ENL 3701 ภาษาศาสตร์และการอ่าน 1 Li

Download Report

Transcript ENL 3701 ภาษาศาสตร์และการอ่าน 1 Li

ENL 3701 ภาษาศาสตร ์และการอ่าน
1
Linguistics and Reading English 1
หัวข ้อการบรรยาย ภาคเรียนที่
1/2556
ั ดาห์ 1/56
หัวข ้อการบรรยายในสป
ั ดาห์
• 1. ปฐมนิเทศการเรียน การสอนในสป
แรก
• 2. จุดประสงค์ของการเรียนในหน่วยที่ 1
• 3. เค ้าโครงเรือ
่ งและเนือ
้ หาในหน่วยที่ 1
ั ดาห์
• 4. กิจกรรมการเรียน การสอนในสป
แรก
• 5. การแบ่งกลุม
่ อภิปรายและประเด็น
ปั ญหาในการอภิปราย
ปฐมนิเทศการเรียนการสอนใน
ั ดาห์แรก
สป
• 1. นักศึกษาสารวจเอกสารกาหนดการเรียนการสอน
ในภาคเรียนนี ้
่
•
เพือทราบวั
น-เวลาการเข ้าฟังการบรรยายในชน้ั
้ั ยน ตึกเรียน และหัวข ้อทีจะต
่ ้องเตรียมก่อนมา
ชนเรี
มาฟังการบรรยายในแต่ละสัปดาห ์
่
้ประกอบการเรียน
• 2. นักศึกษาสารวจตาราทีจะใช
เรียนการสอนในวิชานี ้
• 3. นักศึกษาทราบกาหนดการงดบรรยายใน
่
ระหว่างการสอบซ่อม (ทัวไป)และก
าหนดการสอบไล่
สอบไล่ปลายภาคเรียนสาหร ับวิชานี ้
เค ้าโครงเรือ
่ งการบรรยาย/อภิปราย
•
•
•
•
ภาษาศาสตร์คอ
ื อะไร
1. ความหมายของภาษา
2. ความหมายของภาษาศาสตร์
3. ประวัตค
ิ วามเป็ นมาของวิชา
ภาษาศาสตร์
4. การแบ่งขอบข่ายของวิชา
จุดประสงค์ (Objectives)ของการ
เรียน
• 1. อธิบายความหมายของคาว่า “ภาษา”
ได ้ถูกต ้อง
• 2. อธิบายความหมายของคาว่า
“ภาษาศาสตร ์” ได ้ถูกต ้อง
• 3. ลาดับประวัตค
ิ วามเป็ นมาของวิชา
ภาษาศาสตร ์โดยสังเขปได ้ชดั เจน
• 4. จาแนกการแบ่งขอบข่ายของวิชา
ภาษาศาสตร ์ได ้ครบถ ้วน
ั ดาห์
กิจกรรมการเรียน การสอนในสป
แรก
• 1. การบรรยาย การกาหนดประเด็นเนือ
้ หา การ
อภิปราย และการตอบคาถาม
ั ดาห์แรกจะครอบคลุมเนือ
• 2. สป
้ หา ๒ เรือ
่ ง คือ
•
2.1 ความหมายของภาษา
•
2.2 ความหมายของภาษาศาสตร์
• 3. การเตรียมเนือ
้ หาและการอ่านเพือ
่ การเรียนใน
ั ดาห์ทส
สป
ี่ อง
•
3.1 ประวัตค
ิ วามเป็ นมาของวิชา
ภาษาศาสตร์
•
3.2 การแบ่งขอบข่ายของวิชา
เนือ
้ หา “ความหมายของภาษา”
• เอกสารตารา ENL 3701 หน ้า 4 – 8
• คาถามทีใ่ ห ้ชว่ ยกันตอบ
• 1.1 “ ภาษา” ตามความเห็นของนักภาษาศาสตร์
มีลักษณะอย่างไร
ึ ษาเนือ
• การแบ่งกลุม
่ ศก
้ หา และประเด็นปั ญหา
และการอภิปราย
• 1. ภาษาเป็ นเรือ
่ งของมนุษย์ (Language is
human)
• ประเด็นปั ญหา
• 1.1 เพราะเหตุใดภาษาจึงเป็ นเรือ
่ งของมนุษย์
ภาษาทีแ
่ ท ้จริงคือภาษาพูด
(Language is primarily oral)
• 1.2 ภาษามีหลายชนิ ด เช่น ภาษาพูด
(Spoken ,Oral language)ภาษาเขียน
(Written language) วจนภาษา (Verbal
language) ภาษากายหรือภาษาท่าทาง
(อวัจนภาษา Non-verbal language)
