โรคคอตีบ (Diphtheria)

Download Report

Transcript โรคคอตีบ (Diphtheria)

แนวทางการควบคุมป้ องกันโรคคอตีบ
จังหวัดศรีสะเกษ
สสจ.ศรีสะเกษ
27 พย.55
ี่ ง (1)
ประเมินความเสย


่ งว่างของภูมต
ชอ
ิ า้ นทานโรค
 ประชาชนทีย
่ ังไม่มภ
ี ม
ู ต
ิ ้านทานโรค ในกลุม
่ ผู ้ใหญ่ทเี่ กิดก่อน
ี ครบ
หรือเกิดในชว่ งต ้นของ EPI และเด็กทีไ่ ม่ได ้รับวัคซน
โดยเฉพาะชาวเขา
่ งว่างของภูมต
่ นี้ มีอยูใ่ นจังหวัดอืน
 ชอ
ิ ้านทานโรคเชน
่ ๆด ้วย
แหล่งโรค
ื้
 ผู ้ป่ วยและผู ้เป็ นพาหะในพืน
้ ทีร่ ะบาด เป็ นแหล่งแพร่เชอ
 พาหะมีจานวนมากกว่าผู ้ป่ วยทีพ
่ บ
ั เจน และ
 ผู ้ป่ วยทีม
่ อ
ี าการน ้อยมีจานวนมากกว่าผู ้มีอาการชด
อาจวินจ
ิ ฉั ยเป็ น URI หรือไม่รับการรักษา
18 Oct 2012
To be
ี่ ง (2)
ประเมินความเสย
 โอกาสแพร่กระจายไปย ังจ ังหว ัดอืน
่ ๆ รวมทงั้ กทม.
่ ดูเก็บเกีย
 ตัง
้ แต่เดือน พย. จะเข ้าสูฤ
่ วพืชผล แรงงานเกษตรชาวเขา
จานวนมาก จะหมุนเวียนเคลือ
่ นย ้ายทางาน ในแถบจังหวัดภาคเหนือ
และอีสานตอนบน
่ งเดือน พย. – มค. เป็ นฤดูการท่องเทีย
 ในชว
่ ว ประชาชนจากจังหวัด
ต่างๆ รวมทัง้ ชาวต่างชาติ จะมาท่องเทียวใน จ.เลย และพืน
้ ทีใ่ กล ้เคียง
 กลางเดือน ธค. จะมีการชุมนุมใหญ่ของชาวม ้ง (World Hmong
Assembly) ชาวม ้งจากประเทศต่างๆจานวนมาก จะมารวมตัว ร่วม
กิจกรรมเฉลิมฉลอง เป็ นชว่ งเวลาหลายวัน
 นั กเรียน โรงเรียนสงเคราะห์ชาวเขา มีอยูใ
่ นหลายจังหวัด และนักเรียน
อาจหมุนเวียนเคลือ
่ นย ้ายระหว่างพืน
้ ที่
 ชาววังสะพุงจานวนมาก เดินทางมาขายล็อตเตอรีใ
่ น กทม. และจังหวัด
อืน
่ ๆ ไป-กลับเป็ นประจา
18 Oct 2012
To be
้ ทีเ่ พือ
การกาหนดพืน
่ การเฝ้าระว ังป้องก ันควบคุม
โรคคอตีบ
้ ทีห
(พืน
่ น่วยน ับเป็นอาเภอ) เป็น 4 ระด ับ
้ ทีร่ ะบาด
1.พืน
ั
้ ทีส
2.พืน
่ งสย
ี่ ง
้ ทีเ่ สย
3. พืน
้ ทีอ
4. พืน
่ น
ื่ ๆ
้ ทีร่ ะบาดคอตีบ
นิยามพืน
้ ทีร่ ะบาด ได ้แก่ อาเภอทีพ
1.พืน
่ บผู ้ป่ วยยืนยันโรคคอตีบหรือ
ผู ้ป่ วยน่าจะเป็ น หรือพาหะ
ั หมายถึง อาเภอทีพ
ั
้ ทีส
2. พืน
่ งสย
่ บผู ้ป่ วยสงสย
ี่ ง หมายถึง อาเภอทีอ
้ ทีเ่ สย
3. พืน
่ ยูใ่ กล ้เคียงกับพืน
้ ทีก
่ ารระบาด
้ ทีต
4. พืน
่ ด
ิ ตามต่อเนือ
่ ง หมายถึง พืน
้ ทีร่ ะบาดทีไ่ ม่พบผู ้ป่ วย
ั ผัส
คอตีบ และพาหะจากการค ้นหาผู ้ป่ วยเพิม
