การนำเ - ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา

Download Report

Transcript การนำเ - ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา

การศึกษานอกระบบ
(Informal Education)
สถาพร สาธุการ
สรกฤช มณีวรรณ
สุรพล บุญลือ
การศึกษานอกระบบ (Informal Education)
เป นกิจกรรมทางการศึกษาทุกรูปแบบที่จดั ให บริการแก
ประชาชน
อาจจะเป นเด็กก อนวัยเรี ยน เด็กในวัยเรี ยนซึง่ ได ศึกษาในโรงเรี ยน
ระดับหนึง่ แต ไม มีโอกาสได ศึกษาต อ หรื ออาจจะเป นผู ใหญ
วัยทํางาน หรื อผู สูงอายุซงึ่ พลาดโอกาส การศึกษาดังกล าวนี ้จัดให
ประชาชนทุกเพศ ทุกวัย ไม มีการจัดพื ้นฐานการศึกษา อาชีพ ประสบกา
รณ หรื อความสนใจ มีจดุ มุ งหมายที่จะให ผู เรี ยนได รับ
1. ความรู ทังในด
้
านที่จะเป นพื ้นฐานแก การดํารงชีวิต การอ าน
การเขียน การคิดคํานวณเบื ้องต น
2.ความรู ทางด านทักษะการประกอบอาชีพ ตลอดจนความรู และข
าวสารข อมูลที่เป นป จจุบนั ในด านต าง ๆ เพื่อเป นพื ้นฐานใน
การดํารงชีวิต
การศึกษานอกระบบ
กลุ มเป าหมายที่เน นในช วงแรกคือผู ใหญ ต อมา
ในหลายประเทศพบ ว าการศึกษาที่จดั ให แก เด็กในวัยเรี ยนและก
อนวัยเรี ยนหรื อการศึกษาในระบบโรงเรี ยนยังไม สามารถจัดได
ครอบคลุมทัว่ ถึงและมีคณ
ุ ภาพเพียงพอ
การศึกษาผู ใหญ จะต องเข าไปช วยเสริมเติมเต็มด
วยต องช วยจัดการศึกษาให แก ผู ที่อยู ในวัยเรี ยนแต ละ
ระบบไม มีโอกาสได เข าเรี ยนในระบบโรงเรี ยนหรื อเข าเรี ยนแต ต
องออกกลางคันด วยเหตุผลและความจําเป นต าง ๆ นอกจากนัน้
ยังช วยจัดการศึกษาให แก เด็กก อนวัยเรี ยนในพื ้นที่ที่ไม มี
สถานศึกษาด วย ด วยเหตุนี ้การศึกษาผู ใหญ ในหลายประเทศจึง
เปลี่ยนชื่อมาเป นการศึกษานอกระบบเพราะกลุ มเป าหมายมิได มี
เพียงผู ใหญ เหมือนสมัยเริ่มแรกแล วแต จะให การศึกษาแก กลุ
มอื่นๆ เพื่อเสริมเติมเต็มและต อเนื่องจากการศึกษาในระบบโรงเรี ยนด
ปรัชญาของการศึกษานอกระบบ
จากการวิเคราะห ถึงปรัชญาที่นํามาเป นแนวทางในการจัด
การศึกษานอกระบบทังประเทศไทยและประเทศอื
้
่น ๆ พบว าการศึกษา
นอกระบบได ใช หลายปรัชญาผสมผสานกันโดยมีปรัชญาหรื อหลักการ
ของการศึกษาตลอดชีวิตเป นปรัชญาหลักและปรัชญาอื่นที่เกี่ยวข อง ได
แก
1.ปรัชญาในกลุ มพิพฒ
ั นาการนิยมซึง่ เน นการพัฒนาคุณภาพ
ชีวิต
การพัฒนาสังคม
2.ปรัชญาในกลุ มมนุษย นิยมซึง่ เน นความแตกต างระหว
างบุคคล
3.ปรัชญาในกลุ มปฏิรูปนิยมซึง่ เน นการศึกษาเพื่อแก ป
ญหาการเปลี่ยนแปลงเชิงปฏิรูปและปรัชญาในกลุ มอุตถิภาวะนิยมซึง่ เน
นการรู จักตนเอง การพึง่ พาตนเอง
หลักการของการศึกษานอกระบบ
จากการประยุ ก ต ใช ปรั ช ญาต าง ๆ ผสมผสานกั น โดยยึ ด
ปรัชญาการศึกษาตลอดชีวิตเป นหลักการจัดการศึกษานอกระบบ มีหลักการ
สําคัญดัง
ต อไปนี ้ คือ
1. เน นความเสมอภาคในโอกาสทางการศึกษาการกระจายโอกาส
ทางการศึกษาให ครอบคลุมทัว่ ถึง
2.ส งเสริมการจัดการศึกษาอย างต อเนื่องตลอดชีวิต มีความยืด
หยุ นในเรื่ องกฎเกณฑ ระเบียบต าง ๆ
3.จัดการศึกษาให สนองความต องการของกลุ มเป าหมายให
เรี ยนรู ในสิง่ ที่สมั พันธ กับชีวิต