ทาไมนักภาษาศาสตร ์จึงให ้ความสาคัญ
ความสาคัญ หรือเน้นเฉพาะภาษาพูด
ภาษาถ่ายทอดวัฒนธรรม
Language is culturally transmitted
2.1 ภาษากับวัฒนธรรมเหมือนกันหรื
แตกต่างกัน
2.2 ภาษาถ่ายทอดวัฒนธรรมได ้
อย่างไร
ภาษาเป็ นสงิ่ ทีก
่ าหนดขึน
้ และมีระบบ
Language is arbitrary and systematic
้ ้อย่างไร คาว่ามีระบบหมายถึง
• 3.1 ภาษาเกิดขึนได
อย่างไร
ั (Languge is habit)
ภาษาคือนิสย
4.1 ทีว่่ า “ภาษาคือนิ สยั ” มี
ความหมายว่าอย่างไร
้
4.2 มนุ ษย ์เรียนรู ้ภาษาได ้ตังแต่
ภาษาเป็ นเรือ
่ งเฉพาะตัว (Language is
personal)
่
5.1 ภาษาเป็ นเรืองเฉพาะตั
ว มี
ลักษณะอย่างไร
่ นเรืองเปิ
่
5.2 ภาษาทีเป็
ดเผยสู่
สาธารณะ เป็ นอย่างไร
ภาษาของแต่ละกลุม
่ ไม่มด
ี ห
ี รือเลว
ไม่มถ
ี ก
ู หรือผิด
• Language of a given group is neither “good” or
“bad” nor “right” or “wrong.”
• 6.1 ทาไมจึงกาหนดว่าภาษาของคนในแต่ละกลุม
่ ไม่มี
ดี หรือ เลว ถูก หรือ ผิด
้
ภาษาจะมีการเปลีย
่ นแปลงไปอย่างชาๆ
(Language is always changed slowly)
่
• 7.1 การเปลียนแปลงของภาษาในแต่
่
ละท ้องถินหรื
อชุมชนจะเป็ นไปใน
่
ลักษณะใด ยกตัวอย่างคาพูดทีเราเคย
่ 5 – 10 ปี ก่อน ขณะนี ยั
้ ง
เคยได ้ยินเมือ
ยังมีอยูห
่ รือหายไปแล ้ว
2.ความหมายของ “ภาษาศาสตร ์”
• ภาษาศาสตร์มค
ี วามหมายเป็ น ๒ นัย
ึ ษาธรรมชาติและโครงสร ้างของภาษา
• 1. การศก
ภาษาหนึง่ และภาษาโดยทั่วไป
ึ ษาธรรมชาติของการสอ
ื่ สารด ้วยภาษา
• 2. การศก
• แนวทางการอภิปราย
• 1.1 ธรรมชาติและโครงสร ้างของแต่ละภาษาเป็ น
่ ภาษาไทย
อย่างไร ยกตัวอย่างเชน
ภาษาอังกฤษ ภาษาเวียดนาม ฯลฯ
• 1.2 ภาษาโดยทั่วไป (ภาษาสากล Language
ธรรมชาติและโครงสร ้างของภาษา
โครงสร ้าง
ี ง
เสย
ไวยากรณ์
ความหมาย
ื
ตัวหนั งสอ
ภาษาไทย
ภาษาอ ังกฤษ
ภาษาเวียดนาม
ภาษาสากล
Tonal
Language
-การเรียงคาพูด
-ไม่มก
ี ารผัน
คากริยาตาม
กาล
-มีคาบอก
จานวน
ื
-มีตวั หนั งสอ
-Non-tonal
-Word stress
-Intonation
-Verb form
changed from
time aspects
-Lineal forms
Tonal Language
-S V O
- V O, S
+
SVO
-VO
-Content
-Functional
-no script
้
ื่ สาร
ตัวอย่างการใชภาษาเพื
อ
่ การสอ
•
ภาษาไทย
ภาษาเวียดนาม
• สบายดีไหม
khong
• ฉั นไม่สบาย
om
• ของฉั นหาย
do
• ลาก่อน
ภาษาอังกฤษ
How are you? Ban co khoe
I am sick.
Toi bi
I lost something.
Bi mat
Goodbye
Tam
3.การศึกษาวิชา “ภาษาศาสตร ์”
• วิชาภาษาศาสตร์ (Linguistics)
• นักภาษาศาสตร์ (Linguists)
• คาถามทีใ่ ห ้ชว่ ยกันตอบ
• 1. ภาษาศาสตร์เป็ นวิชาว่าด ้วย
ึ ษา
• 2. นักภาษาศาสตร์มวี ธิ ก
ี ารศก
ภาษาอย่างไร