เศรษฐศาสตร์การเมืองกับอุดมการณ์

Download Report

Transcript เศรษฐศาสตร์การเมืองกับอุดมการณ์

บทวิเคราะห์ เศรษฐศาสตร์
การเมือง
นิเวศวิทยาการเมือง
และการวิพากษ์ทาง
อุดมการณ์
ผศ. ดร. จิตรกร โพธิ์งาม

เสรีนิยมใหม่
มาร์กซิสต์ใหม่
  อนาร์คิสต์ใหม่
  นิเวศนิยม

บทสรุป :
การรื้อถอนระบบคิดบนหนทาง
POSTMARXISM /
POSTMODERNISM
และ NEW ANARCHISM
เศรษฐศาสตร์การเมือง
กับนเี้ อุป็นดเรืมการณ์
บทวิเคราะห์
อ
่ งที่เกีย
่ วกับ “อุดมการณ์”
ในเศรษฐศาสตร์การเมือง แต่ในการวิเคราะห์ของเรา
เราจะไม่ใช้คาว่า “อุดมการณ์”
ในความหมายเชิงลบดังกล่าว “อุดมการณ์” ของ
เรามีความหมายแค่เพียงว่าเป็น “ระบบความคิด” ที่จะ
ช่วยให้เราเข้าใจได้ดข
ี น
ึ้ เกีย
่ วกับปัญหาเศรษฐกิจ
การเมืองและสังคมที่ลอ
้ มรอบตัวเรา
ระบบของเราเป็นอย่างไร กาลังมีปญ
ั หารุนแรง
อะไรบ้าง? ระบบจะพัฒนาไปในทางไหน ? แนวโน้มจะ
เป็นอย่างไร? สังคมเรามีเสรีภาพมากน้อย แค่ไหน ?
ความเสมอภาคความยุตธ
ิ รรมอยู่ที่ไหน ? สังคมในอุดม
คติ
ควรจะเป็นอย่างไร ?
อุดมการณ์ หรือ ideology เป็นคาที่เกิดขึ้น
ในช่วงการปฏิวต
ั ฝ
ิ รัง่ เศสมีการใช้เป็นครั้งแรกในปี
1797 ในความหมายของ “ศาสตร์ใหม่ แห่ง
ความคิด” ในยุคปัจจุบน
ั คานิยาม ที่เป็นกลางที่สุด มี
เนื้อหาดังนี้ :
อุดมการณ์ คือ ระบบความคิด ซึ่งมนุษย์ (ผู้คน)
นาไปใช้
ในการอธิบาย และการกระทา
เหล่านั้น จะพิทักษ์รก
ั ษา ปรับปรุง
หรือ
เปลี่ยนแปลงระบบเศรษฐกิจการเมืองที่ดารงอยูก
่ ต
็ าม
ระบบความคิดเหล่านีจ
้ ะเป็นเครือ
่ งชีน
้ าสาคัญ
ในการช่วยให้มนุษย์เราสามารถมองเห็นได้วา่ ระบบ
เศรษฐกิจการเมืองของเราเป็นอย่างไร
มี
ปัญหาอย่างไร ระบบที่นา่ ใฝ่ฝน
ั และพึงปรารถนาควร
จะเป็นอย่างไร ?
องค์ประกอบที่สาคัญที่สุดของอุดมการณ์ เห็นจะเป็นสิง่ ที่
เราเรียกว่า “โลกทัศน์” (worldview)
ในที่นี้ โลกทัศน์ หมายถึง ระบบเกีย
่ วกับความเชือ
่
ค่านิยม และ วิธีคิดซึ่งมีบทบาทสาคัญในการให้
ความหมายแก่โลก และกาหนดชะตากรรมของโลก อัน
เป็นที่อยูอ
่ าศัยของผูค
้ น
คนทุกคนย่อมมีโลกทัศน์ซงึ่ ประกอบด้วยหลักการ
บางอย่าง อันเป็นเครือ
่ งชีน
้ าพฤติกรรมและการกระทา
ของเขา โลกทัศน์จะมีเนือ
้ หาอย่างไรนัน
้ ส่วนหนึง่
ย่อมขึ้นอยูก
่ บ
ั ระบบที่ดารงอยู่ และการหล่อหลอมจาก
สถาบันสังคม
ในที่นี้ อุดมการณ์และโลกทัศน์
จะครอบคลุม 3 มิติ คือ

