บทที่ 5

Download Report

Transcript บทที่ 5

บทที่ 5
ไวตามินและแร่ ธาตุ
ไวตามินและแร่ ธาตุ
ในบทนีน้ ักศึกษาจะได้ เรียนรู้เกีย่ วกับความสาคัญของแร่ ธาตุ
และไวตามินสาหรับสั ตว์ เคีย้ วเอือ้ ง เนื่องจากจุลนิ ทรีย์ทาหน้ าทีใ่ น
การย่ อยอาหารและสามารถสั งเคราะห์ ไวตามินทีล่ ะลายนา้ ได้ ความ
ต้ องการไวตามินในร่ างกายจึงมีความแตกต่ างจากสั ตว์ กระเพาะ
เดี่ยว นอกจากนีน้ ักศึกษาจะได้ เรียนรู้เกีย่ วกับหน้ าที่ของไวตามิน
และร่ าตุในสั ตว์ เคีย้ วเอือ้ งด้ วย
ทาไมต้ องมีความรู้เกีย่ วกับแร่ ธาตุ



แร่ ธาตุเป็ นสารอนินทรีย์ทมี่ คี วามสาคัญต่ อสุ ขภาพและการให้ ผลผลิต
สั ตว์ มีความต้ องการน้ อย แต่ ขาดไม่ ได้
แร่ ธาตุมหี น้ าที่ คือ
: เป็ นส่ วนประกอบของเซลล์ และ hemaglobin
:
:ส่ วนประกอบของกระดูก และฟัน
: เกีย่ วข้ องกับเมตาโบลิซึมของร่ างกาย
: ควบคุมสมดุลของกรดและด่ าง
ทาไมต้ องมีความรู้เกีย่ วกับไวตามิน
 ไวตามินเป็ นสารอินทรีย์ที่ร่างกายต้ องการในปริมาณน้ อย
แต่ ขาดไม่ ได้ เนื่องจากมีความจาเป็ นต่ อสุ ขภาพและการ
ให้ ผลผลิต มีหน้ าที่คอื
: เกีย่ วข้ องกับขบวนการเมตาโบลิซึม
: มีหน้ าที่เฉพาะในร่ างกาย เช่ น มีผลต่ อการมองเห็น
: มีผลต่ อการดูดซึม Ca
การแบ่ งแร่ ธาตุออกตามหน้ าที่
1. แร่ ธาตุทเี่ ป็ นส่ วนโครงร่ างของร่ างกาย ได้ แก่ Ca , P ,Mg ,Fและ Si
ทีเ่ ป็ นส่ วนประกอบของกระดูก และฟัน P และ S จาเป็ นต่ อการสร้ าง
โปรตีนในกล้ามเนือ้
2. แร่ ธาตุทเี่ ป็ นองค์ ประกอบของของเหลวในร่ างกาย เกีย่ วข้ องกับการ
ควบคุมความสมดุลของกรดและด่ างในร่ างกาย รักษา Osmotic
pressure เช่ น Na, K และ Cl
3. แร่ ธาตุทเี่ ป็ นส่ วนประกอบของเอนไซม์ และฮอร์ โมน เช่ น
Fe ,Cu ,Mn, Mg ,Zn ,Mo, Se และ I
แบ่ งตามปริมาณความต้ องการของร่ างกาย
1. Macro - elements คือ แร่ ธาตุทนี่ าไปใช้ สร้ างกระดูกและกล้ ามเนือ้ เช่ น
Ca, P, Mg ใช้ รักษาสมดุลของของเหลวในร่ างกาย ได้ แก่ Na, K , Cl
กระตุ้นการทางานของระบบประสาท เอนไซม์ และฮอร์ โมน คือ Mn,
Ca, P
2. Micro - elements หรือ Trace elements คือ แร่ ธาตุทเี่ ป็ นส่ วนหนึ่งใน
โครงสร้ างของฮอร์ โมน ไวตามิน และเอนไซม์ เช่ น I เป็ นโครงสร้ าง
กลุ่มหนึ่งของ thyroxin , Coเป็ นส่ วนหนึ่งของโครงสร้ างไวตามิน
B12
ความรู้เกีย่ วกับ calcium
เป็ นแร่ ธาตุทมี่ ีมากทีส่ ุ ดในร่ างกาย
แหล่ งของ Ca ในร่ างกาย
 ร้ อยละ 99 พบในส่ วนของกระดูกและฟัน
 Ca ทีเ่ หลือจะกระจายอยู่ในของเหลวของร่ างกาย ในรู ป
ของแคลเซียมอิออน (Ca++) ซึ่งมีความสาคัญต่ อขบวนการ
ทางสรีรวิทยาของร่ างกาย
 อาจพบ Ca ในส่ วนของเนือ้ เยือ
่ ต่ าง ๆ ของร่ างกายด้ วย
หน้ าที่ของแคลเซียม
เกีย่ วข้ องกับการสร้ างกระดูก
 เกีย่ วข้ องกับการแข็งตัวของเลือด ทาให้ prothrombin
เปลีย่ นเป็ นสารทรอมบิน thrombin
 เกีย่ วข้ องกับการหลัง่ ฮอร์ โมน
 ทาให้ กล้ ามเนือ้ หดตัว
 เกีย่ วข้ องกับการทางานของระบบประสาท

