แนวคิดการประกันคุณภาพการศึกษา.............. ประสบการณ์จากนานาชาติ

Download Report

Transcript แนวคิดการประกันคุณภาพการศึกษา.............. ประสบการณ์จากนานาชาติ

แนวคิดการประกันคุณภาพการศึกษา..............
ประสบการณ์จากนานาชาติ
สมหวัง พิธิยานุวฒั น์
ภาคีสมาชิก สานักธรรมศาสตร์และการเมือง
ราชบัณฑิตยสถาน
กรรมการพัฒนาระบบประเมินคุณภาพภายนอกระดับอุดมศึกษา สมศ.
อดีต ผอ. สมศ.
1. การประกันคุณภาพภายนอกระดับอุดมศึกษาในประเทศ
เอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้
1.1 หน่ วยงานประกันคุณภาพภายนอกระดับชาติ
ทุกประเทศมีหน่ วยงานประกันคุณภาพระดับชาติ ยกเว้ นประเทศ
พม่ า และติมอร์ เลสเต บางประเทศเป็ นหน่ วยงานอิสระ เช่ น ประเทศ
ไทย ประเทศมาเลเซีย แต่ อกี หลายประเทศเป็ นหน่ วยงานใน
กระทรวงศึกษาธิการ ประเทศฟิ ลิปปิ นส์ เป็ นประเทศแรกที่มี EQA
ตั้งแต่ ค.ศ. 1956 ประเทศที่มีหน่ วยงาน EQA ล่าสุ ด ปี 2006 คือ
กัมพูชา ประเทศไทย เป็ นประเทศเดียวใน SEA มี สมศ. เป็ น
องค์ การอิสระทีข่ นึ้ ตรงต่ อนายกรัฐมนตรี
1. การประกันคุณภาพภายนอกระดับอุดมศึกษาในประเทศ
เอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้
1.2 รูปแบบของหน่ วยงาน EQA แบ่ งเป็ น 3 รูปแบบ
1. เป็ นหน่ วยงานของรัฐบาลกลาง ได้ แก่ ประเทศบรูไน
ลาว พม่ า สิ งคโปร์ และ ติมอร์ เลสเต ซึ่งเป็ นหน่ วยงานใน
กระทรวงศึกษาธิการ
2. เป็ นหน่ วยงานกึง่ ราชการ กล่าวคือเป็ นหน่ วยงาน
ระดับชาติทรี่ ัฐสนับสนุนงบประมาณ มีการบริหารอิสระคล่องตัว
พอสมควร ได้ แก่หน่ วยงานของประเทศ กัมพูชา อินโดเนเซีย
มาเลเซีย ประเทศไทย และเวียดนาม
3. เป็ นหน่ วยงาน NGO ซึ่งมีในประเทศฟิ ลิปปิ นส์
เท่ านั้น
1. การประกันคุณภาพภายนอกระดับอุดมศึกษาในประเทศ
เอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้
1.3 ขอบข่ ายของหน่ วยงาน EQA สมศ.เป็ นหน่ วยงานเดียวทีม่ หี น้ าทีป่ ระเมิน
สถาบันอุดมศึกษาและสถานศึกษาระดับอืน่ ๆด้ วย
1.4 ขอบข่ ายของการประกันคุณภาพ
มีการรับรองวิทยฐานะทั้งระดับโปรแกรมและสถาบันในประเทศ
บรู ไน กัมพูชา อินโดนีเซีย ลาว ไทย และเวียดนาม โดยมีการรับรองวิทย
ฐานะโปรแกรมและการประเมินตรวจสอบสถาบันอุดมศึกษา เฉพาะ
ประเทศพม่ าและสิ งคโปร์ เท่ านั้น ทีม่ ีการประเมินเฉพาะระดับสถาบัน ใน
ประเทศไทยการประเมินคุณภาพภายนอก ในรอบสอง ประเมินทั้งระดับ
สถาบันและกลุ่มสาขาวิชา ซึ่งคาดว่ าในการประเมินรอบสาม สมศ.จะ