 การเสนอความคิดเห็นเกีย
่ วกับระบบเศรษฐกิจ

 การหาเหตุผลมาสนับสนุนความชอบธรรม
(หรือความไม่ ชอบธรรม) ของสิ่งที่ดารงอยู่

 การเสนอภาพ “วิชั่น” (vision) เกี่ยวกับ
เศรษฐกิจสังคมในอุดมคติ
สังคมที่มีอยู่
อุดมการณ์ในโลกนีม
้ ีมากมาย แต่เราจะเน้นเฉพาะ
อุดมการณ์หลักที่สาคัญของนักเศรษฐศาสตร์ ซึ่งมี 3
สานัก คือ อนุรก
ั ษ์นย
ิ มใหม่ เสรีนย
ิ มใหม่
ซ้าย
ใหม่ หรือ (มาร์กซิสต์ใหม่) การที่เราใช้คาว่า “ใหม่”
ก็เพื่อจะให้ความสาคัญสูงแก่การวิเคราะห์แนวคิดใน
ยุคปัจจุบน
ั ของศตวรรษที่ 20
 นักเศรษฐศาสตร์แนวอนุรก
ั ษ์นย
ิ มใหม่ เช่น
FRIEDMAN ส่วนใหญ่กไ
็ ด้รบ
ั อิทธิพลมาจากอนุรก
ั ษ์
นิยมเก่า เช่น จากอาดัม สมิธ (ADAM SMITH)
แนวคิดของฝ่ายซ้ายใหม่ได้รบ
ั อิทธิพลมาจาก คาร์ล
มาร์กซ์ (KARL MARX) เป็นต้น
แนวอนุร ักษ์นย
ิ มใหม่
โลกทัศน์ของอนุรก
ั ษ์นย
ิ มใหม่ มีรากฐานทาง
อุดมการณ์ย้อนหลังไปไกลถึงนักเศรษฐศาสตร์ชอ
ื่
ADAM SMITH (1723-1790)
อาดัม สมิธ มีพื้นฐานทางปรัชญา 3 ข้อ คือ
1. มนุษย์ทุกคนมี “สิทธิทางธรรมชาติ” ที่จะ
แสวงหาและปกป้องทรัพย์สมบัติของตน
2. โดยธรรมชาติแล้ว มนุษย์ทุกคนย่อมนิยมวัตถุ
และ
3. มนุษย์ทุกคนคิดอย่างมีเหตุผล (rational) และ
ใช้เหตุผลนี้ แสวงหาความร่ารวยทางวัตถุให้มาก
ที่สุดเท่าที่ทาได้ ปรัชญาแบบนี้
เราเรียกว่า
“ปัจเจกชนนิยม” (individualism) และเป็นปัจจัย
สาคัญที่ผลักดันให้มนุษย์ทาการแข่งขันในตลาด
ในขั้นพื้นฐานนักเศรษฐศาสตร์ แนว
อนุรักษ์นย
ิ มใหม่ยค
ุ ปัจจุบัน ยังคงยึด
มั่นในปรัชญาหลัก 2 ข้อ ของ
อาดัม สมิธ นั่นคือ
1. ระบบตลาดและการแข่งขัน เป็นหัวใจของการจัดการ
ทางเศรษฐกิจ
2. สิทธิเสรีภาพส่วนบุคคล จะต้องไม่มข
ี ด
ี จากัดและไม่มี
การละเมิดหรือถูกลิดรอน
นักเศรษฐศาสตร์แนวนี้ ต่อต้านการแทรกแซงของรัฐที่
เข้าไปยุง่ กับกลไตลาด และยังมองว่าการทีร่ ฐ
ั บาลมี
ภารกิจที่ขยายตัวมากขึน
้ (Big Government) จะเป็น
การคุกคามความเจริญทางเศรษฐกิจอย่างร้ายแรง
หลักปรัชญาอีกข้อหนึง่ ของอนุรก
ั ษ์นย
ิ มใหม่ คือ การ
ให้ความสาคัญสูง
แก่ ปัจเจกชนนิยม
(individualism) และเสรีภาพส่วนบุคคล
แต่ละ
บุคคลย่อมมีเสรีภาพเต็มที่ในการดารงชีวต
ิ หรือทา
ธุรกิจ ไม่มีใคร
มากาหนดได้วา่ เขาควรทาอะไร
ไม่ควรทาอะไร และแต่ละคนย่อมรูด
้ ้วยตัวเองว่าอะไร
ดี อะไรไม่ดี
ปัญหาหลักของอนุรก
ั ษ์นย
ิ ม คือ ปล่อยให้ปญ
ั หา