่ เติมในชุมชนหรือผู ้สม
ิ เป็ นเวลา 14 วัน ทัง้ นีห
ใกล ้ชด
้ ลังจากผู ้ป่ วยคอตีบและพาหะ
ื้ ซ้า
รายสุดท ้ายรับประทานยาครบ 14 วันและผลตรวจเพาะเชอ
ื้ Corynebacterium diphtheriae ด ้วย
ไม่พบเชอ
้ ทีร่ ะยะปลอดภ ัย หมายถึง พืน
5. พืน
้ ทีต
่ ด
ิ ตามต่อเนือ
่ งทีไ่ ม่พบผู ้ป่ วย
ั คอตีบ ผู ้ป่ วยคอตีบ และพาหะเป็ นเวลา 1 เดือน หลังจาก
สงสย
ดาเนินงานควบคุมโรคครบตามทีก
่ าหนด
้ ทีป
6. พืน
่ กติ หมายถึง พืน
้ ทีท
่ ไี่ ม่ได ้กับนิยาม พืน
้ ทีร่ ะบาด พืน
้ ที่
ั พืน
ี่ ง พืน
สงสย
้ ทีเ่ สย
้ ทีต
่ ด
ิ ตามต่อเนือ
่ ง และพืน
้ ทีร่ ะยะปลอดภัย
จังหวัดศรีสะเกษ ยังไม่ มีรายงานผู้ป่วยสงสั ยคอตีบ
จัดเป็ นพืน้ ที่ปกติ
► 1. เป็ นนโยบายในการดาเนินงานป้องกันควบคุมโรคคอตีบ
► 2. สารวจการได้ รับคอตีบในเด็กอายุต่ากว่ า 15 ปี
รายตาบล / สถานบริการ
ส่ ง สสจ.ภายในวันที่ 6 ธ.ค.55 หากได้ ไม่ ครบติดตามให้ ให้ ครบตาม
แนวทาง catch up
► 3. ให้ สถานบริการใช้ วค
ั ซีน dt ในผู้รับบริการANC/บาดแผล
► 4. เฝ้ าระวังโรคอย่ างต่ อเนื่อง หากพบผู้ป่วยสงสั ยให้ แจ้ ง สสจ.ทันที ทาการ
สอบสวนควบคุมโรค
► 5.ทบทวนความรู้ แก่ แพทย์ พยาบาล และเจ้ าหน้ าทีส
่ าธารณสุ ข ในเรื่องโรค
คอตีบ การวินิจฉัย การรักษา ตลอดจนแนวทางการส่ งต่ อผู้ป่วย
แนวทางการดาเนินงานป้ องกันควบคุมโรคคอตีบ
จังหวัดศรีสะเกษ
► 6. การสื่ อสารความเสี่ ยง เรื่องการป้องกันโรคแก่ ประชาชนทัว่ ไป อสม
ชุ มชน บุคลากรสาธารณสุ ข และในกลุ่มเสี่ ยงต่ างๆ เช่ น ศูนย์ เด็กเล็ก
โรงเรียน
► 7. Active surveillance จัดระบบเฝ้ าระวังเชิ งรุ ก อาการไข้ เจ็บคอ ฝ้ าสี
เทาในคอ โดย อสม. สั ปดาห์ ละ 2 ครั้ง รายงานส่ งต่ อโรงพยาบาลส่ งเสริ ม
สุ ขภาพตาบล และโรงพยาบาลชุ มชน
► 8. ให้ วค
ั ซีน dT กระตุ้นสาหรับทีม SRRT ระดับ จังหวัด/อาเภอ 1 ครั้ง
► 9. ค้ นหาพืน
้ ทีจ่ าเป็ นต้ องได้ รับ dT ล่วงหน้ าเพือ่ ลดอัตราป่ วยตายในกลุ่ม
เสี่ ยง
ี คอตีบเพือ
แนวทางการให้ว ัคซน
่ ควบคุมการระบาด
ี และ
ตรวจสอบการได ้รับวัคซน
ี เก็บตก
ติดตามให ้วัคซน
ั
ี่ ง
้ ทีส
้ ทีเ่ สย
2. พืน
่ งสยและพื
น
ี เก็บตก+
ติดตามให ้วัคซน
ี่ ง
รณรงค์ในเด็กกลุม
่ เสย
ี เก็บตก+
้ ทีร่ ะบาด ติดตามให ้วัคซน
3. พืน
ี่ ง+
รณรงค์ในเด็กกลุม
่ เสย
รณรงค์ในผู ้ใหญ่
1.
