แนวทางการป้องกันควบคุมโรคคอตีบ โดย ผอ.โอภาส

Download Report

Transcript แนวทางการป้องกันควบคุมโรคคอตีบ โดย ผอ.โอภาส

มาตรการการดาเนินงาน
ในการสร้ างเสริมภูมคิ ุ้มกันโรค
นายแพทย์โอภาส การย์กวินพงศ์
สานักโรคติดต่อทัว่ ไป กรมควบคุมโรค
Outline
•
•
•
•
วัคซีนป้องกันโรคคอตีบ
ตารางสร้ างเสริมภูมิค้ มุ กันโรค
การป้องกันควบคุมโรคคอตีบด้ วยมาตรการต่างๆ
การประเมินความเสี่ยงเพื่อพิจารณามาตรการสร้ างเสริมภูมิค้ มุ กันโรค
สาหรับการป้องกันควบคุมการระบาดของโรคคอตีบ
• การให้ วคั ซีนในผู้ป่วยและผู้ป่วยสัมผัส
• มาตรการป้องกันควบคุมการระบาดในจังหวัดที่มีความเสี่ยงต่อการสูง
• การสื่อสารความเสี่ยง
วัคซีนป้ องกันโรคคอตีบ
• วัคซีนป้องกันโรคคอตีบ เป็ นวัคซีนที่ทาจาก toxoid ของเชื ้อคอตีบ โดยจะ
กระตุ้นให้ เกิดภูมิค้ มุ กันต่อ Toxin ของเชื ้อคอตีบ ในระยะเวลาประมาณ 2
สัปดาห์หลังได้ รับวัคซีน
• ผู้ป่วยที่เคยได้ รับวัคซีน เมื่อติดเชื ้อแบคทีเรี ยก่อโรคคอตีบในลาคอ อาจมี
อาการเพียง ไข้ ไอ เจ็บคอ โดยไม่เกิดแผ่นฝ้าในลาคอเหมือนผู้ป่วยคอตีบ แต่
ยังสามารถแพร่เชื ้อไปยังผู้อื่นได้
• วัคซีนป้องกันโรคคอตีบมีประโยชน์ทงในด้
ั ้ านการสร้ างเสริ มภูมคิ ้ มุ กันโรค
ตามระบบปกติ และเพื่อควบคุมการระบาด
• อย่างไรก็ดีการให้ วคั ซีนป้องกันโรคคอตีบเพื่อควบคุมการระบาด ควรทา
ร่วมกับการป้องกันควบคุมโรคด้ วยวิธีอื่นๆไปพร้ อมกัน
ตารางสร้างเสริมภูมค
ิ ม
ุ ้ ก ันโรค
ี
ชนิดว ัคซน
อายุ
แรกเกิด
BCG, HB
2 เดือน
OPV1, DTP1 - HB1
4 เดือน
OPV2, DTP2 - HB2
6 เดือน
OPV3, DTP3 - HB3
9 เดือน
MMR
18 เดือน
OPV4, DTP4, JE1, JE2
2.5 ปี
JE3
4 ปี
OPV5, DTP5
7 ปี (ป. 1)
MMR
12-16 ปี (ป. 6)
dT
หญิงมีครรภ์
ี )
้ ก ับประว ัติร ับว ัคซน
dT 3 ครงั้ (ขึน
Diphtheria Prevention an Control
Individuals Prevention
• Avoid case contact
• Appropriate hand hygiene
• Protective equipment: face
mask
• Appropriate handling of
contaminated items and
waste
• Vaccination
Epidemic Measure
• Prompt management of
diphtheria cases
• Rapid investigation and
management of close
contacts
• Maintain high vaccine
coverage
• Risk communication
การให้ วคั ซีนในผู้ป่วยโรคคอตีบ
เนื่องจากผู้ป่วยที่หายจากโรคคอตีบอาจไม่มีภมู ิค้ มุ กันอย่างถาวรเกิดขึ ้น จึง
ต้ องให้ active immunization จานวน 3 ครัง้ แก่ผ้ ปู ่ วยทุกราย
โดยเริ่มให้ วคั ซีนเข็มแรกก่อนผู้ป่วยกลับบ้ าน และชนิดวัคซีนขึ ้นกับอายุ
ผู้ป่วย คือ