จริยธรรม เป็นเรือ
่ งที่ปจ
ั เจกชนจะต้องใช้ดุลพินจ
ิ เอา
เอง นโยบายและข้อเสนอแนะใด ๆ ที่ขัดกับ
หลัก
เสรีภาพส่วนบุคคลย่อมต้องได้รบ
ั การปฏิเสธ
Libertarian Economics
ของ Friedman
นักเศรษฐศาสตร์แนวอนุรก
ั ษ์นย
ิ มใหม่ มีชื่อเรียก
อีกอย่างหนึง่ ว่า libertarian บุคคลที่มีแนวคิดนี้
เชื่อว่า เสรีภาพของปัจเจกบุคคลย่อมสาคัญเหนือ
สิ่งใด
libertarian economics สอนว่า ตลาดสามารถ
ปกป้องคุม
้ ครองเสรีภาพได้ดีที่สด
ุ รัฐไม่มว
ี น
ั ที่จะ
ทาเช่นนัน
้ ได้เลย เพราะฉะนัน
้ เราจะต้องขยาย
บทบาทของตลาด และลดบทบาทของรัฐ
อาจกล่าวได้วา่ บุคคลที่สอนแนวคิดแบบนี้ คือ
Economic Jeffersonian ซึ่งเชื่อว่า “รัฐบาลที่
ดีที่สุด คือ รัฐบาลที่ใช้อานาจปกครองน้อยที่สุด”
Friedman ประกาศว่า
“ ระบบการจัดองค์กรทีใ
่ ห้เสรีภาพทาง
เศรษฐกิจโดยตรง คือ ระบบทุนนิยมแบบ
แข่งขัน ระบบนีส
้ ่งเสริมเสรีภาพทางการเมือง
ด้วย เพราะเป็นระบบทีแ
่ ยกอานาจเศรษฐกิจ
ออกจากอานาจทางการเมือง ด้วยวิธีการนี้ มี
ผลให้อานาจ 2 แบบ ดังกล่าวไม่เข้ามา
เกี่ยวข้องกัน”
“พัฒนาการทางประวัตศ
ิ าสตร์ชี้ให้เรา
เห็นอย่างชัดเจนว่า เสรีภาพทางการเมือง และ
ตลาดเสรีมค
ี วามสัมพันธ์สอดคล้องกัน ที่ไหนมี
เสรีภาพทางการเมืองทีน
่ ั่นย่อมมีตลาดเสรีดว
้ ย
ซึ่งทาหน้าทีค
่ อยจัดการเรือ
่ งกิจกรรมทาง
เศรษฐกิจ”
ในช่วง 1970-1990 เศรษฐศาสตร์การเมืองของ
New Right
(กลุ่มขวาใหม่)
มีอิทธิพลต่อการวางนโยบายเศรษฐกิจสังคมของ
ประเทศทุนนิยมตะวันตก บางประเทศเป็นอย่างมาก
โดยเฉพาะในอังกฤษภายใต้การบริหารงาน
ของ
นางมาร์กาเร็ต
บนพื้นฐานของความชื่นชมแนวคิดเกีย
่ วกับ
“เสรีภาพของตลาด”
ของ Hayek นัก
เศรษฐศาสตร์ของกลุ่มขวาใหม่
เสนอ
แนวนโยบายหลัก 2 ข้อ เพื่อบริหารระบบเศรษฐกิจ
สมัยใหม่
คือ
1.
กลุ่มขวาใหม่ต้องการให้เศรษฐกิจภาครัฐบาลใช้
กลไกตลาดเช่นเดียวกับ ในภาคเอกชน ซึ่งจะทา
ให้มีการจัดระบบบริการสังคมด้วยต้นทุนต่าสุด
และใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพมากที่สุด
ด้วยเหตุนี้ เราจึงเห็นได้วา่ กลุ่มขวาใหม่เสนอให้มี
การแปรรูปรัฐวิสาหกิจอย่างกว้างขวาง
(privatization)
แนวคิดนีร้ ะบาดไปยังยุโรปตะวันออก และรัสเซีย
ด้วยการปฏิรป
ู เศรษฐกิจ ที่นั่น หมายถึง การ
เปลี่ยนแปลงไปสูต
่ ลาดเสรี
โดยมีการแปรรูปรัฐวิสาหกิจเป็นโครงการที่สาคัญ
ที่สุด เราอาจกล่าวได้วา่ การแปรรูปที่ใหญ่โต