้ ทีป
พืน
่ กติ
แนวทางการทา Catch up วัคซีน dt
ประวัติการได้ รับวัคซีน
จานวนเข็มทีต่ ้ องได้ รับ
ระยะห่ างระหว่ างเข็ม
ไม่ เคยได้ รับวัคซีนทีม่ ีส่วนประกอบของ
วัคซีนคอตีบ
3
0,1,6
และกระตุ้นอีก1 ครั้ง ทุก 10 ปี
1
2
0,6
และกระตุ้นอีก 1 ครั้ง ทุก 10 ปี
2
1
ห่ างจากเข็ม 2 อย่ างน้ อย 6 เดือน และ
กระตุ้นอีก 1 ครั้ง ทุก 10 ปี
3 เข็ม น้ อยกว่ า 10 ปี
ไม่ ต้องฉีด
-
3 เข็มมากว่ า 10 ปี
1
ทันทีเมือ่ มาฝากครรภ์
( หรือพิจารณาฉีดกระตุ้นในกรณีบุคคล
ทัว่ ไป)
ถ้ าท่ านพบหรือรับรายงานผู้ป่วยสงสั ยคอตีบ 1 ราย
ท่ านจะทาอย่ างไรต่ อไป ?
นิยามโรคคอตีบ
Suspected case หมายถึง ผู้ป่วยทีม่ ไี ข้ และ เจ็บคอ หรือได้ รับการวินิจฉัย
เป็ นคออักเสบ หรือกล่องเสี ยงอักเสบ หรือต่ อมทอมซิลอักเสบ ร่ วมกับมีแผ่ นฝ้ าสี ขาว
ปนเทาในลาคอหรือจมูก
Probable case หมายถึง ผู้ป่วยสงสั ย ทีม่ ปี ัจจัยเสี่ ยงอย่ างน้ อย 1 ข้ อ ดังนี้
- มีประวัตสิ ั มผัสใกล้ ชิดกับผู้ป่วยยืนยันโรคคอตีบ ภายใน 14 วัน ก่อนป่ วย
- มีประวัตเิ ดินทางมาจากอาเภอทีพ่ บผู้ป่วยยืนยันโรคคอตีบ ภายใน วัน ก่อนป่ วย
- มีอาการคอบวม(bull neck)
- มีอาการทางเดินหายใจอุดตัน
- มีภาวะกล้ามเนือ้ หัวใจอักเสบ หรือพบ motor paralysis ภายใน 6
สั ปดาห์ หลังเริ่มป่ วย
- เสี ยชีวติ
นิยามโรคคอตีบ
Confirmed case หมายถึง ผูป้ ่ วยสงสัย/ผูป้ ่ วยน่าจะเป็ น ที่มีผลเพาะเชื้อจาก
ลาคอ พบเชื้อ Toxigenic strain Corynebacterium
diphtheriae จากตัวอย่างในลาคอ จมูก ช่องหู เยือ่ บุตา ช่องคลอด หรื อจาก
บาดแผลผิวหนัง
Close contact หมายถึง ผูท้ ี่ได้สัมผัสติดต่อคลุกคลีกบั ผูป้ ่ วยในช่วง 14 วัน
นับจากวันเริ่ มป่ วยของผูป้ ่ วยคอตีบ ซึ่ งมีโอกาสได้รับเชื้อโดยตรงจากการไอ จาม รดกัน
พูดคุยกันในระยะใกล้ชิด หรื อ การใช้ภาชนะร่ วมกัน เช่น แก้วน้ า ช้อน หรื อการดูดอม
ของเล่นร่ วมกันในเด็กเล็ก
Carrier case หมายถึง ผูไ้ ม่มีอาการ หรื อมีอาการเล็กน้อย เช่น เจ็บคอ แต่
อาการไม่ เข้ากับนิยามผูป้ ่ วยสงสัย ที่ผลตรวจเพาะเชื้อสารหลัง่ จากลาคอพบ
Corynebacterium diphtheriae
* ไม่แนะนาให้ส่งตรวจหา toxigenic strain ในพื้นที่ที่พบผูป้ ่ วยยืนยันแล้ว
การคัดกรองผู้ป่วยเพิ่มเติม
จากชุมชนที่พบผู้ป่วยคอตีบ หรื อผู้ป่วยสงสัยคอตีบ
• จากผู้สัมผัสใกล้ ชด
ิ ผู้ป่วยคอตีบ หรื อผู้ป่วยสงสัยคอตีบ ทัง้ วงที่ 1 และ 2