4.จัดการศึกษาหลากหลายรู ปแบบคํานึงถึงความแตกต างระหว
างบุคคล ผู สอนมิได จํากัดเฉพาะครู อาจจะเป นผู รู ผู เชี่ยวชาญ
จากหน วยงานหรื อจากท องถิ่น
แผนภูมิแสดง ช วงอายุของบุคคลและ
ประเภทของการศึกษาที่พงึ ได รับ
การเทียบโอนผลการเรียนเพื่อส่ งเสริมการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้ มี
การเรียนรู้ตลอดชีวิต
นางสาวจิรณี ตันติรัตนวงศ์ นักศึกษา วปอ. รุ่นที่ 43
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 15 กําหนดให้
การศึกษามี 3 รูปแบบ คือ การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และ
การศึกษาตามอัธยาศัย การศึกษา ทัง้ 3 รูปแบบนี ้ ให้ ผ้ เู รี ยนสามารถนําผล
การเรี ยนที่สะสมไว้ มาเทียบโอนผลการเรี ยนในระหว่างรูปแบบเดียวกัน หรื อ
ต่างรูปแบบได้ ไม่วา่ จะเป็ นผลการเรี ยนจากสถานศึกษาเดียวกันหรื อไม่ก็ตาม
รวมทัง้ จากการเรี ยนรู้นอกระบบ ตามอัธยาศัย การฝึ กอาชีพ หรื อจาก
ประสบการณ์การทํางาน การเทียบโอน ผลการเรี ยนโดยเฉพาะการเทียบโอน
การเรี ยนรู้นอกระบบ
ศูนย์ เทคโนโลยีการศึกษา กรมการศึกษานอกโรงเรียน
• บริการสื่อการศึกษาให้ แก่ หน่ วยงานและสถานศึกษา
• จัดเผยแพร่ ออกอากาศรายการวิทยุกระจายเสียง
และรายการโทรทัศน์ เพื่อการศึกษา
นวัตกรรมที่ใช้ ในศูนย์ เทคโนโลยีการศึกษา
วิทยุกระจายเสียงเพื่อการศึกษา
โทรทัศน์เพื่อการศึกษา
มัลติมีเดียเพื่อการศึกษา
Online
Offline
การเผยแพร่ นวัตกรรม
การเผยแร่ รายการวิทยุกระจายเสียง
1. สถานีวิทยุกระจายเสียง เพื่อการศึกษาสําหรับกลุม่ เป้าหมายประชาชนทัว่ ไป จัด
ออกอากาศเป็ น 2 ระบบ คือระบบ A.M. และ F.M. ครอบคลุมพื ้นที่ ทังสิ
้ ้น 25
จังหวัด
2. สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทยเพื่อการศึกษา ออกอากาศทังหมด
้
11
สถานีทวั่ ประเทศสําหรับกลุม่ เป้าหมายนักเรี ยน นักศึกษา ในพื ้นที่ชนบทสามารถรับ
ฟั งได้ ครอบคลุมทัว่ ประเทศ
การเผยแพร่ นวัตกรรม
การเผยแพร่ รายการโทรทัศน์ เพื่อการศึกษา
1. สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทยช่อง 11 ออกอากาศรายการโทรทัศน์เพื่อ
การศึกษาสัปดาห์ละ 2½ ชม. กลุม่ เป้าหมายสามารถรับชมได้ ทกุ จังหวัด
2. สถานีวิทยุโทรทัศน์เพื่อการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ออกอากาศด้ วยระบบ
DTH ใช้ ชดุ รับสัญญาณจากดาวเทียมไทยคอมโดยตรงในระบบ KU-Band มีจดุ
รับสัญญาณในพื ้นที่ทวั่ ประเทศทังสิ
้ ้น 15,100 จุด จําแนกเป็ นพื ้นที่ให้ บริการ
นักศึกษาการศึกษานอกโรงเรี ยน 6,708 จุด
สําหรับนักเรี ยนในระดับประถมศึกษา 6,922
จุด และนักเรี ยนดับมัธยมศึกษา 1,470 จุด
การเผยแพร่ นวัตกรรม
3. การเผยแพร่ด้วยระบบการกระจายสื่อการศึกษาทังวิ
้ ทยุและโทรทัศน์ NonBroadcast โดยประสานร่วมกับหน่วยงานเครื อข่ายของกรมการศึกษานอก
โรงเรี ยน จัดสําเนารายการเพื่อการศึกษาในรูปแบบวีดิทศั น์และเทปเสียงจัดส่ง
ตรงไปสูส่ ถานีปลายทาง คือ ศูนย์การเรี ยนชุมชน ซึง่ กระจายอยูท่ ุกตําบลทัว่