 ถ้ าผู้ป่วยอายุน้อยกว่า 7 ปี ให้ วคั ซีนที่มีสว่ น DTP เป็ นส่วนประกอบ เช่น DTP
หรื อ DTP-HB ตามความเหมาะสม ระยะห่างระหว่างแต่ละเข็มเท่ากับ 1 เดือน
 ถ้ าผู้ป่วยอายุมากกว่า 7 ปี ให้ วคั ซีน dT ระยะห่างระหว่างเข็ม 1 เดือน
การให้ วคั ซีนในผู้สัมผัสใกล้ ชิดและพาหะ
ให้ วคั ซีนคอตีบทันที โดยพิจารณาจากประวัติการได้ รับวัคซีน ในอดีต ดังนี ้
1. เด็กอายุ < 7 ปี
 ไม่เคยได้ รับวัคซีน DTP หรื อได้ รับไม่ครบ 3 ครัง้ หรื อไม่ทราบประวัติการรับวัคซีน
ให้ ฉีดวัคซีนจนครบ 3 ครัง้ โดยเว้ นระยะห่างระหว่างเข็มประมาณ 1 เดือน
 ได้ รับวัคซีน DTP ครบ 3 ครัง้ แล้ ว แต่ยงั ไม่ได้ รับการกระตุ้นภายใน 1 ปี
ให้ ฉีดวัคซีนกระตุ้น 1 เข็ม
 ได้ รับวัคซีน DTP 4 ครัง้ แต่ครัง้ สุดท้ ายนานเกิน 5 ปี
ให้ ฉีดวัคซีนกระตุ้น 1 เข็ม
 ได้ รับวัคซีน DTP 4 ครัง้ ครัง้ สุดท้ ายไม่เกิน 5 ปี หรื อได้ รับวัคซีนครบ 5 ครัง้ แล้ ว
ไม่ต้องให้ วคั ซีนอีก
2. เด็กอายุ > 7 ปี และผู้ใหญ่ ให้ วคั ซีน dT จานวน 2 ครัง้ ห่างกัน 1 เดือน
มาตรการสร้ างเสริมภูมคิ ุ้มกันโรคเพือ่ ควบคุมการระบาด
เพื่อพิจารณามาตรการสร้ างเสริมภูมิค้ มุ กันโรคเพื่อป้องกันควบคุม
การระบาดของโรคคอตีบ จะต้ องประเมินความเสี่ยงในพื ้นที่จากปั จจัย
ต่างๆ เพื่อแบ่งพื ้นที่ออกเป็ น 3 แบบ คือ
1.พื ้นที่ระบาด
2.พื ้นที่เสี่ยง
3.พื ้นที่ปกติ
ปัจจัยที่ใช้ ในการประเมินความเสี่ ยง
1. สถานการณ์การระบาด เช่น พื ้นที่ที่มีผ้ ปู ่ วยโรคคอตีบ หรื อผู้ป่วยสงสัย
2. ความครอบคลุมการได้ รับวัคซีน
3. ประชากรกลุม่ ที่อาจไม่ได้ รับวัคซีน เช่น
 ประชากรที่เกิดก่อนหรื อเกิดเมื่อมีการเริ่ มให้ วคั ซีนโรคคอตีบ
 ชาวต่างด้ าว คนไร้ รัฐ ชาวไทยภูเขา
 เด็กด้ อยโอกาส เช่น เด็กกาพร้ าในสถานสงเคราะห์
พืน้ ที่ระบาด
หมายถึง หมูบ่ ้ านที่พบผู้ป่วยคอตีบหรื อพาหะจากการตรวจยืนยันทาง
ห้ องปฏิบตั ิการฯ และหมูบ่ ้ านใกล้ เคียงที่มีอาณาเขตติดกันหรื อประชาชน
เดินทางไปมาหาสูก่ นั ตลอด และหมูบ่ ้ านหรื อพื ้นที่ที่ผ้ ปู ่ วยคอตีบคาดว่า
ได้ รับเชื ้อหรื อแพร่โรคได้ ในช่วง 14 วันก่อนและหลังเริ่มป่ วย
ผู้ป่วย
พืน้ ที่ระบาด
พืน้ ที่เสี่ ยง
หมายถึง หมูบ่ ้ านที่อยูใ่ กล้ เคียงกับพื ้นที่การระบาดของโรคคอตีบหรื ออาเภอที่อยู่
รอบๆอาเภอที่มีการระบาดโรคคอตีบ และมีความครอบคลุมวัคซีนต่า โดยพิจารณา
จาก
 หมู่บ้าน/ตาบล ที่มีความครอบคลุมของวัคซีน DTPHB/DTP/dT ในกลุม่ เด็กตามเกณฑ์อายุ น้ อยกว่า
90%
 หมู่บ้าน/ตาบล ที่มีกลุม่ อายุ > 30 ปี ประวัติได้ รับวัคซีน
DTP ในวัยเด็ก หรื อได้ รับวัคซีน dT ตอนเรี ยนประถมปี ที่
6 น้ อยกว่า 50%