•
– ให้ ทา TS ให้ ยาปฏิชีวนะ และติดตามอาการและการกินยาจนครบกาหนด
แนวทางการตรวจ
วินิจฉัยและให้ ยา
ปฏิชีวนะสาหรั บ
ผู้ป่วยสงสัยคอตีบ
แนวทางการตรวจ
วินิจฉัยและให้ ยา
ปฏิชีวนะสาหรั บ
พาหะ
แนวทางการตรวจ
วินิจฉัยและรั กษา
ผู้สัมผัสใกล้ ชดิ ผู้ป่วย
Throat
swab
การเก็
บต ัวอย่า(TS)
ง
ว ัสดุอป
ุ กรณ์
่ งคอ
1. ไฟฉายกาล ังแรงสาหร ับสอ
้ื
2. ไม้ swab ปราศจากเชอ
ื้
3. ไม้กดลิน
้ ปราศจากเชอ
4. Amies’ transport medium
เบิกว ัสดุได้ท ี่ งานควบคุมโรค
Throat swab (TS)
อุปกรณ์ในการเก็บตัวอย่าง
ไม้กดลิน
้
ไม้พ ันสาลี
Amies trasport media
Throat swab
(posterior pharyngeal swab)
Indication for sampling: Resp. symptom (direct detection)
How to take the sample:
• Hold tongue away with tongue depressor
• Locate areas of inflammation and exudate
posterior pharynx, tonsillar region of
throat behind uvula
in
• Avoid swabbing soft palate; do not touch tongue
• Rub area back and forth with cotton or
Dacron swab
WHO/CDS/EPR/ARO/2006.1
Throat swab (TS)
วิธก
ี าร ...
้
่ งตรวจ
1. สวม mask ขณะเก็บตัวอย่าง และใชไฟฉายส
อ
ตรวจดูคอหาบริเวณอักเสบทีม
่ ท
ี ม
ี่ แ
ี ผ่นเยือ
่ สเี ทา
้ ้กดลิน
้ ้ swab ถูบริเวณสองข ้างของ
2. ใชไม
้ ผู ้ป่ วยและใชไม
tonsil และ Posterior pharynx
3. นา swab จุม
่ ลงใน Amies trasport media
ื่ -นามสกุล วันเวลาทีเ่ ก็บตัวอย่างของผู ้ป่ วยทีข
4. ระบุชอ
่ ้าง
ั เจน
หลอดให ้ชด
Tonsil
Throat swab (TS)
Posterior pharynx
่ ต ัวอย่าง
การนาสง
• บรรจุ swab ทีจ
่ ม
ุ่ ลงใน Amies trasport media
่ ต ัวอย่างสง
่ ห้องปฏิบ ัติการภายใน
พร้อมใบนาสง
24 ชว่ ั โมงไม่ตอ
้ งแชเ่ ย็น
• กรณีมากกว่า 24 ชว่ ั โมงให้เก็บ swab ทีจ
่ ม
ุ่ ลง
ใน Amies trasport media ในตูเ้ ย็น 2-8 องศา
ี ส แล้วนาสง
่ ทีอ
เซลเซย
่ ณ
ุ หภูมห
ิ อ
้ งหรือแชเ่ ย็น
• ต ัวอย่างเก็บไว้ได้ไม่เกิน 72 ชว่ ั โมง
่ สสจ.ศก. พร้อมแบบสอบสวนและแบบสง
่
• สง
ต ัวอย่าง
VDO Throat swab
https://www.facebook.co
m/ptorng.xr
VDO
Corynebacterium
diphtheriae &
Diphtheria
https://www.youtube.co
m/watch?feature=player
_embedded&v=bedJdX
AK6F4
https://www.facebook.
com/ptorng.xr
https://www.youtube.c
om/watch?feature=pla
yer_embedded&v=Vjq
9jRBEklg#!
