward Design Process for Health Education Learning)
ความรู้
(Knowledge)
ผลการเรียนรู้ ทคี่ าดหวัง
(Learning Outcome)
ทัศนคติ
(Attitude)
อิงหลักสู ตร อิงมาตรฐาน
การปฏิบัติ
(Practice)
การประเมินผล
ตามสภาพจริง (หลักฐาน)
การประเมินผลการเรียนรู้
(Learning Assessment)
ผู้เรียน
(Learners)
การออกแบบการเรียนรู้
เนือ้ หา
(Learning Design)
(Content)
กิจกรรม (หลากหลาย)
(Activities)
- กระบวนการคิด
- บูรณาการ
- ทักษะชีวติ
ผู้เรียนเป็ นศู นย์ กลาง
4. การจัดการเรียนรู้สุขศึกษาแบบพหุปัญญา
(Multiple Intelligences)
Gardner (1993) เป็ นผู้เสนอทฤษฎีพหุปัญญา ซึง่ ให้ ความสาคัญกับการพัฒนาเชาวน์
ปั ญญาของมนุษย์ในด้ านต่างๆ รวมทังหมด
้
8 ด้ าน
• ปัญญาด้ านดนตรี (Musical Intelligence) • ปัญญาด้ านมิติสัมพันธ์ (Spatial
Intelligence)
• ปัญญาด้ านร่ างกายและการเคลือ่ นไหว
(Bodily – kinesthetic Intelligence)
• ปัญญาด้ านมนุษยสั มพันธ์
(Interpersonal Intelligence)
• ปัญญาด้ านการใช้ เหตุผลเชิงตรรกะและ
คณิตศาสตร์ (Logical – Mathematical
• ปัญญาด้ านการเข้ าใจตนเอง
Intelligence)
(Intrapersonal Intelligence)
• ปัญญาด้ านภาษา (Linguistic Intelligence) • ปัญญาด้ านความเข้ าใจธรรมชาติ
(Naturalist Intelligence)
 แตละบุคคลจะมีความสามารถทางเชาวน์ปัญญาในแตละด้านมมเทากัน
 การใช้พหุปัญญาสามารถชวยให้บุคคลสามารถเผชิญและแก้มขปั ญหาโดยการรู ้จกั ใช้ปัญญาทั้ง 8 ด้าน
เพื่อให้เกิดการเรี ยนรู้ในการแก้ปัญหามด้อยางถูกต้องและเหมาะสม
5. การจัดการเรียนรู้ สุขศึกษาแบบคุณธรรมศึกษา
(Moral Education)
การสอนให้ มีคุณธรรม
คุณธรรมที่ใช้ในชีวิตประจาวัน
เพื่อให้เกิดพฤติกรรมสุ ขภาพที่ดี

ซื่อสัตย์
 รับผิดชอบ
 อดทน
ซื่อสัตย์
ปิิบตั ิตนที่ถูกต้อง มมหลอกตนเองและผูอ้ ื่น
รับผิดชอบ
มมยอท้อและมีจิตที่มุงมัน่ ในสิ่ งที่ดี
รับผิดชอบในสิ่ งที่ดีและถูกต้อง
เกี่ยวกับพฤติกรรมสุ ขภาพ
อดทน
การประเมินผลการเรียนรู้ ทางสุ ขศึกษา
•
•
•
•
•
•
•
ประเมินตามสภาพจริ ง
ประเมินผลตนเองหรื อเพื่อนประเมิน
การเขียนบันทึก
การรายงานการปิิบตั ิ • แบบประเมินการปิิบตั ิงานหรื อโครงงาน
แบบทดสอบวัดความรู ้ • แบบสัมภาษณ์
แบบสอบถามทัศนคติ • แบบสารวจรายการ
แบบสอบถามการปิิบตั ิ • แบบสังเกต
• แบบบันทึกพฤติกรรม
ตัวอย่ าง แบบประเมินผลการทากิจกรรม
ผลการประเมิน
ที่
ความกล้า
รวม
ความรู้ที่ ความคิด
การ
ความพึง
ในการ
คะแนน
มด้รับ สร้างสรรค์
แก้ปัญหา พอใจ
แสดงออก
(20)
ชื่อ - นามสกุล
4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4321
เกณฑ์ การประเมิน
16 – 20
11 – 15
6 – 10
0–5
รวมคะแนน................................................คะแนน
คะแนน
คะแนน
คะแนน
คะแนน