ประเมินระดับสถาบันและระดับคณะรวมทั้งวิทยาเขตและวิทยาคารหรื อ
ศูนย์ จัดการศึกษานอกทีต่ ้งั
1. การประกันคุณภาพภายนอกระดับอุดมศึกษาในประเทศ
เอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้
1.5 การประเมินคุณภาพภายนอกเป็ นการบังคับหรืออาสาสมัคร ส่ วน
ใหญ่ เป็ นการบังคับ ยกเว้ นประเทศ บรูไน มาเลเซีย ฟิ ลิปปิ นส์ ลาว
และเวียดนาม
1.6 กรอบมาตรฐานคุณวุฒิอุดมศึกษา มีเฉพาะในประเทศมาเลเซีย
สิ งคโปร์ และ ไทย ในบรูไน พึง่ เริมต้ นพัฒนา NQF
1. การประกันคุณภาพภายนอกระดับอุดมศึกษาในประเทศ
เอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้
1.7 การปฏิบัตดิ ้านการประกันคุณภาพ
– การประเมินตนเองมีการปฏิบัตใิ นประเทศอินโดนิเชีย มาเลเซีย ฟิ ลิปปิ นส์ สิงคโปร์ ไทย และ
เวียดนาม
– การรับรองวิทยฐานะ มีการดาเนินการในเกิบทุกประเทศ ยกเว้น พม่ า สิงคโปร์ และติมอร์ เลสเต
– การประเมินคุณภาพมีการปฏิบัตใิ น ลาว มาเลเซีย ฟิ ลิปปิ นส์ สิงคโปร์ ไทย และเวียดนาม
– การควบคุมคุณภาพมีการดาเนินการในประเทศ ลาว และไทย
– การประเมินโดยใช้ ระบบพิชญพิจารณ์ มีการปฏิบัตใิ นประเทศ อินโดนิเชีย มาเลเซีย และไทย
– การประเมินโดยการเยีย่ มเยือน มีการดาเนินการในกัมพูชา อินโดนิเชีย มาเลเซีย ฟิ ลิปปิ นส์ และ
ไทย
– การจัดทารายงานการประเมิน มีการดาเนินการใน บรูไน กัมพูชา อินโดนิเซีย มาเลเซีย ฟิ ลิปปิ นส์
และไทย
– ทุกประเทศเป็ นสมาชิก เครือข่ าย INQAASE,APQN และ AQAN
2. การประกันคุณภาพระดับ
อุดมศึกษาในประเทศอังกฤษ
• มาตรฐานวิชาการ หมายถึง ระดับความสาเร็ จที่
นักศึกษาจะได้รับเมื่อสาเร็ จการศึกษา มาตรฐานทาง
วิชาการควรอยูใ่ นระดับเดียวกันทัว่ ทั้งสหราชอาณาจักร
(อังกฤษ เวลส์ สกอตแลนด์ และ ไอร์แลนด์เหนือ)
• คุณภาพทางวิชาการ หมายถึง สิ่ งบ่งบอกถึงโอกาสใน
การเรี ยนรู ้ที่ช่วยให้นกั ศึกษาประสบความสาเร็ จใน
การศึกษา เช่น การสอนที่เหมาะสมมีประสิ ทธิภาพ การ
ประเมินผลอย่างเหมาะสม และการสนับสนุนอย่างมี
ประสิ ทธิภาพ
2.1 การประกันคุณภาพภายใน
มหาวิทยาลัยของสหราชอาณาจักร มีท้ งั หมด 169 แห่ง มีการ
บริ หารแบบกระจายอานาจให้วทิ ยาลัย ระบบประกันคุณภาพ
ภายในของมหาวิทยาลัยอยูใ่ นความรับผิดชอบแต่ละวิทยาลัย
โดยเฉพาะในเรื่ องการสอบและการประเมินผลนักศึกษา การมี
ระบบติดตามและตรวจสอบโปรแกรมการเรี ยนต่างๆอย่าง
สม่าเสมอและต่อเนื่อง
มหาวิทยาลัยทาหน้าที่ 3 เรื่ อง คือ
1. การจัดสอนแบบบรรยาย ให้สาขาวิชาการต่างๆซึ่ งมีนกั ศึกษาจาก