จานวนมากมายที่สด
ุ ในโลกกาลังเกิดขึ้นอย่าง
รวดเร็ว ในอดีตประเทศสังคมนิยม
1. กลุ่มขวาใหม่ตอ่ ต้านแนวคิด
“welfare state” หรือ “รัฐสวัสดิการ” โดย
มองว่าระบบการบริการสังคมอย่างรอบด้าน
โดยรัฐ ทาให้รฐ
ั เข้ามายุง่ เกี่ยวกับชีวต
ิ
ของประชาชนมากเกินไป อันเป็นการสร้าง
อานาจล้นฟ้าให้แก่รฐ
ั เสรีภาพของบุคคลถูก
จากัด ความรูส
้ ึกรับผิดชอบต่อชะตากรรม
ของตนเองสูญหายไป
นอกจากนัน
้ ยังเป็นการให้อภิสิทธิแก่ผู้
ยากไร้เหนือกลุม
่ อืน
่ ๆ ซึ่งไม่เป็นการยุตธ
ิ รรม
กลุ่มขวาใหม่ตอ
้ งการให้รฐ
ั ถอนตัวออกไป
จากการบริการสังคม และให้เอกชนเข้ามา
ดาเนินการแข่งขันกันในระบบตลาด
1. ระบบกรรมสิทธิเ์ อกชน และระบบธุรกิจเสรี
จะต้องได้รบ
ั
การปกป้องคุม
้ ครอง (ข้อนี้
เหมือนกับอนุรก
ั ษ์นย
ิ มใหม่) เสรีภาพ
ในการ
ถือครองกรรมสิทธิแ
์ ละเสรีภาพในระบบตลาดเป็น
สิ่งสาคัญ
2. อย่างไรก็ตาม ความสุขสมบูรณ์ของสังคม และ
ผลประโยชน์สว
่ นรวมของเศรษฐกิจจะต้องอยู่
เหนือผลประโยชน์ของบุคคล แสดงว่า เสรีภาพ
ส่วนบุคคลมีขอบเขตจากัดและต้องอยู่ใต้
ผลประโยชน์ของสังคม
นักคิดเสรีนย
ิ มที่ยงิ่ ใหญ่ JOHN MAYNARD
KEYNES กล่าวเกีย
่ วกับปรัชญาหลัก 2 ข้อไว้วา่
“ในโลกเรานีไ
้ ม่จาเป็นเสมอไปว่า ผลประโยชน์
ของเอกชนและสังคมจะต้องสอดคล้องกัน การ
แสวงหาผลประโยชน์ของเอกชน ไม่ได้ก่อให้เกิด
ประโยชน์ตอ
่ สังคมทุกครัง้ ไป เราต้องยอมรับว่า
การกระทาของปัจเจกชนบ่อยครัง้ เป็นไปเพือ
่
สนองความต้องการและเป้าหมายของตนเองโดย
ไม่มีการคานึงถึงสังคมแต่อย่างใดเลย”
ในทัศนะของ เคนส์ เสรีภาพตามธรรมชาติของ
ปัจเจกชน ไม่ได้ให้หลักประกันเลยว่าสังคม
ส่วนรวมจะได้รบ
ั ผลประโยชน์ไปด้วยอัตโนมัติ
เมื่อเป็นเช่นนี้ รัฐบาลมีหน้าที่ที่จะต้องแทรกแซง หรือ
ควบคุมเศรษฐกิจ เพื่อประโยชน์สุขของสังคมและ
มหาชน ผลประโยชน์ที่สังคมได้รบ
ั ย่อมมีนาหนั
้
ก
เหนือกว่าการเรียกร้อง “สิทธิเสรีภาพทางธรรมชาติ
ของบุคคล”
การเข้าแทรกแซงเศรษฐกิจอาจมีหลายแนวหลาย
รูปแบบ ซึ่งล้วนแต่มีวต
ั ถุประสงค์สด
ุ ยอดเดียวกัน นั่น
คือ ทาการแก้ไขปรับปรุงข้อบกพร่องต่างๆ เพื่อ
ก่อให้เกิด ผลประโยชน์สูงสุดแก่สงั คมส่วนรวม
เมื่อมองประวัตศ
ิ าสตร์เศรษฐกิจสังคมของโลก
ตะวันตกเราจะเห็นว่า ในขณะทีก
่ ารพัฒนา
อุตสาหกรรมดาเนินไป รัฐบาลได้เข้ามา
แทรกแซงและควบคุมเศรษฐกิจ ในหลาย
รูปแบบด้วยกัน เช่น