เทากับ
เทากับ
เทากับ
เทากับ
ดีมาก
ดี
พอใช้
ควรปรับปรุ ง
ตัวอย่ าง แบบประเมินตนเอง
เรื่ อง “การเปิ ดเผยข้อมูลสวนตัว”
คาชี้แจง กรุ ณาแสดงความคิดเห็น ในเรื่ องการเปิ ดเผยข้อมูลสวนตัวในเรื่ องตอมปนี้
การเปิ ดเผย
รายการ
เปิ ดเผย
ไม่ แน่ ใจ ไม่ เปิ ดเผย
1. พฤติกรรมสวนตัวในเรื่ องเพศ
2. ถ้าเป็ นโรคติดตอทางเพศสัมพันธ์
3. ถ้ามีเพศสัมพันธ์กอนการแตงงาน
4. ถ้ามีความผิดปกติในเรื่ องเพศ
5. ถ้าตั้งครรภ์โดยมมตั้งใจ
6. ถ้าเคยทาแท้ง
7. ถ้าเคยถูกขมขืน
8. ถ้าใช้ยาคุมกาเนิ ด / ถุงยางอนามัย
ตัวอย่ าง การประเมินผลการจัดกิจกรรม
เรื่ องการวางตัวตอเพศตรงข้าม
ชื่อ – นามสกุล.....................................................................
วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้ผเู้ รี ยนเห็นความสาคัญในการวางตัวตอเพศตรงข้าม
2. เพื่อให้ผเู้ รี ยนนาหลักการวางตัวตอเพศตรงข้ามมปปิิบตั ิในชีวติ ประจาวันมด้
กิจกรรม
1. แบงผูเ้ รี ยนเป็ น 4 กลุม ให้แตละกลุมสร้างบทละครสั้นหรื อการแสดงบทบาทสมมติในเรื่ อง
ตอมปนี้
1.1 กลุมที่ 1 เรื่ อง “การวางตัวตอเพศตรงข้ามในสังคมมทย”
1.2 กลุมที่ 2 เรื่ อง “การวางตัวตอเพศตรงข้ามในสังคมตางประเทศ”
1.3 กลุมที่ 3 เรื่ อง “การวางตัวตอเพศตรงข้ามในสังคมเมือง”
1.4 กลุมที่ 4 เรื่ อง “การวางตัวตอเพศตรงข้ามในสังคมชนบท”
2. ให้แตละกลุมมาแสดงละครสั้นหรื อบทบาทสมมติ
3. ให้ผเู้ รี ยนวิจารณ์หรื อแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับความแตกตางของการวางตัวตอเพศตรงข้ามใน
สภาพสังคมที่แตกตางกัน และชวยกันสรุ ป
ลาดับที่
รายการประเมิน
1
การวางแผนการสร้างบทละคร /
บทบาทสมมติ
2
การแสดง และเนื้อเรื่ องที่เหมาะสม
3
การแสดงความคิดเห็นเรื่ องการวางตัว
ตอเพศตรงข้าม
เกณฑ์การประเมินผล
1 = ต้องแก้มข
2 = พอใช้
3 = ดี
4 = ดีมาก
1
ระดับคุณภาพ
2
3
4
ข้อเสนอแนะ..................................................................................................
.....................................................................................................................
.....................................................................................................................
.....................................................................................................................
.....................................................................................................................
ผูป้ ระเมิน...............................................................
วันที่........เดือน............................พ.ศ. ..............