วิทยาลัยต่างๆมานัง่ ฟั งได้
2. การจัดสอบไล่ในทุกสาขาวิชา
3. เป็ นผูอ้ อกใบปริ ญญาให้ผสู้ าเร็ จการศึกษา
• ระบบการประเมินคุณภาพภายในนี้ ทุกสถาบันต้องดาเนินการอย่าง
น้อย 1 ครั้งทุก 5 ปี และโดยทัว่ ไปจะมีผเู ้ ชี่ยวชาญจากภายนอก
มาร่ วมด้วยเสมอ
2.2 การประเมินคุณภาพภายนอก
1993-1995 ประเมินโดย สภาจัดงบประมาณอุดมศึกษาของ
แต่ละแคว้น โดยในอังกฤษ และไอร์ แลนด์เหนือ เป็ นการประเมิน
คุณภาพการสอน โดยเน้นประสบการณ์การเรี ยนรู้ของนักศึกษา
และผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนแต่ละรายวิชา ซึ่ งแบ่งเป็ น 3 ระดับ คือ
ดีมาก พอใจ ไม่พอใจ
1995-2001 โดยประเมินการสอนในภาพรวม แบ่งเป็ น 4
ระดับ โดยแบ่งพอใจเป็ น พอใจกับพอใจอย่างมาก แล้วก็ดีมาก และ
ไม่พอใจ
2000-2002 ผลประเมินการสอน แบ่งเป็ น 3 ระดับ คือ
มัน่ ใจ มัน่ ใจจากัด และ ไม่มนั่ ใจ
• โดยการประเมินคุณภาพของโอกาสในการเรี ยนรู้ของนักศึกษา
เพิ่มขึ้น สาหรับการประเมินระดับสถาบัน ให้ความสาคัญกับการ
ประเมินมาตรฐานและคุณภาพด้านการบริ หารจัดการ แบ่งผล
ประเมินเป็ น 3 ระดับ มัน่ ใจโดยรวม มัน่ ใจจากัด และ ไม่มนั่ ใจ
•
ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2004 สถาบันอุดมศึกษาในประเทศอังกฤษ
มีขอ้ กาหนดให้สถาบันอุดมศึกษาเตรี ยมข้อมูล 3 เรื่ อง
ดังต่อไปนี้ไว้เพื่อการตรวจสอบได้ตลอดเวลาคือ
1. บริ บทของสถาบัน
2. การรับนักศึกษา ความก้าวหน้าและการสาเร็ จ
การศึกษา
3. กระบวนการภายในสถาบันที่แสดงให้เห็นถึง การ
ประกันคุณภาพและมาตรฐานทางวิชาการ
การประเมินภายนอกในปัจจุบนั โดย The
Quality Assurance Agency for Higher Education เป็ น
หน่วยงานอิสระจัดตั้งขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1997
 QAA ได้ รับเงินอุดหนุนค่าสมาชิกจาก
สถาบันอุดมศึกษาและเงินจาก HEFC ในแคว้ นต่างๆ
 QAA มีบทบาทหลักคือการปกป้องผลประโยชน์ของ
สาธารณะในด้ านคุณภาพและมาตรฐาน
ระดับอุดมศึกษาและสนับสนุนให้ มีการพัฒนาในด้ าน
การบริหารจัดการคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษา
อย่างต่อเนื่อง
 QAA ใช้ ประเมินโดย Expert Review
 เป้าหมายในการประเมิน ระดับสถาบัน (เดิมประเมิน
รายวิชาและโปรแกรมวิชา) และระดับคณะวิชา
เป้ าประสงค์ของการประเมินของ QAA มี 2 ประการ
1. เพือ่ ประกันว่ าสถาบันจัดการศึกษาและประสาทปริญญาและวุฒิบัตรต่ างๆ เป็ นไปอย่าง
มีคุณภาพและได้ มาตรฐานทางวิชาการในระดับทีย่ อมรับได้