ประเทศประมาณ 7500 แห่ง เพื่อให้ กลุม่ เป้าหมายได้ ใช้ เป็ นสื่อประกอบ
การศึกษาด้ วยตนเอง มีชดุ การเรี ยนให้ กบั นักศึกษานอกระบบโรงเรี ยนจํานวน
20,500 ชุด ประชาชน 7,000 ชุด
การเผยแพร่ นวัตกรรม
การเผยแพร่ มัลติมีเดียเพื่อการศึกษา
1) การเผยแพร่มลั ติมีเดีย เพื่อการศึกษาในระบบโรงเรี ยนมีการสร้ างเครื อข่ายกับ
ครู-อาจารย์ในระบบโรงเรี ยนในขันตอนของการพั
้
ฒนาและใช้ เครื อข่าย โรงเรี ยน
เหล่านันเป็
้ นส่วนในสําเนา CD เผยแพร่ และมีการจัดส่งจดหมายทาง
คอมพิวเตอร์ ให้ กบั โรงเรี ยนต่าง ๆ กว่า 500 โรงเรี ยน
2) การเผยแพร่มลั ติมีเดียเพื่อการศึกษานอกระบบโรงเรี ยน เผยแพร่ผ่านเครื อข่าย
โดยศูนย์การศึกษานอกโรงเรี ยนภาคศูนย์การศึกษานอกโรงเรี ยนจังหวัด และ
ศูนย์บริการศึกษานอกโรงเรี ยน
ช่ องทางในการเผยแพร่
เครื อข่ ายการผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงเพื่อการศึกษา
มีทงหน่
ั ้ วยงานที่เป็ นภาครัฐ เช่น ศูนย์การศึกษานอกโรงเรี ยน ทบวงมหาวิทยาลัย
กระทรวงมหาดไทย กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม สถาบันส่งเสริมการสอน
วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี คณะกรรมการสิง่ แวดล้ อมแห่งชาติ เป็ นต้ น หน่วยงาน
ภาคเอกชน เช่น บริษัท มติชน จํากัด บริษัทสี่พระยาการพิมพ์จํากัด เป็ นต้ น
นอกจากนี ้แล้ วยังมีหน่วยงาน NGO และบุคคลต่าง ๆ ภูมิปัญญาท้ องถิ่น เข้ ามามี
ส่วนร่วมในการผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงเพื่อการศึกษาด้ วย ดังราย-ละเอียดใน
แผนภูมิเครื อข่ายการผลิตรายการวิทยุเพื่อการศึกษา
เครือข่ ายการผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงเพื่อการศึกษาของ
ศูนย์ เทคโนโลยีทางการศึกษา
ศูนย์ เทคโนโลยีทาง
การศึกษา
หน่ วยงานภาครัฐ เอกชน บุคคล NGO
- ร่ วมเป็ นผู้เชี่ยวชาญด้ านเนือ้ หา
- ร่ วมเป็ นวิทยากร
- ร่ วมจัดทาบทวิทยุ
ให้ ข้อมูลด้ านความต้ องการรายการ
ภูมปิ ั ญญาท้ องถิ่น
- เป็ นผู้เชี่ยวชาญด้ านเนือ้ หา
- ร่ วมเป็ นวิทยากร
ศูนย์ กศน. ภาค
ผลิตรายการ (บางส่วน)
ให้ ความอนุเคราะห์บคุ ลากร
และอุปกรณ์ในการผลิต
เครือข่ ายการผลิตรายการโทรทัศน์ เพื่อการศึกษา
มีทงหน่
ั ้ วยงานที่เป็ นภาครัฐ เช่น จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สํานักงาน
เลขาธิการรัฐสภา
โรงเรี ยนสังกัดกรมสามัญศึกษา ศูนย์การศึกษานอก
โรงเรี ยนภาคกรมส่งเสริมการเกษตร เป็ นต้ น หน่วยงานภาคเอกชน เช่น
บริษัท ไทเกอร์ กรุ๊ฟ จํากัด บริษัท โนวาอินเตอร์ แอค จํากัด บริ ษัท ช่างคิด
จํากัด เป็ นต้ น นอกจากนี ้แล้ วยังมีหน่วยงาน NGO เช่นมูลนิธิสร้ างสรรค์เด็ก
มูลนิธิเพื่อการศึกษาตลอดชีวิต เป็ นต้ น รวมทังบุ
้ คคล ภูมิปัญญาท้ องถิ่น เข้ า
มามีสว่ นร่วมในการผลิตรายการโทรทัศน์เพื่อการศึกษาอีกด้ วย ดังรายละเอียด
ในแผนภูมิเครื อข่ายการผลิตรายการโทรทัศน์เพื่อการศึกษา
เครื อข่ ายการผลิตรายการโทรทัศน์ เพื่อการศึกษา
ศูนย์ กศน. ภาค
บริษัทเอกชน
- ผลิตรายการ (บางส่วน)
-รับจ้ างผลิตรายการบางส่วน
- ให้ ความอนุเคราะห์อปุ กรณ์และ