การควบคุมธุรกิจผูกขาด
 การสถาปนา ระบบสหภาพแรงงาน
 การใช้ ระบบสวัสดิการสั งคม และการประกันสั งคม
 การส่ งเสริมการแข่ งขันทางธุรกิจ
 การแก้ไขปัญหาความยากจน และการกระจายรายได้
 การปรับปรุ งคุณภาพสิ่ งแวดล้ อม
Galbraith
กับการวิพากษ์เศรษฐศาสตร์
ในค่ายของเศรษฐศาสตร์แนวเสรีนย
ิ มใหม่ยค
ุ ปัจจุบน
ั
บุคคลที่มีชอ
ื่ เสียงที่สุดเห็น จะเป็น John Kenneth
Galbraith จากคณะเศรษฐศาสตร์
ของมหาวิทยาลัย
ฮาร์วาร์ด
เขากล่าวสรุปว่า
นักเศรษฐศาสตร์มัวแต่ไปสนใจเรือ
่ ง ดีมานด์ – ซัพ
พลาย ในตลาดที่เป็นนามธรรม เรื่องที่สาคัญกว่า คือ
เรื่อง “อานาจเศรษฐกิจ” ได้ถูกหลงลืมไป อย่างสิ้นเชิง
จึงทาให้เราไม่สามารถจะเข้าใจปรากฎการณ์ต่างๆ ใน
ระบบเศรษฐกิจได้
เศรษฐศาสตร์นิโอคลาสสิค ยังคงเป็น นิโอคลาสสิค
เหมือนเดิม คือ เชื่อว่า
สูงสุด
1. ผู้บริโภคมีอธิปไตย
2. เป้าหมายของธุรกิจ คือ การแสวงหากาไร
3. ธุรกิจอยู่ใต้อท
ิ ธิพล ของตลาดทั้ง 3 ข้อ คือ
เสาหลักของเศรษฐศาสตร์ แนวนิโอคลาสสิค ซึ่ง
พยายามจะปิดหูปด
ิ ตาตัวเอง โดยไม่คานึงถึงบทบาท
ของ “อานาจ” ในระบบเศรษฐกิจเลย
แต่ในโลกแห่งความเป็นจริง ทุนนิยมไม่ได้
ปรากฎท่ามกลางความว่างเปล่า (แบบไม่มอ
ี ะไร
เลย) เมื่อมี สถาบันกรรมสิทธิเ์ อกชน เกิดขึ้นมา
การแบ่งรายได้ และอานาจที่ไม่เท่าเทียมกันก็
ปรากฎตามด้วย
เมื่อมี สถาบันตลาดเสรี ก็ย่อมมีแนวโน้มที่
ธุรกิจบางรายต้องการเข้าไปมี “อานาจตลาด”
ความไม่สมบูรณ์ของตลาด (market
imperfections) มีอยู่มากมายหลายประเภท
แต่สิ่งทีส
่ าคัญทีส
่ ุดก็คือ ปรากฏการณ์
เช่นนีจ
้ ะเป็นการทาลายเป้าหมายอุดมคติ
บางอย่างของระบบเศรษฐกิจเสรี
โดยเฉพาะอย่างยิง่ หลักการทีบ
่ อกว่า “ให้
ผลประโยชน์แก่ แต่ละคนตาม
ความสามารถและสมรรถภาพของเขา”
จะกลายเป็นหลักการ “ให้ผลประโยชน์
แก่แต่ละคนตามฐานะอานาจของเขา”
บทสรุป : ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์
และอานาจในโลกแห่งความเป็นจริง
จากการวิเคราะห์มาทั้งหมดนี้ เราพอจะสรุปได้วา่
ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์กระแสหลัก (เช่นทฤษฎีนโี อ
คลาสสิค) แทบจะไม่ได้กล่าวถึงเรือ
่ ง “อานาจ
เศรษฐกิจ” เลย
ในแบบจาลองของการแข่งขันที่สมบูรณ์แบบ ย่อม
ไม่มีใครมีอานาจ เหนือใคร “กฎเศรษฐกิจ” มี
พลังเหนือกว่า “อานาจเศรษฐกิจ”
แต่ในโลกแห่งความเป็นจริงเราจะพบกับมิติและ
ปรากฏการณ์ของอานาจ ทุกหนทุกแห่ง จะมีคน
กลุ่มหนึง่ สามารถครอบงา ควบคุม คนอีกกลุม
่ หนึง่
เสมอ และก็มีหลายสถานการณ์ที่คนกลุม
่ หนึง่ ต้อง
คอยพึ่งพา และยอมรับคาสัง่ กฎเกณฑ์ ข้อบังคับ
จากคนอีกกลุม
่ หนึง่ เช่นกัน
ชีวิตเศรษฐกิจที่เป็นจริงไม่ได้อยูใ
่ นระบบดุลภาพที่
บริสุทธิห
์ ากแต่เป็น กระบวบการที่เกิดขึ้น
ท่ามกลาง โครงสร้างอานาจที่ไม่เท่ากัน
ในโลกเศรษฐกิจที่เป็นจริงในบางประเทศ เช่น
ประเทศไทยเราจะพบสถานการณ์ประการหนึง่ ที่นา่
กลัวและอันตราย นั่นคือ ธุรกิจเอกชนกาลังมีแนวโน้ม
ที่จะเข้ามาครอบงาระบบเศรษฐกิจมากขึ้น ดูเหมือนว่า
เอกชนจะเป็นกลุม
่ ที่คอ
่ นข้างมีอานาจมากกว่ากลุม
่
อื่นๆ คือ จะสามารถกาหนดได้วา่ จะผลิตอะไร อย่างไร
ที่ไหน เมื่อไร และเพื่อใคร ?
การรวมศูนย์อานาจแบบนี้ย่อมนาไปสูค
่ วามโน้มเอียง
ในการจัดสรรทรัพยากร ซึ่งจะก่อให้เกิดผลประโยชน์
แก่ธุรกิจเอกชนมากกว่าสังคมส่วนรวมทั้งหมด
และสิ่งที่นา่ อันตรายที่สุดก็คอ
ื ความจริงที่วา่ อานาจ
เบ็ดเสร็จของธุรกิจเอกชนย่อม หมายถึง การทาลาย
สิทธิขั้นพืน