2. เพือ่ ประกันว่ า มีการใช้ อานาจในการประสาทปริญญาเป็ นไปอย่ างถูกต้ องเหมาะสม
– ตั้งแต่ ค.ศ. 2006 เป็ นต้ นไป วงจรการประเมินเป็ นช่ วงละ 6 ปี
กระบวนการประเมิน
– ศึกษารายงานการประเมินตนเองของสถาบัน และตัวอย่างสาขาวิชา เพือ่ ศึกษาว่ า
– ระบบต่ างๆของสถาบันได้ ดาเนินการไปตามที่ต้งั ใจหรือไม่ เพียงใดก่ อนที่จะมีการ
เยีย่ มเยือนสถาบัน
– นักศึกษาจะได้ มสี ่ วนร่ วมประชุ มกับคณะผู้ประเมินและนักศึกษามีโอกาสเสนอ
ความเห็นเป็ นลายลักษณ์ อกั ษรด้ วย
ผลประเมินแบ่ งเป็ น 3 ระดับ เชื่อมัน่ ได้ เชื่อมัน่ แบบ
จากัด และไม่ เชื่อมัน่ โดยพิจารณา
จากความน่ าเชื่อถือของระบบบริหารจัดการสถาบัน
ในเรื่องคุณภาพของโปรแกรมและมาตรฐานทางวิชาการใน
ปัจจุบันและในอนาคต อีกทั้งพิจารณาจากความถูกต้ อง
ความชัดเจน ความสมบูรณ์ และความตรงไปตรงมาของ
ข้ อมูลต่ างๆ
ประเด็นสาคัญในการประเมินภายนอก มี 6 ประการ
1.
2.
3.
4.
5.
6.
การบริหารจัดการสถาบันด้ านมาตรฐานทางวิชาการ
การบริหารจัดการด้ านโอกาสของการเรียนรู้
วิธีการส่ งเสริมคุณภาพของสถาบัน
การบริหารจัดการด้ านความร่ วมมือ
การจัดโครงสร้ างสถาบันสาหรับการวิจัยของนักศึกษาหลังปริญญา
ข้ อสนเทศต่ างๆที่มีการตีพมิ พ์
โดยผู้ประเมินจะพิจารณาระบบวิธีการจัดการและกลไกด้ าน
คุณภาพว่ ามีความเชื่อมั่นได้ เพียงใด
ข้อมูลที่ผปู้ ระเมินต้องการ
1. เอกสารของสถาบันทีอ่ ธิบายถึงวิธีการเกีย่ วกับคุณภาพพร้ อม
หลักฐาน
2. เอกสารอืน่ ใดทีส่ ถาบันต้ องการให้ ผู้ประเมินอ่ านประกอบเอกสาร
ชิ้นที่ 1
3. รายงานต่ างๆทีส่ ามารถประเมินได้ โดย QAAเกีย่ วกับสถาบัน
หรือสิ่ งที่สถาบันดาเนินการ เช่ น รายงานที่ QAA หรือ
หน่ วยงานอืน่ ๆจัดทาขึน้
4. เอกสารทีจ่ ดั เตรียมโดยนักศึกษา
กระบวนการประเมินภายนอก
โดยปกติมี 4 คน และเลขานุการ 1 คน ถ้ าสถาบันซับซ้ อนมาก คณะผู้ประเมิน
จะเป็ น 5 คน
 ผู้ช่วยผู้อานวยการ QAA จะแนะนาสถาบันเตรี ยมการก่ อนรั บประเมิน จะ
ร่่วมทีมประเมินวิเคราะห์ เบือ้ งต้ น จะร่ วมไปเยือนสถาบันในวันแรก และ
ในวันสุดท้ าย หน้ าที่สาคัญของผู้ช่วยผู้อานวยการ QAA คือ ทดสอบว่ าผล
ประเมินมีหลักฐานอ้ างอิงพอเพียงหรื อไม่ และตรวจสอบว่ ารายงานผล
ประเมินได้ ดาเนินการอย่ างถูกต้ องครบถ้ วนตามขัน้ ตอนและถูกแบบฟอมร์
หรื อไม่
การคัดเลือกผู้ประเมิน
เป็ นผู้ชานาญการและมีประสบการณ์ ได้ รับการเสนอชื่อจาก
สถาบันอุดมศึกษาและเจ้ าตัวยินยอม QAA จะเลือกให้ ผ้ ูประเมินกระจาย