การจัดกิจกรรมพิเศษทางด้ านสุ ขภาพ
• จัดขึน้ เพือ่ การส่ งเสริมและสนับสนุนการดูแลสุ ขภาพและการสร้ างเสริมสุ ขภาพ
ให้ กบั เด็กนักเรียน ครู และบุคลากรในโรงเรียน
• ตัวอย่ างกิจกรรมพิเศษ มด้แก
 การจัดนิทรรศการทางสุ ขภาพ
 การจัดโปสเตอร์
 การทาเอกสารแผนพับ
 การทาสื่ อสิ่ งพิมพ์ สื่ อวิทยุกระจายเสี ยง สื่ ออิเล็กทรอนิกส์
 การจัดสัมมนา จัดอภิปราย จัดประชุมเชิงปิิบตั ิการ
 การจัดสัปดาห์ป้องกันโรค เชน โรคฟั นผุ โรคมข้หวัดใหญ โรคที่มากับน้ า โรคเบาหวาน
ฯลฯ
 การจัดรณรงค์ป้องกันปัญหาอุบตั ิเหตุ ปัญหาการใช้สารเสพติด ปัญหาสิ่ งแวดล้อม ปัญหา
สุ ขภาพจิต ปัญหาเรื่ องพฤติกรรมทางเพศ
 การจัดกิจกรรมจิตอาสาพัฒนาสุ ขภาพ
 การจัดกิจกรรมพิเศษชวยเหลือผูบ้ กพรองทางสุ ขภาพ
สุ ขภาพ
พฤติกรรมสุ ขภาพ
ที่มา: สุชาติ โสมประยูร, 2553: 43
แผนภูมภิ าพ แสดงประเภทของกิจกรรมและความมุ่งหมายของโปรแกรมสุ ขศึกษาในโรงเรียน
ทุกกิจกรรมมีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกัน
ทุกกิจกรรมมีจุดมุงหมายเดียวกันคือ ทุกคนในโรงเรี ยนมีพฤติกรรมสุ ขภาพที่พึงประสงค์ท้ งั
ทางด้านความรู้ ทัศนคติและการปฏิบัติ เพื่อให้มีสุขภาพดีท้ งั ทางรางกาย จิตใจ และสังคม
ร ูปแบบกิจกรรมส ุขศึกษา
ในการสร้างเสริมพฤติกรรมส ุขภาพ
ตามส ุขบัญญัติแห่งชาติ
กิจกรรมสร้ างเสริมพฤติกรรมสุขภาพ
ตามสุขบัญญัตแิ ห่ งชาติในโรงเรี ยน
กิจกรรมตามหลักสูตร
กิจกรรมเสริมหลักสูตร
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ตามหลักสู ตรการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
สอดแทรกเนื ้อหาสุขบัญญัตแิ ห่งชาติ 10 ประการ ในการเรี ยนการ
สอนปกติของกลุม่ สาระการเรี ยนรู้สขุ ศึกษาและพลศึกษาทัง้ 5 สาระ
ดังนี ้
สาระที่ 1 การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์
ข้ อ1 ดูแลรักษาร่างกายและของใช้ ให้ สะอาด
สาระที่ 2 ชีวิตและครอบครัว
ข้ อ 6 สร้ างความสัมพันธ์ในครอบครัวให้ อบอุน่
สาระที่ 3 การเคลื่อนไหว การออกกาลังกาย การเล่ นเกม กีฬาไทยและกีฬาสากล
ข้ อ 8 ออกกาลังกายสม่าเสมอ และตรวจสุขภาพประจาปี
สาระที่ 4 การสร้ างเสริมสุขภาพ สมรรถภาพและการป้องกันโรค
ข้ อ 2 รักษาฟั นให้ แข็งแรงและแปรงฟั นทุกวันอย่างถูกต้ อง
ข้ อ 3 ล้ างมือให้ สะอาดก่อนกินอาหารและหลังการขับถ่าย