ค้ นหาผู้ป่วยเพิม่ เติม และติดตามอาการและกินยา
ผู้ป่วยสงสัยคอตีบ
ค้ นหาผู้ป่วยเพิ่มเติม
ในหมู่บ้าน ต่ อเนื่อง 14 วัน
หมู่บ้าน
ผู้ป่วย
หมู่บ้าน
ใกล้ เคียง
หมู่บ้าน
Exposed
ค้ นหาผู้สัมผัสใกล้ ชดิ
ร่ วมบ้ าน ร่ วมงาน
ค้ นหาผู้สัมผัส
ใกล้ ชดิ ของผู้
ที่มีอาการป่ วย
ค้ นหาผู้สัมผัส
ใกล้ ชดิ ของผู้
ที่ไม่ ป่วย
ติดตามสอบถามอาการป่ วยทุกคน และตามการกินยา จนครบ 14 วัน
กิจกรรมที่ต้องดาเนินการ
ผู้ป่วยสงสัยคอตีบ
ค้ นหาผู้ป่วยเพิ่มเติม
ในหมู่บ้าน ต่ อเนื่อง 14 วัน
หมู่บ้าน
ผู้ป่วย
หมู่บ้าน
ใกล้ เคียง
หมู่บ้าน
Exposed
ค้ นหาผู้สัมผัสใกล้ ชิด
ร่ วมบ้ าน ร่ วมงาน
ค้ นหาผู้สัมผัส
ใกล้ ชิดของผู้
ที่มีอาการ
ป่ วย
ค้ นหาผู้สัมผัส
ใกล้ ชิดของผู้
ที่ไม่ ป่วย
การให้ ยาปฏิชีวนะ DAT
การให้ วคั ซีนในหมูบ่ ้ านที่พบผู้ป่วย หมุบ่ ้ านข้ างเคียง และหมูบ่ ้ านที่เกี่ยวข้ อง
การติดตามอาการ และการกินยา
เครื่องมือควบคุมป้ องกันโรคคอตีบ
• Diphtheria toxoid: กลุ่มเสี่ ยง ลดการป่ วยตาย
• Diphtheria anti-toxin: ลด complication
• Antibiotics: Erythromycin, Roxithromycin, PGs
ช่วยกาจัดและลดจานวนเชื้อในลาคอ
• โรคแทรกซ้อนทางหัวใจและทางเส้นประสาท ให้การรักษาประคับประคอง
ตามอาการ
• ผูป้ ่ วยเด็กโรคคอตีบจะต้องพักเต็มที่ อย่างน้อย 2-3 สัปดาห์ เพื่อป้ องกันโรค
แทรกซ้อนทางหัวใจ ซึ่งมักจะเกิดขึ้นปลายสัปดาห์ที่ 2
• Non-pharmaceutical: mask, alcohol gel
• Person: isolation, ติดตามอาการ การกินยา และสอบสวนโรค
้ ที่
มาตรการตามระด ับพืน
Area
endemic
area
War
room

contact
case
Dx & Tx
Mop up
catch up
surveillance
active
surveillance











mangemen
t

all
Suspected
area




<15 Y
risk area



<15 Y
non risk
area

มาตรการในผู้ป่วย (Case management)
• ให้ Diphtheria Antitoxin (DAT) และยาปฏิชีวนะตามมาตรฐานการ
รักษา และติดตามอาการตามมา เช่ น กล้ามเนือ้ หัวใจอักเสบ
• แยกผู้ป่วยจนกว่ า ผลเพาะเชื้อให้ ผลลบติดต่ อกัน 2 ครั้ง ห่ างกันอย่ างน้ อย
24 ชั่วโมง ภายหลังหยุดให้ ยาปฏิชีวนะ
• เพือ่ เสริมภูมิคุ้มกันสาหรับผู้ป่วยคอตีบ ให้ Diphtheria Toxoid
จานวน 3 ครั้ง แก่ผู้ป่วยทุกราย โดยเริ่มให้ วคั ซีนเข็มแรกก่ อนผู้ป่วยกลับ
บ้ านระยะห่ างระหว่ างเข็ม 1 เดือนและชนิดวัคซีนขึน้ กับอายุผู้ป่วยดังนี้
– ถ้ าผู้ป่วยอายุ ≥ 7 ปี ให้ dT
– ถ้ าผู้ป่วยอายุ < 7 ปี ให้ DT
มาตรการในผู้สัมผัส (Close contact)
• ค้นหาผูส้ มั ผัสใกล้ชิด ได้แก่ ผูท้ ี่ได้สมั ผัสติดต่อคลุกคลีกบั ผูป้ ่ วยในช่วง 14