เลขานุการจะเลือกจากบุคลากรของสถาบันอุดมศึกษา ซึง่
จะช่วยประสานงานและสนับสนุนการประเมินในช่วง
การเยี่่ยมเยือน
 มีการอบรมคณะผู้ประเมินและเลขานุการโดย QAA
 มีการนัดหมายกับสถาบันก่อนเยี่ยมเยือนประมาณ 24
สัปดาห์
 การประชุมพบปะนักศึกษาเพื่อทาความเข้ าใจ
กระบวนการประเมิน โดยให้ นกั ศึกษาเตรี ยมเอกสาร
แล้ วส่งเอกสารให้ QAA เพื่อส่งต่อให้ ทีมประเมินไม่
น้ อยกว่า 5 สัปดาห์ก่อนที่จะเยี่ยมเยือนสถาบันรับ
ประเมิน
การเยีย่ มเยือนมี 2 ส่ วน
 Brief visit เพื่อช่วยให้ทีมประเมินเข้าใจสถาบันและ
วิธีการต่างๆ มีโอกาสซักถามข้อสงสัยจากการศึกษา
เอกสาร จะดาเนินการ 5 สัปดาห์ก่อนไปประเมินจริ ง
 การประเมินจริ งหรื อ Audit visit ใช้เวลาประมาณ 5
วัน จากวันจันทร์ถึงวันศุกร์ 4 วันแรกเป็ นการประชุมกับ
กลุ่มต่างๆ และสังเกตการณ์ รวมทั้งประชุมกับตัวแทน
นักศึกษา วันสุ ดท้ายทีมประเมินประชุมกันเอง เพื่อ
วิเคราะห์ขอ้ มูลและหาข้อสรุ ปสาคัญ กาหนดระดับผล
ประเมินและระบุผลงานดีเด่นของสถาบันรวมทั้งเขียน
ข้อเสนอแนะ
ก่อนเดินทางกลับทีมประเมินและผูช้ ่วยผูอ้ านวยการอาจพบปะ
ผูบ้ ริ หาร นาข้อสรุ ปเบื้องต้นมาทบทวน จัดทาข้อค้นพบสาคัญและ
ข้อเสนอแนะ ส่ งให้ผบู ้ ริ หารหลังการเยีย่ มเยือน 2 สัปดาห์ เพือ่ ขอ
แสดงความคิดเห็นกลับมา หลังการเยีย่ มเยือน ทีมประเมินยัง
ติดต่อกับสถาบัน เพือ่ ทาความชัดเจนในประเด็นต่างๆเพิม่ เติม
ทบทวนผลประเมิน แล้วจัดทารายงานฉบับสมบูรณ์
 รายงานการประเมินฉบับสรุ ป เขียนเพือ่ ให้สาธารณชนอ่าน ใช้ภาษา
ง่ายๆ ส่ วนรายงานฉบับสมบูรณ์ เขียนให้สถาบัน ใช้ภาษาทาง
วิชาการ มีหลักฐานประกอบอย่างชัดเจน พร้อมภาคผนวก
บทสรุ ปของรายงานและรายงานฉบับสมบูรณ์เผยแพร่ ใน
website ของ QAA
 การติดตามผลระหว่างช่วงรอบการประเมิน คือ ระยะ 3 ปี เป็ นส่ วน
หนึ่งของการประเมินภายนอกที่ทีมประเมินต้องติดตามว่า สถาบัน
มีการปรับปรุ งอะไรเพิม่ เติมหลังจากประเมินแล้ว อีกทั้งเป็ น
โอกาสการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ระหว่างผูป้ ระเมินกับสถาบัน
2.3 การประเมินคุณภาพผลงานวิจัย
ประเมินโดยสภาจัดสรรงบประมาณอุดมศึกษาของส
หราชอาณาจักร โดยเริ่ มปี 1986
ในปี 2001 ได้มีการสารวจคุณภาพความเป็ นเลิศของ
งานวิจยั ระดับอุดมศึกษา เพื่อให้มนั่ ใจว่า
1. สถาบันได้ใช้งบประมาณสนับสนุนงานวิจยั บน
พื้นฐานของคุณภาพของงานวิจยั สถาบันที่มีผลงานวิจยั ดีเยีย่ ม
จะได้รับงบประมาณของวิจยั ในสัดส่ วนมากกว่าสถาบันที่มี
งานวิจยั คุณภาพด้อยกว่า