ข้ อ 4 กินอาหารสุก สะอาด ปราศจากสารอันตราย และหลีกเลี่ยงอาหารรสจัดสีฉดู ฉาด
ข้ อ 9 ทาจิตใจให้ ร่าเริงแจ่มใสอยูเ่ สมอ และข้ อ 10 มีสานึกต่อส่วนรวม ร่วมสร้ างสรรค์สงั คม
สาระที่ 5 ความปลอดภัยในชีวติ
ข้ อ 5 งดบุหรี่ สุรา สารเสพติด การพนัน และการสาส่อนทางเพศ
ข้ อ 7 คือ ป้องกันอุบตั ิภยั ด้ วยการไม่ประมาท
กิจกรรมการเรียนรใ้ ู นห้องเรียน
• การบรรยาย
• การแสดงบทบาทสมมุติ
• การสาธิต
 การสารวจ
 การแบ่งกลุม
่
เน้ นให้ ผ้ ูเรียน
 การศึกษาด้ วยตนเอง
มีส่วนร่ วมมากที่สุด
 ฯลฯ
เทคนิคการสอนสุ ขศึกษา
เทคนิคในการสอนสุขศึกษาที่สาคัญจะเน้ น
ตัวผู้เรี ยนเป็ นสาคัญ ดังนี ้
ผู้เรียนเป็ นศูนย์ กลาง
ผู้เรียนมีส่วนร่ วมมากที่สุด
ผู้เรียนค้ นพบด้ วยตนเอง
วิธีการสอนสุ ขศึกษา
เพือ่ การมีพฤติกรรมสุ ขภาพทีด่ ี
การพูดคุยหรือสนทนา
การบรรยาย
การสอนแบบสื บสวน
การเล่าประสบการณ์
การแสดงบทบาทสมมติ
การสาธิต
การเขียนโครงการ
การใช้ วธิ ีการแก้ปัญหา
การใช้ เกม
การซักถามหรือการให้ ต้งั คาถาม
การใช้ กระบวนการตัดสิ นใจ
การสอนที่ใช้ พนื้ ฐานการวิจัย
การใช้ ทกั ษะชีวติ
การใช้ LOVE MODEL
การอภิปราย
การฝึ กปฏิบัติ
การใช้ อุปกรณ์ หรือสื่ อต่ างๆ
การโต้ วาที
การสอนแบบการเรียนรู้ ด้วยตนเอง
การใช้ แบบประเมินหรือแบบสอบถาม
การใช้ เทคนิค “ทาไม” (Why Technique)
ตัวอย่ างการสอนสุ ขศึกษา
ด้ วยวิธีต่างๆ
การใช้ เทคนิคการตัดสิ นใจและแก้ ปัญหา
สามารถใช้ เทคนิค 3Cs ดังนี ้
Clarify กาหนดปั ญหาหรื อสิง่ ที่จะต้ องตัดสินใจให้ ชดั เจน
Consider พิจารณาทางเลือกหลายๆทางและคาดเดาผลที่จะเกิดขึ ้น
Choose เลือกทางเลือกที่ดีที่สดุ
ทังนี
้ ้ผู้สอนสุขศึกษาจะให้ สถานการณ์แล้ วให้ ผ้ เู รี ยนคิดตัดสินใจ
สถานการณ์ : .............................................
ปั ญหา : ……………………………………………….
ทางเลือกที่เป็ นไปได้
ผลที่คาดว่ าจะเกิดขึน้
1..................................
1..................................
2.................................
2.................................
3.................................
3..................................
การตัดสินใจของฉัน
..............................................................................................