-ให้ เช่าอุปกรณ์ในการผลิต
- ร่วมเป็ นผู้เชี่ยวชาญเนื ้อหา
ศูนย์ เทคโนโลยีทางการศึกษา
หน่ วยงานภาครัฐ เอกชน บุคคล NGO
- ให้ ความอนุเคราะห์ STOCK SHOT
ภูมปิ ั ญญาท้ องถิ่น
- ให้ ความอนุเคราะห์อปุ กรณ์และสถานที่ผลิตรายการ
-เป็ นวิทยากร
- ร่วมเป็ นผู้เชี่ยวชาญเนื ้อหา
--เป็ นผู้เชี่ยวชาญด้ านเนื ้อหา
- ร่วมเป็ นวิทยากร
- ร่วมเขียนบทโทรทัศน์
เครือข่ ายการผลิตมัลติมีเดียเพื่อการศึกษา
เครื อข่ายมีทงหน่
ั ้ วยงานที่เป็ นภาครัฐ เช่น ศูนย์
การศึกษานอกโรงเรี ยนภาค โรงเรี ยนสังกัดกรมสามัญ
ศึกษา เป็ นต้ น และบริ ษัทเอกชนเข้ ามามีสว่ นร่วมในการ
ผลิตมัลติมีเดียเพื่อการศึกษา
เครือข่ ายการผลิตมัลติมีเดียเพื่อการศึกษา
หน่ วยกศน.โรงเรียนกรมสามัญ
บ.เอกชน
-ให้ ข้อมูลการทํา Need Assessment
ศูนย์ เทคโนโลยีทาง
การศึกษา
ศูนย์ กศน. ภาค
หน่ วยงานงาน / บ. เอกชน
- พัฒนาบุคลากรด้ านผลิตมัลติมีเดีย
-รับจ้ างผลิตมัลติมีเดีย
- ผลิตมัลติมีเดีย
-ให้ เช่าอูปกรณ์การผลิต
สรุ ป ศูนย์ เทคโนโลยีการศึกษา
การบริหาร
มีทิศทางที่ยงั ไม่แน่นอน ถูกลดบทบาทลง องค์กรเล็กลง
การผลิต
ทําเอง เอกชน รัฐวิสาหกิจ NGO
การเผยแพร่ วิทยุกระจายเสียงเพื่อการศึกษา
โทรทัศน์เพื่อการศึกษา
มัลติมีเดียเพื่อการศึกษา
Online Offline
วิสัยทัศน์ (Vision)
มหาวิทยาลัยรามคําแหงมุง่ เน้ นการผลิตบัณฑิตให้
มีความรู้คคู่ ณ
ุ ธรรมมีความเป็ นผู้นําเพื่อสร้ างสรรค์
สังคมไทยให้ พฒ
ั นาอย่างยัง่ ยืนสนับสนุนการศึกษาวิจยั
เพื่อความเป็ นเลิศทางวิชาการ กระจายโอกาสความเสมอ
ภาคและความเท่าเทียมกันทางการศึกษาไปสูป่ วงชนนํา
วิชาการไปสูค่ วามเป็ นสากลเพื่อเป็ นศูนย์กลางการศึกษา
แห่งหนึ่งของโลก..
พันธกิจ (Mission)
ด้ านการจัดการศึกษา
ผลิตบัณฑิตให้ มีคณ
ุ ภาพ มีคณ
ุ ธรรมและจริยธรรม
พัฒนาหลักสูตรให้ มีความหลากหลาย มีความยืดหยุน่ และมีความ
เป็ นสากล ทังในระดั
้
บปริญญาตรี และ ระดับบัณฑิตศึกษาให้ สอดคล้ องกับ
การเปลี่ยนแปลงทางด้ านเศรษฐกิจ สังคมและความก้ าวหน้ าทางเทคโนโลยี
เร่งกระจายโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมกันในการศึกษา
ระดับอุดมศึกษาไปสูช่ มุ ชน
สนับสนุนให้ มีการจัดการศึกษาในรูปแบบของเครื อข่ายการเรี ยนรู้
และร่วมมือแลกเปลี่ยนทางวิชาการระหว่างสถาบันการศึกษา หน่วยงานอื่น
ภาครัฐและเอกชนทังในและต่
้
างประเทศ นําวิชาการไปสูค่ วามเป็ นเลิศภายใต้
ระบบการประกันคุณภาพทังภายในและภายนอก
้
เพื่อเป็ นศูนย์กลาง
การศึกษาแห่งหนึง่ ของโลก
พันธกิจ (Mission)
ด้ านการบริการวิชาการแก่ สังคม
ขยายขอบเขตและรูปแบบของการบริ การวิชาการไปสูส่ งั คม
เมืองและชนบท ให้ สามารถได้ รับประโยชน์จากการศึกษา ซึง่ จะ
นําไปสูก่ ารพัฒนาคุณภาพชีวิต การงาน และรักษาสภาพแวดล้ อม
อันเกิดจากการร่วมสร้ างและใช้ ประโยชน์จากสังคมแห่งการเรียนรู้
และสังคมสารสนเทศตลอดจนสามารถชี ้นําและเป็ นที่พงึ่ ของสังคม
ได้
พันธกิจ (Mission)
ด้ านการพัฒนาและถ่ ายทอดเทคโนโลยี
สนับสนุนการนําเทคโนโลยีสมัยใหม่มาประยุกต์และดัดแปลง