2.โครงสร้างพื้นฐานของงานวิจยั ในสหราชอาณาจักร
ได้รับการคุม้ ครองและให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
การประเมินคุณภาพงานวิจยั เป็ นการประเมิน
ระดับสถาบัน ประเมินทุก 2-5 ปี เป็ นความรับผิดชอบ
ของสภาจัดสรรงบประมาณอุดมศึกษาของแต่ ละแคว้ น
(HEFC’s)
ผลประเมินแบ่ งเป็ น 6 ระดับ 5* 5 4 3a 2 และ 1
เป็ นการประเมินโดยแต่ งตั้งผู้ทรงคุณวุฒพิ จิ ารณา
ผลงานวิจยั ที่สถาบันส่ งมา โดยไม่ มีการเยีย่ มเยือน
สถาบัน
ตั้งแต่ ปี ค.ศ. 2008 เป็ นต้ นไป จาแนกผลประเมินคุณภาพ
งานวิจัยเป็ น 5 ระดับ คือ
คุณภาพแนวหน้าในระดับสากล ทั้งในมิติของนวภาพ
ความสาคัญ และมาตรฐานของการทาวิจยั
Three star
คุณภาพดีมากในระดับนานาชาติในมิติของนวภาพ ความสาคัญ
และมาตรฐานของการทาวิจยั แต่ไม่มีงานวิจยั คุณภาพยอดเยีย่ ม
Two star
คุณภาพเป็ นที่ยอมรับในระดับนานาชาติในมิติของนวภาพ
ความสาคัญ และมาตรฐานของการทาวิจยั
One star
คุณภาพเป็ นที่ยอมรับในระดับชาติ ในมิติของนวภาพ
ความสาคัญ และมาตรฐานของการทาวิจยั
Unclassified
คุณภาพงานวิจยั ต่ากว่ามาตรฐานระดับชาติ หรื อเป็ นงานวิจยั ที่
ไม่ได้ตีพิมพ์ตามเกณฑ์ที่กาหนด หรื อไม่สอดคล้องกับ
วัตถุประสงค์ของการประเมิน
Four star
ในการประเมินคุณภาพงานวิจัย ครอบคลุม 3 มิติ คือ
1. ผลผลิตของงานวิจยั (Outputs) โดยให้อาจารย์เสนอได้คนละ 4 ชิ้น ใน 7 ปี ในรอบการประเมิน เช่น 1
มกราคม 2001 – 31 ธันวาคม 2007
2.สภาวะแวดล้อมการวิจยั (Research Environment) เป็ นข้อมูลในรอบประเมิน เกี่ยวกับ
–
–
–
–
จานวนนักศึกษาที่ทาวิจยั
รายได้จากงานวิจยั
คาอธิบายเสริ มเกี่ยวกับสภาวะแวดล้อมการวิจยั
ผลกระทบของผลงานวิจยั
3. ความเป็ นที่ยอมรับ (Esteem) ให้แสดงหลักฐานในรอบประเมิน เช่น
- สมาชิกของคณะกรรมการจัดสรรทุนวิจยั
- การได้รับเชิญเป็ นองค์ปาฐก
- การเป็ นบรรณาธิการวารสาร
- รางวัลและการได้รับประกาศเกียรติคุณยกย่องต่างๆ
- และอื่นๆ
การเปรียบเทียบ EQA ของประเทศสหราชอาณาจักรกับ
ประเทศไทย
ประเด็นการเปรียบเทียบ
1. จานวนสถาบันอุดมศึกษา
2. หน่ วยงานประเมิน
3. เป้ าหมายประเมิน
4. แหล่ งงบประมาณ
ประเทศสหราชอาณาจักร
169 (รัฐ 168 เอกชน 1)
QAA และ HEFCs (ประเมิน
วิจัย)
สถาบันอุดมศึกษา (เลิก
ประเมินระดับโปรแกรม แต่
จะประเมินระดับคณะวิชา)
QAA ได้ งบประมาณจาก
สั ญญากับ HEFCs และค่ า
สมาชิก ส่ วน HEFCs ใช้
งบประมาณแผ่ นดิน
ประเทศไทย (รอบ 3)
261 (รัฐ 182 เอกชน 79)
สมศ. (ส.ก.พ.ร.)