การใช้ เทคนิค “ทาไม” (Why Technique)
“Why of Why” Method
1. กาหนดสถานการณ์/ข้ อเท็จจริ ง/เหตุการณ์
2. ใช้ คาถาม “ทาไม”
3. ยอมรับ “คาตอบ”
4. เริ่ มถามต่อ “ทาไมจึงเป็ นเช่นนัน”
้
เรื่ อยๆ ไป..........จนไม่มีคาตอบ
หรื อ หวนกลับมาที่จดุ เดิมใหม่
Full Knowledge
Zero Knowledge
การใช้ เทคนิค “การฝึ กทักษะการต่ อรอง”
วิธีต่อรอง
1. ให้ ข้อเสนอที่จะเกิดผลดีทงสองฝ่
ั้
าย
2. บอกปั ญหาและข้ อที่วิตกกังวล
3. ถามความรู้สกึ ของคูต่ อ่ รอง
4. บอกข้ อเสนอที่เกิดผลดีกบั คูต่ อ่ รอง
5. บอกข้ อเสนอที่จะเกิดผลเสียต่อผู้ใหญ่ที่เคารพรัก
6. รี บสรุปหาทางเลือกตัดสินใจ
หมายเหตุ :
1. การต่อรองเป็ นทักษะที่จาเป็ นที่ต้องฝึ กปฏิบตั ิ
2. หากการต่อรองมีท่าว่าจะไม่สาเร็ จ ให้ พยายามรี บหาทาง
ออกจากเหตุการณ์ที่เสี่ยงนัน้ หรื อร้ องขอความช่วยเหลือ
โดยเร็ วที่สดุ
3. การมีสติ เป็ นเรื่ องที่สาคัญ ขณะเผชิญปั ญหาต่างๆ
4. ข้ อที่สาคัญที่สดุ คือ พยายามหลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยง ไม่
ควรประมาท หรื ออยากลอง
ตัวอย่ างการใช้ คาพูดเรื่อง “การต่ อรอง”
(กรณีเสี่ ยงต่ อการมีเพศสั มพันธ์ )
•
•
•
•
•
คุณเป็ นคนดี และฉันแคร์ คณ
ุ ขอร้ องเถอะอย่าเพิ่งทาเลย
เราทาอะไรเกินเลยไปมากแล้ วนะ
ฉันไม่คดิ ว่าคุณจะทานะ
อย่าทาให้ ฉนั ต้ องรู้สกึ ผิดเลย
...................
 ฉันขอทาใจก่อนได้ ไหม
 ฉันรู้ สก
ึ ไม่คอ่ ยสบาย ปวดท้ องมาก
 คุณไม่ได้ รักฉันจริ ง ไม่ให้ เกียรติฉน
ั เลย
 ...........
การใช้ เทคนิค “การฝึ กทักษะปฏิเสธ”
วิธีการปฏิเสธ
1. แสดงความรู้สกึ ที่แน่ชดั ของตัวเองถึงการไม่ยอมรับใน
สิง่ ที่ถกู นาเสนอ
2. แสดงเหตุผลของการปฏิเสธและความรู้สกึ อย่างชัดเจน
ที่จะไม่ปฏิบตั ติ าม
3. ปฏิเสธอย่างจริ งจังทังค
้ าพูด น ้าเสียงและท่าทาง
4. ใช้ สายตาโดยจ้ องมองไปที่ตาของอีกฝ่ ายหนึง่
5. ขอฟั งความคิดเห็นของฝ่ ายชักชวน
6. แสดงความขอบคุณเมื่อผู้ชวนยอมรับ (ช่วยรักษาน ้าใจของผู้ชวน)
7. ใช้ การต่อรอง การยืดเวลา หรื อหากิจกรรมอื่นมาทดแทน
8. ตังสติ
้ ให้ มนั่ ไม่ควรหวัน่ ไหวกับคาพูด ควรยืนยันโดยปฏิเสธซ ้า
และหาทางเลี่ยงจากเหตุการณ์ไปโดยเร็ วที่สดุ
ตัวอย่ างคาพูดเพือ่ “การปฏิเสธ”
•
•
•
•
•
•
ฉันเสียใจ ฉันไม่ต้องการ
อย่านะ ฉันจะตะโกนให้ ลนั่ เลย
ฉันไม่ต้องการ ฉันยังไม่พร้ อม
...........
...........
............