ให้ สอดคล้ องกับภูมิปัญญาท้ องถิ่นตามสภาพเศรษฐกิจและสังคมใน
ปั จจุบนั รวมทังให้
้ ความสําคัญต่อการนําเทคโนโลยีไปใช้ ประโยชน์ใน
ภาคการผลิต เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
กลยุทธ์ การพัฒนา (Strategies)
ยุทธศาสตร์ ท่ ี 1 สร้ างคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา เพื่อความเป็ นเลิศ
ทางวิชาการและนําไปสู่ ความเป็ นสากล
ยุทธศาสตร์ ท่ ี 2 กระจายโอกาส ความเสมอภาคและความเท่าเทียมกันทาง
การศึกษาไปสูป่ วงชน
ยุทธศาสตร์ ท่ ี 3 สร้ างความแข็งแกร่งทางวิชาการ มุง่ สูก่ ารเป็ นศูนย์กลาง
การศึกษาแห่งหนึง่ ของโลก
ยุทธศาสตร์ ท่ ี 4 เสริมสร้ างความมัน่ คงเข้ มแข็งแก่ชมุ ชนและท้ องถิ่น
ยุทธศาสตร์ ท่ ี 5 ปฏิรูประบบการบริหารจัดการให้ มีคณ
ุ ภาพและ
ประสิทธิภาพ
กลยุทธ์ การพัฒนา (Strategies)
ยุทธศาสตร์ ท่ ี 1 สร้ างคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา เพื่อความเป็ นเลิศทาง
วิชาการและนาไปสู่ ความเป็ นสากล
มาตรการ 1.1 จัดระบบการบริหารการศึกษาเพื่อความเป็ นเลิศทางวิชาการ โดย
ยกระดับมาตรฐานและคุณภาพการศึกษาสูค่ วามเป็ นสากล
1.1.1 สร้ างรูปแบบและวิธีการจัดการศึกษาที่หลากหลาย ทังการศึ
้
กษาใน
ระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย ให้ เป็ นการศึกษาตลอด
ชีวิต และตอบสนองความต้ องการของผู้เรี ยน โดยพัฒนาและปรับปรุงหลักเกณฑ์ การ
วัดและประเมินผลการศึกษาให้ สอดคล้ องกับรูปแบบการศึกษา
สานักเทคโนโลยีการศึกษา รายการโทรทัศน์
-ผลิตรายการสารคดีและรายการข่าวกิจกรรมต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัยเพื่อ
เผยแพร่ข่าวสารและประชาสัมพันธ์มหาวิทยาลัยให้ กบั นักศึกษาและ
ประชาชน โดยผลิตรายการออกอากาศทางสถานีวิทยุและโทรทัศน์ช่อง 11
กรมประชาสัมพันธ์และสถานีวิทยุโทรทัศน์เครื อข่ายของกรมประชาสัมพันธ์
ในส่วนภูมิภาคสังกัดศูนย์ประชาสัมพันธ์เขตทัง้ 6 เขต ออกอากาศวันเสาร์
เวลา 09.00 – 10.30 น. รายการละ 30 นาที
การผลิตรายการวิทยุ
- ผลิตรายการสารคดีและรายการข่าวกิจกรรมต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัยเพื่อ
เผยแพร่ข่าวสารและประชาสัมพันธ์มหาวิทยาลัยให้ กบั นักศึกษา อาจารย์
เจ้ าหน้ าที่ แพร่ภาพรายการออกอากาศทางโทรทัศน์ภายในของมหาวิทยา
(RU.ITV) ทุกวันจันทร์ – ศุกร์ เวลา 09.30 – 16.30 น. ช่วงสอบเวลา 8.30 –
14.30 น.
การผลิตรายการวิทยุ
- ผลิตรายวิทยุออกอากาศทางสถานีวทิ ยุกระจายเสี ยงแห่งประเทศไทย - รายการกระบวน
วิชาเพื่อการศึกษา - รายการสารคดีเพื่อบริ การสังคมและชุมชน เพื่อให้นกั ศึกษาที่ไม่สาม
รถฟังการบรรยายในชั้นเรี ยนได้ มหาวิทยาลัยจึงจัดให้มีการออกอากาศทางรายการวิทยุ
ทัว่ ประเทศ ดังนี้
-ส่ วนกลาง กรุ งเทพฯ ทางสถานีวทิ ยุกระจายเสี ยงแห่ งประเทศไทย รายการ 2 ความถี่
837 KHZ. ระบบ AM. ออกอากาศทุกวัน ภาคเช้า เวลา 06.00 – 07.00 น. และ
08.00 – 11.30 น. ยกเวันวันอาทิตย์ เวลา 08.00 – 08.30 น. ถ่ายทอดรายการ
ปาฐกถาธรรม ภาคบ่ายและค่า เวลา 14.00 – 23.00 น.