้ ฐานของประชาชน ที่ทางานอยู่ในระบบ
ในยุโรป ความคิดสังคมนิยม (Socialism) และ ลัทธิมาร์กซ์
(Marxism) มีประวัตศ
ิ าสตร์คอ
่ นข้างยาวนานมาก สังคม
นิยม เพ้อฝัน (Utopian Socialism) กาเนิดขึ้นมาใน
ฝรั่งเศส เมื่อ 400 กว่าปีมาแล้ว
ในเยอรมันนี นักปรัชญาและนักเศรษฐศาสตร์ ชื่อ KARL
MARX (คาร์ล มาร์กซ์) ได้เผยแพร่ paradigm (พาราไดม์)
ใหม่ในการมองโลกและระบบเศรษฐกิจสังคมเมื่อ 130 กว่าปี
มาแล้ว
ทฤษฏีของเขานับว่าได้สร้างแรงจูงใจให้มีการคิดและการ
ปฏิบัตก
ิ าร เพื่อ ปฏิวัติสังคม ที่ดารงอยู่
ทฤษฎีนี้มีอท
ิ ธิพลสูงต่อพัฒนาการของสังคมศาสตร์ใน
เยอรมันนี และในยุโรป และยังก่อให้เกิดการ ปฏิวัติ
สังคมนิยม ในรัสเซีย ซึ่งมีผลสะท้อนต่อการเคลื่อนไหว
ของขบวนการสังคมนิยมทั่วโลก
เกี่ยวกับวิธค
ี ด
ิ แบบ เศรษฐศาสตร์การเมือง เราอาจสรุป
หลักการของ มาร์กซ์
ออกเป็น 3 ข้อ คือ
1.
ในระบบเศรษฐกิจ เราจะต้องให้ความสาคัญในการ
วิเคราะห์ เรื่อง ผลประโยชน์ ทางเศรษฐกิจ ซึ่งจะมีทั้งมิติ
ของความสอดคล้องกันและความขัดแย้งดารงอยู่ ใน
การแลกเปลีย
่ นทางเศรษฐกิจผูค
้ น 2 ฝ่าย ย่อมได้รบ
ั
ผลประโยชน์มากกว่า ความเหลื่อมล้าในการแบ่ง
ผลประโยชน์นย
ี้ ่อมมีผลกระทบต่อความสัมพันธ์
ทาง
เศรษฐกิจของกลุ่มคนเหล่านี้
2. ในการวิเคราะห์เรือ
่ งการแลกเปลีย
่ นและ
การแบ่งผลประโยชน์เราอาจมองไปที่การกระทา
และพฤติกรรมของมนุษย์ ในฐานะที่เป็นปัจเจก
บุคคลหรือเป็นกลุม
่ ชนก็ได้
มาร์กซ์ เน้นการวิเคราะห์เรือ
่ ง “ชนชั้นทาง
เศรษฐกิจ” เช่น ชนชัน
้ แรงงานกับชนชั้นนายทุน
โดยมองว่า กลุ่มคนที่อยู่ในชนชัน
้ ใด ชนชั้นหนึง่
มีแนวโน้มที่มีพฤติกรรมเหมือนกัน มีความต้องการ
และความใฝ่ฝน
ั เหมือนกัน มีวิถีชว
ี ต
ิ และโอกาส
เหมือนกัน ผลประโยชน์ ที่แตกต่างระหว่าง ชน
ชั้น มักก่อให้เกิด ความขัดแย้งทางชนชัน
้ เช่น
แรงงานกับทุน
3. ในระบบเศรษฐกิจ จะมีการเปลี่ยนแปลงอยู่
ตลอดเวลา ดังเช่น ในระบบ ทุนนิยม การสะสมทุน
จะเป็นตัวจักรสาหรับการพัฒนาและการเปลี่ยนแปลง
การสะสมทุนก่อให้เกิดการขยายตัวของอุตสาหกรรม
อันนาไปสูก
่ ารเจริญเติบโตของเมืองใหญ่ วิถีชว
ี ต
ิ แบบ
ใหม่เกิดขึน
้ มาพร้อม ๆ กับแบบแผนการบริโภค
ที่
เน้นความฟุง้ เฟ้อ ซึ่งกระตุ้นให้มีการทาลาย
ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมอย่างกว้างขวาง
การวิเคราะห์เชิงระบบ (system analysis) และการ
มองมิติ
ของการเปลี่ยนแปลง นับว่าเป็นลักษณะ
สาคัญประการหนึง่ ของเศรษฐศาสตร์การเมืองแนวมาร์ก
ซิสต์
ตัวอย่างของ Radical Economics ที่มีชื่อเสียงที่สุดคือ
แนวคิดทางเศรษฐศาสตร์การเมืองของ New Left (ซ้าย
ใหม่) ซึ่งกาเนิดมาท่ามกลาง
การเคลือ
่ นไหวของ
ขบวนการนักศึกษาของสหรัฐอเมริกา ในทศวรรษที่ 1960
นักคิดกลุ่มนี้วิจารณ์ทั้งทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ และระบบ
เศรษฐกิจทุนนิยมสมัยใหม่ โดยใช้จด
ุ ยืน ทางปรัชญา
ของ คาร์ล มาร์กซ์ กลุ่มซ้ายใหม่ทาการวิเคราะห์ระบบ ใน
แนวเดียวกับ มาร์กซ์
ฝ่ายซ้ายใหม่มองวิถก
ี ารผลิตและผลกระทบที่มต
ี ่อวิถี
ชีวิตทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง พวกเขาให้
ความสาคัญสูง ในการมองเรือ
่ ง อุดมการณ์และอานาจรัฐ
ฝ่ายซ้ายใหม่มีความเชือ
่ เช่นเดียวกับมาร์กซ์วา่ ความ
ขัดแย้งภายใน ระบบทุนนิยม จะนาไปสูก
่ ารปฏิวต
ั ิและ
การพังทลายของระบบในที่สุด ในขณะเดียวกันกลุ่มซ้าย
ใหม่ก็มีแนวคิดชัดเจนเกีย
่ วกับการสร้าง สังคมใหม่