การใช้ เทคนิค “การฝึ กทักษะทางอารมณ์ ”
วิธีการ
1. ปล่อยใจให้ วา่ ง เพื่อยอมรับกับอารมณ์หรื อความรู้สกึ ต่างๆ
2. ยอมรับความรู้สกึ หรื ออารมณ์ที่เกิดขึ ้นด้ วยความเข้ าใจ
3. พยายามผ่อนคลายกล้ ามเนื ้อ
4. แยกแยะความรู้สกึ ที่ไม่ดีหรื อทางลบออก แล้ วคิดในเชิงบวกหรื อ
ในทางสร้ างสรรค์ (หยุด คิดในทางไม่ดี)
5. สูดลมหายในลึกๆยาวๆ
6. นับ 1 – 10 หรื อนับไปเรื่ อยๆอย่างช้ าๆ
7. พยายามหาทางออกหรื อทางแก้ ไข
การใช้ เทคนิค “สั ญญา”
การใช้ แบบประเมินหรือแบบสอบถาม
แบบประเมินพฤติกรรมสุขภาพ
กรุ ณาใส่เครื่ องหมาย X ลงในช่องท้ ายข้ อความแต่ละข้ อตามความ
เป็ นจริ งเกี่ยวกับพฤติกรรมสุขภาพของนักเรี ยน
การแปลผล
เมื่อรวมคะแนนทั้งหมดแล้ว
• ผูม้ ด้คะแนน 30-60 คะแนน
แสดงวา พฤติกรรมสุ ขภาพดี
รับผิดชอบตอพฤติกรรมสุ ขภาพ
ที่ดี
• ผูม้ ด้คะแนน 15-29 คะแนน
แสดงวา พฤติกรรมสุ ขภาพ
พอใช้ (ระดับปานกลาง)
• ผูม้ ด้คะแนน 0-14 คะแนน แสดง
วา พฤติกรรมสุ ขภาพมมดี แย
ขาดความรับผิดชอบเกี่ยวกับ
พฤติกรรม
สุ ชาติ โสมประยูรและเอมอัชฌา วัฒนบุรานนท์ . การสอนสุ ขศึกษา.กรุ งเทพฯ : สุ ขภาพใจ,2542.
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
เสริมหลักสู ตร
1. การเฝ้ าระวังพฤติกรรมสุ ขภาพนักเรียน
2. การจัดการเรียนการสอน เรื่องสุ ขบัญญัติ 10 ประการ
หรือการเรียนเน้ นเฉพาะประเด็นแต่ ละเรื่องของสุ ขบัญญัติแห่ งชาติ
เป็ นวิชาเสริมในชั่วโมงเรียนพิเศษ หรือชั่วโมงกิจกรรมของโรงเรียน
การเล่านิทาน
การแสดงละครใบ้
การสาธิต
เกมส์สขุ บัญญัติ
การจัดกิจกรรมประกวดต่างๆ
3. การเผยแพรความรู ้ผานสื่ อในโรงเรี ยน
การจัดทาเว็บไซต์สขุ ภาพ
ของโรงเรี ยน
การจัดมุมความรู้/ศูนย์สื่อสุขภาพ
การจัดรายการ สารคดี เพลงสุขบัญญัติ
ทางหอกระจายข่าว/เสียงตามสายในโรงเรี ยน
การจัดบอร์ ดนิทรรศการ
/ป้ายประชาสัมพันธ์
4. การจัดกิจกรรมรณรงค์เนื่องในวันสุ ขบัญญัติแหงชาติ “ 28 พฤษภาคม”
สาธิตการล้ างมือ
กิจกรรมประกวดต่างๆ
นิทรรศการให้ ความรู้
การตรวจสุขภาพ
กิจกรรมนันทนาการ/เกมส์
5. การสร้ างแกนนาสุ ขบัญญัติ หรือชมรมสุ ขบัญญัติ
6. การจัดสภาพแวดล้อมของโรงเรียนให้ เอือ้ อานวย