วัน นับจากวันเริ่ มป่ วยของผูป้ ่ วยรายนี้ ติดต่อจากการไอ จาม พูดคุยกันใน
ระยะใกล้ชิด หรื อใช้ภาชนะร่ วมกัน
• ติดตามดูอาการทุกวันเป็ นเวลา 14 วัน ว่ามีอาการโรคคอตีบหรื อไม่ ถ้ามี
อาการให้การรักษาแบบผูป้ ่ วยทันที และให้เพาะเชื้อจากลาคอ (Throat
swab) ก่อนให้ยา erythromycin 40-50 mg/kg/day รับประทาน ≥7 วัน
– กรณีไม่ มีอาการ และเพาะเชื้อได้ผลบวก ให้ดาเนินการแบบเป็ นพาหะ
– กรณีมีอาการ และเพาะเชื้อได้ผลบวก ให้ดาเนินการแบบผูป้ ่ วยคอตีบ
– กรณีมีอาการ แต่เพาะเชื้อได้ผลลบ ให้แพทย์ตรวจวินิจฉัยอีกครั้ง
มาตรการในผ้ ูสัมผัส (Close contact)
• ไม่แนะนาให้ฉีด DAT ในผูส้ ัมผัสโรค เพื่อลดการแพ้
• ให้วคั ซีน DTP หรื อ dT ตามเกณฑ์อายุทนั ที โดยพิจารณาจากประวัติการ
ได้รับวัคซีน DTP ในอดีตดังนี้
– กรณี เด็กไม่เคยได้รับวัคซี น หรื อได้ไม่ครบ 3 ครั้ง หรื อไม่ทราบ ให้ DTP
สูตร 0, 1, 2 เดือน(ระยะห่างระหว่างเข็ม 1 เดือน)
– กรณี ที่เด็กได้รับวัคซี นครบ 3 ครั้งแล้ว แต่ยงั ไม่ได้รับการกระตุน้ ภายใน 1 ปี ให้
ฉี ด dT 1 เข็ม
– กรณี ที่เด็กได้รับวัคซี น 4 ครั้ง แต่ครั้งสุ ดท้ายนานเกิน 5 ปี ให้ฉีด dT 1 เข็ม
– กรณี ที่เด็กได้รับวัคซี น 4 ครั้ง ครั้งสุ ดท้ายไม่เกิน 5 ปี หรื อได้รับวัคซี นครบ 5
ครั้งแล้ว ไม่ตอ้ งให้วคั ซี นอีก
มาตรการในพาหะ (Carrier)
• ช่วงที่เป็ นผู้สัมผัสใกล้ ชิด ให้รับประทานยา erythromycin เป็ นเวลา 7 วัน
และเก็บตัวอย่าง Throat swab ส่ งตรวจเบื้องต้น
• เมื่อผลเพาะเชื้อจากลาคอเบื้องต้นเป็ นบวก สงสัยเชื้อ C. diphtheriae และยัง
ไม่มีอาการ จัดเป็ นพาหะ ให้รับประทานยา erythromycin ต่ออีก 7 วัน
• เมื่อผลเพาะเชื้อยืนยันจากกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ พบเชื้อ C. diphtheriae ที่
มียนี ผลิตสาร Toxin เมื่อรับประทานยาครบแล้วให้ส่งเพาะเชื้อในสารเลี้ยงเชื้อ
Loffler blood agar ซ้ าอีก 2 ครั้งห่ างกัน 24 ชัว่ โมง
• ถ้าผลเพาะเชื้อจากลาคอเป็ นผลบวกให้ยา erythromycin รับประทานต่อไป
และเพาะเชื้อจากลาคอช้ าอีกครั้งจนเป็ นผลลบ
• ให้วคั ซีนเช่นเดียวกับมาตรการในผูส้ มั ผัส
• ติดตามผลการเพาะเชื้อและรับประทานยาอย่างใกล้ชิดเป็ นเวลา 14 วัน
แบบรายงานคอตีบ
•
•
•
•
•
•
•
คอตีบ1 แบบสอบสวนโรคผูป้ ่ วยสงสัยและผูป้ ่ วยคอตีบ
คอตีบ2 แบบค้นหาผูส้ ัมผัสคอตีบ
คอตีบ3 แบบติดตามอาการสาหรับผูส้ ัมผัสใกล้ชิดผูป้ ่ วยคอตีบ
คอตีบ 4 ทะเบียนการตรวจ Throat swab
คอตีบ 5 ใบบันทึกผูป้ ่ วย/ผูส้ งสัยโรคคอตีบ
คอตีบ 6 แบบค้นหาผูป้ ่ วยสงสัยคอตีบในชุมชน
คอตีบ 7 แบบสัมภาษณ์เฝ้ าระวังโรคคอตีบเชิงรุ กโดย อสม.