ในการวิจารณ์ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์กระแสหลักเราได้เห็น
แล้วว่า นักเศรษฐศาสตร์ฝา่ ยซ้ายใหม่ได้กล่าวพาดพิงถึง
ระบบทุนนิยมอเมริกน
ั ด้วยข้อวิจารณ์ทั้งหมดนี้
อาจ
สรุปได้สน
ั้ ๆ คือ
- ในระบบมีความเหลือ
่ มล้าทางรายได้และทรัพย์สมบัติ
ดารงอยูม
่ าก
 - ระบบส่งเสริมให้มีการกีดกันทางผิวเชือ
้ ชาติและทาง
เพศ
 - ระบบเป็นตัวการที่กอ
่ ให้เกิดภาวะ “ความแปลกแยก”
ในโครงสร้างทางจิต
ของคนทางาน และประชาชนที่
อยู่ในวงการต่าง ๆ


้ ร ัพยากรอย่าง
่ เสริมการใชท
- ทุนนิยมสง
ั
ฟุ่มเฟื อยในการผลิตสงิ่ ทีไ่ ม่มค
ี า่ สาหร ับสงคม
และมีการละเลยการสนองความต้องการของ
่ นใหญ่
คนสว

- ระบบไม่สามารถแก้ไขปัญหาความไร้
เสถียรภาพทางเศรษฐกิจได้

- ทุนนิยมสน ับสนุนล ัทธิจ ักรวรรดินย
ิ มและ
ล ัทธิทหาร

- เศรษฐกิจแบบตลาดเสรีสด
ุ ขวมี
ั้ แนวโน้มทีจ
่ ะ
สร้างมลภาวะทีร่ า้ ยแรงอย่างกว้างขวาง
ในความคิดของเศรษฐศาสตร์ฝา่ ยซ้ายใหม่ ระบบ
ใหม่จะต้องไม่ใช่ ระบบ สังคมนิยมแบบโซเวียต ที่มี
การวางแผนส่วนกลางโดยรัฐ
เพราะ อานาจรัฐแบบผูกขาด ของโซเวียตก็มี
ลักษณะกดขี่ เช่นเดียวกับอานาจทุน นอกจากนี้ยังมี
การละเมิดสิทธิมนุษยชน อย่างกว้างขวางอีกด้วยใน
ระบบของโซเวียต
นักเศรษฐศาสตร์ฝา่ ยซ้ายใหม่ บางคนมีความเห็น
ว่าระบบใหม่นา่ จะเป็น “สังคมนิยมแบบตลาด”
(market socialism)
ดังปรากฏอยูใ
่ นแบบจาลองของนักทฤษฎีสังคม
นิยม คนสาคัญ ชื่อ OSKAR LANGE ซึ่งมีการ
ผสมผสานระหว่างกลไกตลาด และกลไกการ
วางแผนของรัฐ
นักเศรษฐศาสตร์ฝ่ายซ้ายใหม่ มี
แนวคิดทีช
่ ัดเจนมากอยู่ 2 เรื่อง
เกี่ยวกับระบบใหม่ คือ
1. จะต้องเป็นระบบที่มี การกระจายอานาจ ไม่ใช่เป็น
แบบรวมศูนย์ จากข้างบน ลงมาข้างล่าง
2. จะต้องเป็นระบบที่มี หลักการการมีสว
่ นร่วม โดยเฉพาะ
อย่างยิง่ แรงงานต้องมีสว
่ นร่วมในโครงสร้างการ
ตัดสินใจขององค์กร รวมทั้งมีอานาจในการวางนโยบาย
เศรษฐกิจของชาติรว
่ มกับบุคคลวงการอืน
่ ๆ ด้วย
สังคมนิยม ที่พึงปรารถนาไม่ใช่เป็นแบบ ผูกขาด หรือ
อานาจนิยม หากแต่เป็น สังคมนิยมแนวประชาธิปไตย
เป็นสังคมที่คนทุกคนสามารถมีชีวิตอยู่อย่างเท่าเทียม
อิสรเสรี ปลอดจากภาวะ แห่ง ความแปลกแยก และ
การครอบงา ทั้งปวง
การปฏิวต
ั ป
ิ ระชาธิปไตย ปี 1989 ในยุโรปตะวันออก และ
การล่มสลายของสหภาพ โซเวียตได้กระตุน
้ ให้ผค
ู้ นใน
วงการเศรษฐศาสตร์การเมือง แนวมาร์กซิสต์
ตั้ง
คาถามกันว่า “สังคมนิยม คืออะไรกันแน่?”
ในขณะเดียวกันก็เกิดความไม่แน่ใจกันขึน
้ มา จึงมีคาถาม
เพิ่มเติมว่า “สังคมนิยม มีอนาคตหรือไม่?“
ประการแรก
เราต้องยอมรับว่า สังคมนิยมที่ดารงอยูอ
่ ย่างเป็นจริง (ใน
ประเทศที่เรียกตัวเองว่าสังคมนิยม) ได้เปิดเผยให้เราเห็น
ความล้มเหลวทางเศรษฐกิจ มากกว่าที่เราได้เคย คิดคาด
กันไว้ ในอุดมการณ์มีการกล่าวถึงความเจริญความรุง่ เรือง
ความเสมอภาค แต่ในความเป็นจริงในยุโรปตะวันออก และ
สหภาพโซเวียต ระบบนีล
้ ม
้ เหลวอย่างมาก
การขยายตัวทางเศรษฐกิจและประสิทธิภาพในช่วง
70 ปีที่ผ่านมา มีน้อยมาก ความเสมอภาคในรูปแบบ
ต่าง ๆ ก็ไม่ปรากฏให้เห็นชัดเจน และยังมีวก
ิ ฤติการณ์
ทางสิ่งแวดล้อมที่หนักหน่วงด้วย
สิ่งที่สาคัญ คือ ประชาชนในระบบนีไ
้ ม่ได้พบเห็น
เสรีภาพทางการเมือง เลย ตลอดเวลาที่มก
ี ารสร้างสรร
สังคมนิยม พวกเขาได้ยินแค่คาว่า “ประชาธิปไตย
แบบรวมศูนย์” ซึ่งมีการรวมศูนย์มากกว่า
ประชาธิปไตย

ประการที่สอง ประเทศสังคมนิยมเหล่านี้ แม้จะไม่ใช่
สังคมนิยมที่แท้จริง แต่ก็มีหลักการหลายอย่างที่เอามา
จากคัมภีรส
์ งั คมนิยมโดยเฉพาะอย่างยิ่ง
- การมีระบบกรรมสิทธิส
์ ว
่ นรวมโดยจากัดกรรมสิทธิ์
เอกชน
 - การควบคุมการสะสมทุนโดยรัฐและระบบการวางแผน
ส่วนกลาง
 - การจากัดบทบาทของกลไกตลาด
 - การให้หลักประกันทางด้านการบริการสังคมและความ
มั่นคงทางสังคม