 อาเภอที่ไม่มีการให้ วคั ซีน dT ในกลุม่ หญิงตังครรภ์
้
 กรณีพบผู้ป่วยสงสัยคอตีบซึง่ ไม่เคยได้ รับวัคซีน DTPHB/DTP/dT มาก่อน
 กรณีพบลักษณะผู้ป่วยทอนซิลอักเสบ เป็ นกลุม่ ก้ อน ในช่วง
เวลาใกล้ เคียงกัน
พืน้ ที่ระบาด
พืน้ ที่เสี่ยง
แนวทางการให้ วคั ซีนคอตีบเพือ่ ควบคุมการระบาด
1. พื ้นที่ปกติ: ติดตามให้ วคั ซีนเก็บตก
2. พื ้นที่เสี่ยง: ติดตามให้ วคั ซีนเก็บตก+รณรงค์ในเด็กกลุม่ เสี่ยง
3. พื ้นที่ระบาด: ติดตามให้ วคั ซีนเก็บตก+รณรงค์ในเด็กกลุม่ เสี่ยง+
รณรงค์ในผู้ใหญ่
แนวทางการให้ วคั ซีนคอตีบเพือ่ ควบคุมการระบาด
พืน้ ที่ปกติ
ติดตามให้ วคั ซีนที่มีสว่ นประกอบของวัคซีนป้องกันโรคคอตีบให้ ครบตาม
ถ้ วนเกณฑ์ ได้ แก่
 วัคซีนรวม DTP-HB ครัง้ ที่ 1 2 และ 3 ในเด็กอายุต่ากว่า 1 ปี
 วัคซีน DTP ครัง้ ที่ 4 ในเด็กอายุ 1ปี ครึ่ง ถึง 2 ปี
 วัคซีน DTP ครัง้ ที่ 5 ในเด็กอายุ 4 ปี ถึง 5 ปี
 วัคซีน dT ในเด็กนักเรี ยนชันประถมศึ
้
กษาปี ที่ 1- 5 เฉพาะรายที่ได้ รับ
วัคซีน DTP ไม่ครบตามเกณฑ์
 วัคซีน dT ในเด็กนักเรี ยนชันประถมศึ
้
กษาปี ที่ 6
แนวทางการให้ วคั ซีนคอตีบเพือ่ ควบคุมการระบาด
พืน้ ที่เสี่ยง
1. ติดตามให้ วคั ซีนโรคคอตีบให้ ครบตามถ้ วนเกณฑ์เช่นเดียวกับพื ้นที่ปกติ
2. รณรงค์การให้ วคั ซีนโรคคอตีบในเด็กกลุม่ เสี่ยงต่อการเกิดโรคคอตีบที่
อาศัยอยูใ่ นพื ้นที่รับผิดชอบ และไม่สามารถตรวจสอบประวัติการได้ รับ
วัคซีนได้ เช่น เด็กที่อยูใ่ นพื ้นที่ทรุ กันดาร เด็กด้ อยโอกาส เด็กในกลุม่
แรงงานทังชาวไทยและต่
้
างด้ าว ดังนี ้
 เด็กอายุต่ากว่า 7 ปี รณรงค์ให้ วคั ซีน DTP-HB 3 ครัง้ ที่ 0 1 และ 6 เดือน
 เด็กอายุมากกว่า 7 ปี รณรงค์ให้ วคั ซีน dT 3 ครัง้ ที่ 0 1 และ 6 เดือน
แนวทางการให้ วคั ซีนคอตีบเพือ่ ควบคุมการระบาด
พืน้ ที่ระบาด
1.ติดตามให้ วคั ซีนโรคคอตีบให้ ครบตามถ้ วนเกณฑ์เช่นเดียวกับพื ้นที่ปกติ
2.รณรงค์การให้ วคั ซีนโรคคอตีบในเด็กกลุม่ เสี่ยงเช่นเดียวกับพื ้นที่เสี่ยง
3.รณรงค์ให้ วคั ซีน dT ในประชาชนที่จบป. 7 - 45 ปี (และขยายกลุม่ อายุให้
เท่ากับอายุผ้ ปู ่ วย)
มาตรการป้องกันควบคุมการระบาดใน
จังหวัดทีม่ คี วามเสี่ ยงต่ อการสู ง
จังหวัดที่มีความเสี่ยงต่ อการระบาดสูง 8 จังหวัด ได้ แก่
1. เลย
5. เพชรบูรณ์
2. หนองบัวลาพู
6. พิษณุโลก
3. อุดรธานี
7. ขอนแก่น
4. หนองคาย
8. ชัยภูมิ
แนวทางป้องกันควบคุมการระบาดโรคคอตีบ
ในจังหวัดทีม่ คี วามเสี่ ยงสู ง
1. ให้ จดั ตัง้ War room เพื่อติดตามสถานการณ์ และให้ จงั หวัดรายงานผลการ
ดาเนินงานตาม ”แบบรายงานผลการดาเนินงานเฝ้าระวังควบคุมการระบาดโรคคอ