การผลิตรายการวิทยุ
-ส่ วนภูมิภาค ออกอากาศ วันจันทร์ – ศุกร์ เวลา 22.00 – 24.00 น. ทางสถานีวทิ ยุ
วปถ.กรมการทหารสื่ อสาร ส่ วนภูมิภาคจังหวัดต่าง ๆ ได้แก่ วปถ.2 เชียงใหม่ , วปถ.3
นครราชสี มา , วปถ.4 ทุ่งสง , วปถ.5 สงขลา , วปถ.6 อุบลราชธานี , วปถ.7 อุดรธานี ,
วปถ.9 นครสวรรค์, วปถ.10 เชียงราย , วปถ.12 ขอนแก่น , วปถ.14 อุตรดิตถ์ , วปถ.15
ชุมพร , วปถ.16 ยะลา , วปถ.17 ตรัง กวส.4 จ.พะเยา, 912 กรป.กลาง จ.นราธิวาส
ผลิตรายวิทยุผา่ นเครื อระบบอินเตอร์ เนตของมหาวิทยาลัย ผลิตรายการข่าว สารคดี ความ
บันเทิง บทเรี ยนสอนภาษาอังกฤษ และกระบวนวิชาต่าง ๆ ทางเว็บไซด์ www.eru.tv โดยเลือกรับฟังที่ Channel 1 ทุกวันจันทร์ – ศุกร์ เวลา 09.00 – 16.00
น.
การผลิตรายการเพื่อการเรียนการสอน
- ควบคุมการถ่ายทอดสัญญาณการบรรยายของอาจารย์ผ้ สู อนในชันเรี
้ ยนที่
ใช้ ระบบโทรทัศน์วงจรปิ ด ภายในมหาวิทยาลัย - ควบคุมการถ่ายทอดสด
การเรี ยนการสอนทางไกลผ่านดาวเทียมไปยังสาขาวิทยบริการส่วนภูมิภาค
ต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัย - อํานวยความสะดวกและให้ บริการโสตทัศนวัสดุ
และโสตทัศนูปกรณ์แก่อาจารย์ผ้ สู อน สําหรับนําไปใช้ ประกอบการเรี ยนการ
สอนในชันเรี
้ ยน
การบริการนักศึกษา
- บริการสําเนาเทปบันทึกเสียงที่จดั ออกอากาศทางสถานีวิทยุ และบางส่วน
บันทึกเพื่อให้ บริการแก่นกั ศึกษาโดยเฉพาะ - บริการยืม – คืน สื่อการศึกษา
สําหรับให้ นกั ศึกษานําไปศึกษาทบทวนก่อนหรื อหลังจากการเข้ าชัน้ เรี ยนหรื อ
นําไปศึกษาด้ วยตนเองยังที่พกั อาศัย - บริการรับชมและรับฟั งสื่อการศึกษา บริการโสตทัศนูปกรณ์ตา่ ง ๆ
ศูนย์ ประสานงาน
สถานีวิทยุบีบีซีแผนกภาษาไทยกรุ งลอนดอน
เป็ นศูนย์ประสานงานสถานีวิทยุบีบีซีแผนกภาษาไทยกรุง
ลอนดอน ที่มหาวิทยาลัยรามคําแหง
เพื่อรวบรวมข่าวสารที่เกิดขึ ้นในประเทศไทย ติดต่อ
ประสานงานสัมภาษณ์แหล่งข่าวต่างๆ และผลิตสารคดีสนั ้ ให้ แก่
สถานีวิทยุบีบีซีแผนกภาษาไทยกรุงลอนดอน ซึง่ เผยแพร่ไปทัว่ โลก
การเผยแพร่ ส่ ือการศึกษา
Telecommunication
Broadcast
TV,Radio
Internet
TV.Radio
ผลิตสื่ อInternet
สถาบันคอมพิวเตอร์
ประวัตขิ องสถาบันคอมพิวเตอร์
นับตังแต่
้ มหาวิทยาลัยรามคําแหง ได้ จดั ตังขึ
้ ้นในปี พ.ศ. ๒๕๑๔
มหาวิทยาลัยมีความจําเป็ นต้ องใช้ เครื่ องคอมพิวเตอร์ เพื่อช่วยในการ
ประมวลผลในด้ านการเรี ยนการสอนซึง่ ในระยะแรกสถาบันคอมพิวเตอร์
สังกัดกับสํานักบริการทางวิชาการและทดสอบประเมิลผล
ในปี พ.ศ. ๒๕๓๐ มหาวิทยาลัยโดยความเห็นชอบของสภา
มหาวิทยาลัย ตามคําสัง่ มหาวิทยาลัยรามคําแหง โดยให้ แยกอิสระจากสํานัก
บริการทางวิชาการและทดสอบประเมินผลและขึ ้นตรงต่ออธิการบดีโดยตรง
สถาบันคอมพิวเตอร์ จงึ ได้ ดําเนินการเป็ นการ ภายใน ในฐานะเป็ นส่วน
ราชการของมหาวิทยาลัยรามคําแหงเทียบเท่า คณะ/สํานัก ตังแต่
้ บดั นันเป็
้ น
ต้ นมา
หน้ าที่และความรั บผิดชอบ
ของสถาบันคอมพิวเตอร์