สถาบันระดับอุดมศึกษา คณะ
วิชา วิทยาเขต วิทยาคาร หรือ
ศูนย์ นอกทีต่ ้ งั
งบประมาณแผ่ นดิน
การเปรียบเทียบ EQA
กรกับ
1.ประกันว่ของประเทศสหราชอาณาจั
าสถาบันจัดการศึกษาและ
เพือ่ รับรองคุณภาพและมาตรฐานของ
ประสาทปริญญาและวุฒิบัตรต่ างๆ
สถาบันอุดมศึกษา
ประเทศไทย
เป็ นไปอย่
างมีคุณภาพถูกต้ องได้
5. ประสงค์อะไร
มาตรฐานทางวิชาการ
2.เพือ่ ให้ ความมั่นใจว่า
สถาบันอุดมศึกษาใช้ งบประมาณ
สนับสนุนงานวิจยั บนพืน้ ฐานคุณภาพ
งานวิจยั
6. นิยมอะไร
คุณภาพ ความเป็ นกลาง และความ
โปร่ งใส
คุณภาพ ความเป็ นกลาง และความ
โปร่ งใส
7. มั่นใจอะไร
รายงานประเมินตนเองระดับสถาบัน
และตัวอย่ างรายงานประเมินตนเอง
ระดับสาขาวิชา รวมทั้งรายงานของ
นักศึกษาและความเป็ นผู้ทรงคุณวุฒิ
รายงานประเมินตนเองกัลยาณมิตร
ประเมิน และความเป็ นผู้ทรงคุณวุฒิ
8. ต้ องการอะไร
ประเมินคุณภาพการสอนและคุณภาพ
งานวิจยั ของสถาบันอุดมศึกษา เพือ่ ใช้
ในการจัดสรรงบประมาณ
ประเมินผลการจัดการศึกษาตามพันธ
กิจของสถาบันอุดมศึกษาและคุณภาพ
ของวิชาการในด้ านการบริหารจัดการ
และการสอนที่เน้ นผู้เรียนเป็ นสาคัญ
9. มีอะไรเป็ นที่สุด
การปกป้ องผลประโยชน์ ของสาธารณะ
ในด้ านคุณภาพและมาตรฐาน
ระดับอุดมศึกษาและเพือ่ ให้ โครงสร้ าง
พืน้ ฐานของงานวิจยั ได้ รับความคุ้มครอง
และให้ เกิดการพัฒนาอย่ างต่ อเนื่อง
การปกป้ องผลประโยชน์ ของสาธารณะ
ในด้ านคุณภาพและมาตรฐาน
ระดับอุดมศึกษาได้ พฒ
ั นาตามอัตลักษณ์
อย่ างต่ อเนื่อง และได้ มาตรฐานสากล
10. มาตรฐาน/ ประเด็นที่ประเมิน
1.การบริหารจัดการด้ านมาตรฐานทาง
วิชาการ
2.การบริหารจัดการด้ านคุณภาพทาง
วิชาการหรือโอกาสในการเรียนรู้
3.วิธีการส่ งเสริมคุณภาพของสถาบัน
4.การจัดการด้ านความร่ วมมือ
5.การจัดโครงสร้ างสถาบันสาหรับการ
วิจยั ของนักศึกษาหลังปริญญา
6.สิ่งตีพมิ พ์ต่างๆ
KPI พืน้ ฐาน (11)
KPI อัตลักษณ์ (2)
KPI ส่ งเสริม (6)
KPI ในพันธกิจที่แสดงถึงผลการจัด
การศึกษาของสถาบันรับประเมิน มี
นา้ หนักไม่ ตา่ กว่าร้ อยละ 75
11. ผู้ประเมิน
ผู้เชี่ยวชาญที่ได้ รับการเสนอชื่อจาก
สถาบันรับประเมิน ทีมประเมิน 4-5 คน
และเลขานุการ ซึ่งผู้บริหารอาวุโสจาก
สถาบันรับประเมิน ผู้ช่วยอานวยการ