ต่ อพฤติกรรมสุ ขภาพตามสุ ขบัญญัติ
ป้ายกฎจราจร
ถังขยะ
สถานที่ออกกาลังกาย
สถานที่แปรงฟั น
อ่างล้ างมือและอุปกรณ์การล้ างมือ
7. การเผยแพร่ สุขบัญญัติไปสู่ ผู้ปกครองและชุ มชน
8. การประเมินผลกิจกรรม
การทดสอบความรู้
การสังเกตพฤติกรรม
การตอบแบบสอบถาม
แบบประเมินพฤติกรรมสุขภาพ
บทสรุป
การสุ ขศึกษาในโรงเรียน
เน้ น “โปรแกรมสุ ขภาพในโรงเรียน
(School Health Program)”
สิ่ งแวดล้อมทางสุ ขภาพ
กิจกรรมพัฒนาพฤติกรรมสุ ขภาพ
ตามสุ ขบัญญัติแห่ งชาติ
กิจกรรมตามหลักสู ตร
การบริการสุ ขภาพ
การเรียนการสอนสุ ขศึกษา
กิจกรรมเสริมหลักสู ตร
ตัวอย่ างกิจกรรมการเรี ยนรู้
เพื่อพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
ตามสุขบัญญัติแห่ งชาติ
พฤติกรรมตามสุ ขบัญญัติ
ข้ อ 1 ดูแลรักษาร่ างกายและของใช้ ให้ สะอาด
ประกวดแต่งกายสะอาดปราศจากโรค
 ประกวดผู้มีสข
ุ ภาพดี
 ตรวจสุขภาพในห้ องเรี ยน  ทากิจกรรมจากใบงาน
 จับคูต่ รวจสุขภาพ
 ค้ นคว้ ารายงานในห้ องสมุด
 ตรวจสุขภาพ 10 ท่าทุกเช้ า
 เกมส์/คาขวัญ/คากลอน
กิจกรรมการเรี ยนรู้

พฤติกรรมตามสุ ขบัญญัติ
ข้ อ 2 รักษาฟันให้ แข็งแรงและแปรงฟันทุกวันอย่ างถูกต้ อง
•
•
•
•
•
•
•
จัดสัปดาห์ฟันแข็งแรง
กิจกรรมการเรียนรู้
สาธิตการแปรงฟั นที่ถกู วิธี
ใช้ เม็ดสีทดสอบความสะอาดของฟั น
ประกวดหนูน้อยฟั นดี
จับคูต่ รวจฟั น
เรี ยงความ/คาขวัญ/นิทานการ์ ตนู
ทารายงานอาหารที่เหมาะสมกับฟั น
พฤติกรรมตามสุ ขบัญญัติ
ข้ อ 3 ล้ างมือให้ สะอาดก่ อนกินอาหารและหลังการขับถ่ าย
กิจกรรม
การเรียนรู้
• สาธิตการล้ างมือ 7 ขันตอนประกอบเพลง
้
• ทาสติกเกอร์ /โปสเตอร์ ติดในห้ อง
• ใช้ เจลทดสอบความสะอาดของมือ
• จัดอ่างล้ างมือพร้ อมสบูก่ ่อนเข้ าโรงอาหาร
พฤติกรรมตามสุ ขบัญญัติ
ข้ อ 4 กินอาหารสุ ก สะอาด ปราศจากสารอันตราย
และหลีกเลีย่ งอาหารรสจัดสี ฉูดฉาด
•
•
•
•
•
กิจกรรมการเรียนรู้
ศึกษาอาหารหลัก 5 หมู่ (Model อาหาร)
ฝึ กสาธิตการประกอบอาหารที่ถกู หลักโภชนาการ
เรี ยงความ
กิจกรรม อย.น้ อย
ฐานการเรี ยนรู้เรื่ องอาหาร 5 หมู่ (Walk Rally)
พฤติกรรมตามสุ ขบัญญัติ
ข้ อ 5 งดบุหรี่ สุ รา สารเสพติด การพนัน และการสาส่ อนทางเพศ