- เป็ นศูนย์ กลางบริการทางวิชาการได้ แก่ การเรี ยนการสอน การฝึ กปฏิบัตเิ กี่ยวกับ
คอมพิวเตอร์
- เป็ นศูนย์ กลางบริการการใช้ คอมพิวเตอร์ เพื่อช่ วยในการวิจัยแก่ อาจารย์
เจ้ าหน้ าที่และนักศึกษา
- เป็ นศูนย์ กลางระบบคอมพิวเตอร์ ฐานข้ อมูลและการให้ บริการแก่ หน่ วยงานของ
มหาวิทยาลัย
- เป็ นศูนย์ รวมเก็บข้ อมูลด้ วยระบบคอมพิวเตอร์ โดยจัดระบบข้ อมูลการปรั บปรุ ง
แก้ ไขเพื่อเป็ นระบบ
- ศึกษาวิเคราะห์ และพัฒนาระบบต่ างๆของมหาวิทยาลัยให้ เป็ นไปอย่ างมี
ประสิทธิภาพ
- ศึกษา ค้ นคว้ า วิจัยและพัฒนาระบบเครื่ องคอมพิวเตอร์ และซอฟแวร์ ต่าง ๆ
- ดูแลข้ อมูลและให้ บริการแก่ ศูนย์ วทิ ยบริการทุกสาขาของมหาวิทยาลัย
รามคาแหง
หน้ าที่และความรับผิดชอบ
ของสถาบันคอมพิวเตอร์
- ประมวลผลข้ อมูลในด้ าน การเรี ยน การสอน ประเมินผลให้ เป็ นไปตามแผนการจัดการ
เรี ยนการสอนตามนโยบายของมหาวิทยาลัย
- บริการทางวิชาการต่อสังคม โดยให้ คําปรึกษาและฝึ กอบรมวิชาการทางด้ านคอมพิวเตอร์
ให้ บริการ เครื่ องคอมพิวเตอร์ แก่หน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจและเอกชนที่ต้องการใช้
บริการคอมพิวเตอร์ ของมหาวิทยาลัย
- เป็ นแหล่งที่ให้ การศึกษาและฝึ กอบรมทางด้ านคอมพิวเตอร์ แก่นกั ศึกษาและบุคลากร
ภายนอก
- ให้ บริการทางด้ านอินเทอร์ เน็ตแก่คณาจารย์ เจ้ าหน้ าที่ นักศึกษา และศูนย์วิทยบริการทุก
สาขาของมหาวิทยาลัยรามคําแหง
นวัตกรรมที่ใช้ กับการศึกษาทางไกล
- E-Mobile
-E-Learning -Learning
RU. Education Network
ระบบเครื อข่ายสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา เป็ นการประยุกต์ใช้ ระบบการสื่อสาร
แบบสองทาง (Two Way Communication) ชนิดเคลื่อนที่ (Mobile) ผ่านเครื อข่ายดาวเทียม
(Satellite Network) ในระบบดิจิตอล เพื่อการเรี ยนการสอน และการสื่อสารในพื ้นที่ต่าง ๆ ทัว่
ประเทศ และครอบคลุมพื ้นที่ประเทศใกล้ เคียง ระบบประกอบด้ วย
-รถเครื อข่ายการสื่อสาร (Mobile Satellite) เป็ นรถสื่อสารข้ อมูลระบบดิจิตอลผ่านเครื อข่าย
ดาวเทียมโดยติดตังอุ
้ ปกรณ์รับส่งสัญญาณประกอบด้ วยจานสายอากาศ ขนาด 2.4 เมตรและ
อุปกรณ์การสื่อสาร ในย่านความถี่ C-BAND พร้ อมทังเครื
้ ่ องกําเนิด ไฟฟ้า (Generator) ขนาด
9 KVA 220 Volts 50Hz สําหรับจ่ายให้ กบั ระบบสื่อสารและ ห้ องเรี ยนเคลื่อนที่
- ห้ องเรี ยนเคลื่นที่ (RU. COMP MOBILE) เป็ นรถบัสที่ติดตังอุ
้ ปกรณ์การสอนและ เครื่ อง
คอมพิวเตอร์ ชนิด Notebook จํานวน 39 เครื่ องพร้ อมอุปกรณ์การสื่อสาร
การประยุกต์ ใช้ ระบบ แบ่ งออกเป็ น 3 ส่ วนดังนี ้
1. ด้ านการศึกษา (Education)
- การให้ บริการเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ต (Internet)
-การเรี ยนการสอนด้ านเทคโนโลยีและคอมพิวเตอร์ (Computer Training)
- การเรี ยนการสอนด้ านพาณิชย์อิเล็กทรอนิค (e-Commerce)
- การรับรายการวิทยุและทีวีอินเทอร์ เน็ต (Internet Radio & TV)
-การเรี ยนการสอนด้ านภาษา (Sound Lab)