QAA เป็ นผู้ประสานงานกับสถาบันรับ
ประเมินและตรวจสอบความถูกต้ องของ
การประเมิน
ผู้ทรงคุณวุฒิที่สมศ.แต่ งตั้ง 3-10 คน ต่ อ
สถาบัน ขึน้ อยู่กบั ขนาดของสถาบัน โดย
มีสานักงานเป็ นผู้ประเมินกับสถาบันรับ
ประเมิน โดยมีผ้ทู รงคุณวุฒิอาวุโสเป็ นผู้
ประเมินอภิมานรายงาน
การเปรียบเทียบ EQA ของประเทศสหราชอาณาจักรกับ
ประเทศไทย
12. เกณฑ์ การประเมิน
13. บทบาทของนักศึกษาในการ
ประเมิน
14. วิธีการประเมิน
ขึน้ อยู่กบั การพิจารณาของ
ผู้ทรงคุณวุฒิ ตัดสิ นว่ าอยู่ประเภท
เชื่อมัน่ เชื่อมัน่ จากัด และไม่
เชื่อมัน่
เป็ นจุดเน้ นได้ ร่วมประชุ มกับทีม
ประเมิน แล้ วเสนอรายงานเป็ น
ลายลักษณ์ อกั ษรด้ วย
เป็ นการกาหนดเกณฑ์ แน่ นอน
ผู้ทรงคุณวุฒิพจิ ารณา เฉพาะการ
ให้ คะแนน แล้ วพิจารณาว่ ารับรอง
หรือไม่ รับรองมาตรฐาน
มีส่วนร่ วมในการให้ ข้อมูล
บทบาทไม่ เด่ นชัด
ประเมินโดยเยีย่ มเยือน 2 ระยะ คือ
ครั้งแรก เพือ่ แลกเปลีย่ นซักถาม
เอกสาร และครั้งทีส่ อง เยีย่ มเยือน
5 วัน คือ คืนวันจันทร์ ถึงวันศุกร์
โดยวันแรกและวันสุ ดท้ ายจะมี
ผู้ช่วยผู้อานวยการ QAA ร่ วมด้ วย
ประเมินแบบกัลยาณมิตรโดยเยี่ยม
เยือนสถาบันทีไ่ ด้ รับการประเมิน
3-5 วันแล้ วแต่ ขนาดของ
มหาวิทยาลัย
15. การแจ้ งล่วงหน้ า
16. ประชุ มอบรมทีมประเมิน
17. การเขียนรายงานการ
ประเมิน
18. การเผยแพร่ ผลประเมิน
19. วงจรการประเมิน
20. การติดตามผลครึ่งวงจร
การประเมิน
24 เดือน
มี
สองฉบับ ฉบับสาธารณชน
และฉบับสมบูรณ์ ให้ สถาบัน
ได้ รับประเมิน
Website QAA สาหรับ
รายงานทั้ง 2ฉบับ
QAA 6 ปี
HEFC’s 2-5 ปี
QAA ให้ ทมี ประเมินติดตาม
การดาเนินงานของสถาบัน
รับประเมิน หลังจากประเมิน
แล้ว 3 ปี โดยถือว่ าเป็ นส่ วน
หนึ่งของกระบวนการ
ประเมิน
1 ปี
มี
มีบทสรุ ปผู้บริหารอยู่ในเล่ม
รายงานฉบับสมบูรณ์
เผยแพร่ บทสรุ ปผู้บริหารใน
Website สมศ.
อย่างน้ อย 1 ครั้ง ทุก 5 ปี
มีการติดตามเฉพาะสถาบันที่
ไม่ ได้ รับรองมาตรฐาน โดย
ผ่านต้ นสั งกัด
ถามมา ..............
ตอบไป .......
สมหวัง พิธิยานุวฒั น์
ภาคีสมาชิก สานักธรรมศาสตร์และการเมือง
ราชบัณฑิตยสถาน
กรรมการพัฒนาระบบประเมินคุณภาพภายนอกระดับอุดมศึกษา สมศ.
อดีต ผอ. สมศ.