ตีบ” ไปยังผู้ตรวจราชการกระทรวง สานักโรคติดต่อทัว่ ไปกรมควบคุมโรค และ
สานักงานป้องกันควบคุมโรคเขต อย่างน้ อยสัปดาห์ละ ๑ ครัง้ ภายในวันพฤหัสบดี
ของทุกสัปดาห์
2. แจ้ งเตือนแพทย์พยาบาลทังภาครั
้
ฐและเอกชน และเจ้ าหน้ าที่สาธารณสุข หากพบ
ผู้ป่วยหรื อผู้ป่วยสงสัยโรคคอตีบที่อาศัยหรื อเดินทางมาจากอาเภอที่พบผู้ป่วยโรคคอ
ตีบภายใน ๒ สัปดาห์ ที่มีอาการ ไข้ ไอ เจ็บคอ โดยอาจมีหรื อไม่มีแผ่นฝ้าในคอ ให้
รักษาด้ วยยาปฏิชีวนะ Erythromycin หรื อ Roxithromycin โดยให้ นาน
๑๔ วัน
แนวทางป้องกันควบคุมการระบาดโรคคอตีบ
ในจังหวัดทีม่ คี วามเสี่ ยงสู ง
3. ในหมู่บ้านที่พบผู้ป่วยหรื อผู้ป่วยสงสัยโรคคอตีบและหมูบ่ ้ านโดยรอบ ให้
วัคซีน dT จานวน ๒ เข็ม ห่างกัน ๑ เดือน แก่ประชาชนอายุ ๗-๔๕ ปี ทุก
คนให้ เสร็ จภายใน ๑ สัปดาห์และขยายให้ เท่าอายุสงู สุดของผู้ป่วย
4. ให้ วคั ซีน dT แก่ผ้ ใู หญ่และเด็กที่อยูใ่ นโรงเรี ยนศึกษาสงเคราะห์ชาวเขาทุก
แห่งในจังหวัดโดยให้ วคั ซีน dT จานวน ๒ เข็ม ห่างกัน ๑ เดือน
5. ให้ สารวจและให้ วคั ซีนป้องกันโรคคอตีบเก็บตกในเด็กอายุต่ากว่า ๗ ปี ทุก
คน ในตาบลที่พบผู้ป่วยหรื อผู้ป่วยสงสัยโรคคอตีบและตาบลรอบๆ ให้ เสร็ จ
ภายใน ๑ สัปดาห์
6.ให้ ทีม SRRT ค้ นหาผู้ป่วยและผู้สมั ผัสใกล้ ชิดผู้ป่วย เมื่อพบผู้ป่วยโรคคอตีบ
Risk Communication
1. ขอบเขตการสื่อสารและข้ อควรระวัง
 เน้ นการสื่อสารโดยอาศัยช่องทางการสื่อสารในพื ้นที่ที่มีการระบาดก่อน เพื่อ
ลดความตื่นตระหนกโดยไม่จาเป็ น
 เน้ นวิธีป้องกันควบคุมโรคคอตีบ
 หลีกเลี่ยงการสื่อสารที่อาจก่อให้ เกิดความเข้ าใจผิดว่าเป็ นการศึกษาวิจยั
ของหน่วยงานสาธารณสุข
ประเด็นสื่ อสาร
สาเหตุของโรค
เป็ นโรคติดเชื ้อเฉียบพลันของระบบทางเดินหายใจ เชื ้อก่อโรคคือแบคทีเรี ยชนิด
Corynebacteriumdiphtheriae ที่สร้ าง toxin ทาให้ เกิดเนื ้อตายในลาคอและท่อทางเดินหายใจ
วิธีการติดต่ อโรคคอตีบ
เกิดจากการไอ จาม รดกัน พูดคุยระยะใกล้ ชิด ใช้ ภาชนะ เช่น แก้ วน ้าช้ อนส้ อมร่วมกับผู้ป่วยหรื อพาหะ
ประชากรกลุ่มเสี่ยง
ประชากรที่เกิดก่อนปี 2535 ต่างด้ าว คนไร้ รัฐ ชาวเขา เด็กด้ อยโอกาส
การรักษา
รักษาด้ วยยาปฏิชีวนะแบบฉีดหรื อรับประทานจนกระทัง่ ผลเพาะเชื ้อเป็ นลบ ร่วมกับยาต้ านพิษ(Diphtheria
Antitoxin) และเฝ้าระวังอาการแทรกซ้ อน
วิธีการป้องกัน
หลีกเลี่ยงการสัมผัสใกล้ ชิดผู้ป่วยและพาหะ
ผู้สมั ผัสใกล้ ชิดและพาหะ ต้ องรักษาด้ วยยาปฏิชีวนะ เฝ้าระวังอาการโรคคอตีบ
ผู้สมั ผัสใกล้ ชิดและพาหะ ต้ องได้ รับวัคซีนป้องกันโรคคอตีบตามที่กาหนด
End