กิจกรรมการเรียนรู้


•
•
•
•
•
จัดมุมเพื่อนใจวัยรุ่น
เสวนา/สนทนากับคนในชุมชน
โครงการ To Be Number 1
สืบค้ นข้ อมูลจากอินเตอร์ เน็ต,ห้ องสมุด
เล่าเรื่ องสันเกี
้ ่ยวกับยาเสพติดในชุมชน
แสดงบทบาทสมมุติ
นักข่าว Junior
แต่งเพลง/คาขวัญ
พฤติกรรมตามสุ ขบัญญัติ
ข้ อ 6 สร้ างความสั มพันธ์ ในครอบครัวให้ อบอุ่น
กิจกรรม
การเรียนรู้
•
•
•
•
•
•
วาดภาพกิจกรรมที่ทาร่วมกับครอบครัว
เล่าเรื่ องครอบครัว
ทักษะชีวิตในการเข้ าใจครอบครัว
มุมเพื่อนใจวัยรุ่น
กิจกรรมสานใยรักในครอบครัว
โครงการเยี่ยมบ้ าน
พฤติกรรมตามสุ ขบัญญัติ
ข้ อ 7 ป้องกันอุบัติภัยด้ วยการไม่ ประมาท
กิจกรรมการเรี ยนรู้
•
•
•
•
จัดวิทยากรจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้ องมาบรรยาย
ค้ นคว้ าสถิติการเกิดอุบตั ิเหตุ
กิจกรรม 5 ส
ให้ นกั เรี ยนเฝ้าระวังสภาพแวดล้ อมในบริ เวณโรงเรี ยน
พฤติกรรมตามสุ ขบัญญัติ
ข้ อ 8 ออกกาลังกายสมา่ เสมอและตรวจสุ ขภาพประจาปี
กิจกรรมการเรียนรู้
• ประเมินสมรรถภาพทางกาย ปี ละ 1 ครัง้
• จัดชมรมกีฬา/ชมรมออกกาลังกาย
• กิจกรรม “ยางยืดชีวิต”
• จัดกีฬาภายใน
พฤติกรรมตามสุ ขบัญญัติ
ข้ อ 9 ทาจิตใจให้ ร่าเริงแจ่ มใสอยู่เสมอ
•
•
•
•
•
•
ประกวดการหัวเราะ
กิจกรรมการเรียนรู้
นัง่ สมาธิ
เชิญวิทยากรบรรยายเกี่ยวกับสุขภาพจิต
คูห่ ปู รึกษาสุขภาพ
วิเคราะห์ขา่ วฆ่าตัวตาย/ทาร้ ายตนเอง
กิจกรรมสังคมมิติในห้ อง
พฤติกรรมตามสุ ขบัญญัติ
ข้ อ 10 มีสานึกต่ อส่ วนรวม ร่ วมสร้ างสรรค์ สังคม
•
•
•
•
•
กิจกรรมการเรียนรู้
บันทึกความดี
แผนที่คนดี
เล่าเรื่ องคนดีในชุมชน
ประดิษฐ์ วสั ดุเหลือใช้
เรี ยงความชุมชนในฝั น/ช่วยเหลือสังคม
ตัวอย่ างกิจกรรมเสริมหลักสู ตร
(โครงการเด็ก กทม.ลดพุงมุ่งสู่ สุขภาพ)
กิจกรรมการทดสอบสมรรถภาพทางกาย
สอบถามเพิม่ เติมได้ ที่
รศ.ดร.เอมอัชฌา วัฒนบุรานนท์
ภาควิชาหลักสูตรและการสอน คณะครุ ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ถนนพญามท เขตปทุมวัน กรุ งเทพฯ 10330
โทรศัพท์…02-218-2625....โทรสาร....02-218-2625.....
E-mail…[email protected]/[email protected]
จีรนันท์ แก้วมา
[email protected]