- การเรี ยนการสอนวิชาต่าง ๆ (Course Broadcasting & on demand)
2. ด้ านการสื่อสาร (Communication)
- การสื่อสารข้ อมูล (Data) กับเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัย (Online)
- ระบบโทรสาร (FAX) - ระบบโทรศัพท์ (Telephone) - ระบบวิดิโอคอนเฟอร์ เร้ น (Video
Conference)
3. ด้ านการบันเทิง (Entertainment)
- การจัดรายการวิทยุอินเทอร์ เน็ต (Internet Radio) - โทรทัศน์อินเทอร์ เน็ต (Internet TV)
"มหาวิทยาลัยเคลื่อนที่“
รถโมบายล์ จํานวน 2 คัน คันแรกเป็ นรถรับ-ส่ง สัญญาณดาวเทียม ทําหน้ าที่ รับ
และส่งสัญญาณภาพจากห้ องเรี ยนได้ ทกุ จุดของประเทศผ่านดาวเทียมไทยคม คันที่สองเป็ น
รถที่จดั ทําเป็ นห้ องเรี ยนเคลื่อนที่มีสายเคเบิลเชื่อมโยงสัญญาณจากรถคันแรกมารถคัน ที่
สอง ซึง่ ติดตังอุ
้ ปกรณ์การสอน และเครื่ องคอมพิวเตอร์ โน้ ตบุ๊ค จํานวน 39 เครื่ องพร้ อม
อุปกรณ์สื่อสารได้ แก่ โทรศัพท์ โทรสาร ใช้ เป็ นห้ องเรี ยนเคลื่อนที่ ให้ ผ้ เู รี ยนที่อยูใ่ นชุมชน
ขึ ้นมาเรี ยนหนังสือทังสื
้ บค้ นข้ อมูลจาก เครื อข่ายอินเตอร์ เน็ต และรับชมรับฟั งการบรรยาย
ของมหาวิทยาลัยที่สง่ มาจากกรุงเทพฯหรื อ สาขาวิทยบริการฯ ของมหาวิทยาลัยทัว่ ประเทศ
จํานวน 13 แห่ง
รถคันนีย้ ังใช้ เป็ นห้ องบรรยาย ส่ งความรู้ จากชุมชนกลับไปยังกรุ งเทพฯ ได้ ด้วย
มหาวิทยาลัยจะได้ เรี ยนรู้ร่วมกันกับชุมชนในลักษณะการสื่อสารสองทาง แทนที่จะ
เป็ นการไปสอนคนในชุมชน ฝ่ ายเดียว ชุมชนก็จะมีบทบาทต่อการจัดการอุดมศึกษาของรัฐ
นับเป็ นการปฏิรูปการเรี ยนรู้ ที่สอดคล้ องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
รูปแบบมหาวิทยาลัยเคลื่อนที่นี ้ จะให้ บริการฟรี แก่คนไทยทุกระดับ โดยไม่คิดค่าธรรมเนียม
การศึกษา เป็ นการขยายโอกาสทางการศึกษาตามปรัชญาของการจัดตังมหาวิ
้
ทยาลัย
รามคําแหงในลักษณะตลาดวิชา อย่างแท้ จริง ชุมชนใดที่สนใจติดต่อโดยตรง มาที่อธิการบดี
หรื อผู้อํานวยการสถาบันคอมพิวเตอร์ โทร. 0-2310-8800
สรุ ป การเผยแพร่ นวัตกรรมของ ม.รามคาแหง
การบริหาร
มีทิศทางที่ชดั เจน ตามนโยบายของผู้บริหาร มีแนวคิดเพื่อการ
เรี ยนรู้สชู่ มุ ชน
การผลิต
ทําเอง ประกอบคอมพิวเตอร์
ผลิตเอง รายการโทรทัศน์ รายการผ่านอินเทอร์ เน็ต
การเผยแพร่
วิทยุกระจายเสียงเพื่อการศึกษา
โทรทัศน์เพื่อการศึกษา
อินเทอร์ เน็ตเพื่อการศึกษา
สิ่งพิมพ์
วิสัยทัศน์ กรมพัฒนาฝี มือแรงงาน
“เป็ นองค์กรหลักในการดาเนินงาน ประสาน และส่งเสริ มการพัฒนาศักยภาพกาลังแรงงานให้ได้มาตรฐาน มีเอกภาพ เป็ นที่
ยอมรับในระดับสากล สามารถแข่งขันได้ในตลาดโลก”
พันธกิจกรมพัฒนาฝี มือแรงงาน
1. พัฒนามาตรฐานฝี มือแรงงาน และส่งเสริ มการทดสอบมาตรฐานฝี มือแรงงาน
2. พัฒนาระบบ รู ปแบบการพัฒนาฝี มือแรงงานแก่กาลังแรงงาน
3. ส่งเสริ มการมีส่วนร่ วมสร้างเครื อข่าย และบริ หารจัดการกองทุนพัฒนาฝี มือแรงงาน เพื่อ
พัฒนาศักยภาพกาลังแรงงานและการเป็ นผูป้ ระกอบการ