สรุปแล้ว หลักการหลายอย่างบ่งว่า ประเทศเหล่านีไ
้ ม่ใช่
นักเศรษฐศาสตร์การเมืองแนวมาร์กซิสต์สมัยใหม่ ได้ทา
การวิเคราะห์สงั คมนิยม ทั้ง 2 รูปแบบ และได้ข้อสรุปว่า
การผสมผสานกัน จะนาไปสูก
่ ารสร้างแบบจาลองสังคม
นิยมใหม่ ซึ่งพอจะเป็นความหวังสาหรับอนาคตได้
Thomas E. Weisskopf มีความเห็นว่า ประชาธิปไตย
ควรจะเป็นหลักการสาคัญที่สด
ุ ของการสร้างสังคมนิยม
โดยเน้น market socialism ในขณะเดียวกัน
ประชาธิปไตยจะต้องครอบคลุมทั้งการเมืองเศรษฐกิจและ
สังคมด้วย
นั่นคือต้องใช้หลักการ “การจัดการตนเอง” (self –
management) ด้วย
นอกจากนี้ จะมีการผสมผสาน 2 กลไก คือ กลไกตลาด
ทาหน้าที่จด
ั สรรทรัพยากรและ กลไกรัฐ ทาหน้าที่วาง
นโยบายมหภาคของเศรษฐกิจระดับชาติ รวมทั้งนโยบาย
ความมั่นคงทางสังคม และการแบ่งรายได้
แบบจาลองนี้ ก็คือ market socialism ในแนวคิดของ O.
Lange ผสมกับแนวคิดประชาธิปไตยทางการเมือง และการ
มีส่วนร่วม ในการจัดการ
ทางเศรษฐกิจสังคมนัน
่ เอง
ภาคผนวก
โลกท ัศน์ทต
ี่ า่ งก ัน ก ับการมองความเป็นจริงภายใต้
ระบบทุนนิยม
หน่ วย
paradig ธรรมชาติของ แรงจูงใจกระตุ้น
มนุษย์
การทางาน
วิเคราะห์
ms
-เพิ่มค่าจ้างรายได้ -- ปัจเจกชน
อนุรักษ์ นิยม แสวงหา
ผลประโยชน์
(บุคคล)
-กลัวการตกงาน
ใหม่
ส่วนตน
เสรีนิยมใหม่ มีคุณธรรม
ทฤษฎีทใี่ ช้ ในการ
วิเคราะห์
เป้ าหมายสู งสุ ด
-เน้นการสะสมวัตถุ
-- หน่ วยธุ รกิจ
เศรษฐศาสตร์นิโอคลา
สิ กที่เน้นหลักการ การ
แข่งขันและการ
แสวงหากาไรสูงสุด
แสวงหาเสรี ภาพของ
บุคคลสูงสุดและความ
เจริ ญทางวัตถุสูงสุ ด
-- เพิ่มค่าจ้างรายได้
ปัจเจกชนผสม -- เศรษฐศาสตร์ของ
กลุ่มชนในสังคม เคนส์
-- เน้นหลักการแข่งขัน
และการแสวงหากาไร
-- รัฐสนับสนุนเอกชน
แสวงหาความเสมอ
ภาคของบุคคลและ
ความยุติธรรมทาง
สังคม (ความเสมอภาค
ทางโอกาส)
ชนชั้นในสังคม
แสวงหาความเสมอ
ภาคทางสังคม
- สร้างสังคม
คอมมิวนิสต์ที่ทุกคน
เท่าเทียมกัน
-- กลัวการตกงาน
-- เน้นการสะสม
วัตถุ
มาร์ กซิสต์
ใหม่
มีจิตใจสามัคคี
ร่ วมมือกัน
-- แรงกระตุน
้ ทาง
อุดมการณ์
-- ไม่เน้นการสะสม
วัตถุ
(บริ ษทั )
- เศรษฐศาสตร์ของ
มาร์กซและซ้ายใหม่
- ทฤษฏีมูลค่าส่วนเกิน
และการปฏิวตั ิทางชน
ชั้น
paradi ระบบเศรษฐกิจแบบ
ตลาด
gms
ปัญหาหลักของ
เศรษฐกิจสั งคม
บทบาทของรัฐ
การเปลีย่ นแปลง
สั งคม
อนุรักษ์
นิยมใหม่
อยูใ่ นภาวะของดุลยภาพ
ซึ่งเกิดขึ้นจากความ
สอดคล้องของดีมานต์
ซัพพลาย
-
ธุรกิจเอกชนขาด
แรงจูงใจ
- แรงงานเรี ยกร้องมาก
ไป
- รัฐเข้ามายุง่ กับ
เศรษฐกิจมากไป
รัฐควรมีหน้าที่รักษาระเบียบ
เรี ยบร้อยของสังคมเท่านั้น
เพื่อให้กลไกตลาดแก้ไขปัญหา
ส่วนใหญ่ในเศรษฐกิจ
ควรเป็ นอย่าง
ขั้นตอนและเป็ นไป
ตามธรรมชาติอนั
เกิดจากการทางาน
ของระบบตลาด
เสรีนิยม
ใหม่
อยูใ่ นภาวะของดุลยภาพ
ซื่งเกิดขึ้นได้ โดยการ
แทรกแซงของรัฐใน
ระบบเศรษฐกิจ
-
มีแนวโน้มผูกขาดของ
ธุรกิจขนาดใหญ่
- รัฐบาลไม่มี
ประสิ ทธิภาพ
รัฐรักษาความเป็ นระเบียบ
เรี ยบร้อย และควรเข้า
แทรกแซงในเศรษฐกิจ เมื่อมี
ปัญหาเกิดขึ้น และเมื่อมีความ
ไม่ยตุ ิธรรมเกิดขึ้นทางสังคม
ควรเป็ นไปอย่าง
รวดเร็วโดยการ
สนับสนุนของรัฐ
อย่างเข้มแข็ง
มีการเน้นการแสวงหา
กาไรมากไป
- ระบบกรรมสิ ทธิ
เอกชนก่อให้เกิดปัญหา
มากมาย
- มีความไม่เท่าเทียมกัน
รัฐเป็ นผูร้ ักษาผลประโยชน์ของ ควรมีลกั ษณะเป็ น
ชนขั้นนายทุน
การปฏิวตั ิสงั คม
โดยการเคลื่อนไหว
มวลชน เพื่อล้มล้าง
ระบบเก่าและโลก
ทัศน์เก่าของสังคม
เก่า
มาร์ กซิสต์ อยูใ่ นภาวะที่มีความ
ขัดกันหลายอย่างและมี
ใหม่
วิกฤตการณ์
- มีการขูดรี ดแรงงาน
- มีการใช้ทรัพยากร
- มีภาวะ ความแปลก
-
เศรษฐศาสตร์ การเมืองแห่ งความหายนะ
และ
ความหายนะของเศรษฐศาสตร์ การเมือง