แหล่ งวัตถุดบิ ทีม่ ี Ca
: ในนา้ นม พืชตระกูลถั่ว
: ปลาป่ น กระดูกป่ น เนือ้ และกระดูกป่ น
 แหล่ งของแคลเซียมที่เสริมในอาหารสั ตว์
: แร่ ธาตุเสริม เช่ นแร่ ธาตุผง , แร่ ธาตุก้อน
: เปลือกหอยป่ นและไดแคลเซียมฟอสเฟต
 วัตถุดิบอาหารสั ตว์ ทม
ี่ ีแคลเซียมต่าคือ พวกธัญพืชและพืชหัวต่ าง ๆ

Ca ในอาหารถูกดูดซึมทีล่ าไส้ เล็ก
การขาด Ca
ในลูกโค - โรคกระดูกอ่อน (rickets) : กระดูกจะบาง กระดูกอ่อน ข้ อ
ต่ อและเข่ าจะบวมใหญ่ ผดิ ปกติ สั ตว์ จะเดินได้ ลาบาก
ในสั ตว์ ทโี่ ตเต็มทีเ่ กิดโรคกระดูกผุ (osteomalacia) : มีการดึงแคลเซียม
ในกระดูกมาใช้ มาก กระดูกมีความแข็งแรงลดลง ฟันจะผุและหลุด
ได้
ในโคนมหลังคลอดอาจมีปัญหาการขาดแคลเซียมที่แสดงออกให้ เห็น คือ
โรคไข้ นม (milk fever) อาจถึงตายได้ หากไม่ ได้ รับการรักษาทันเวลา
การมี Ca มากในร่ างกายมาก
: ทาให้ สมดุลของแร่ ธาตุอนื่ เสี ยไป
: เกิดเป็ นนิ่วในทางเดินปัสสาวะ
: ทาให้ สัตว์ เกิดอาการขาดธาตุ Cu, Mg, Fe และ Mn

โคนมทีโ่ ตเต็มทีแ่ ล้วการได้ รับแคลเซียมสู งเกินความต้ องการเป็ น
เวลานานทาให้ บริเวณข้ อต่ อและเข่ าขยายตัวใหญ่ ขนึ้ (osteoperosis)
ความรู้เกีย่ วกับธาตุฟอสฟอรัส (P)
เป็ นแร่ ธาตุทพี่ บมากเป็ นอันดับทีส่ องในร่ างกาย
-
: 80% ของฟอสฟอรัสทั้งหมดพบในกระดูกและฟัน
-
: ที่เหลือพบในกล้ามเนือ้ เนือ้ เยือ่ สมอง ตับ และพลาสมา
แหล่งของฟอสฟอรัส คือ เมล็ดธัญพืช เนือ้ กระดูกป่ น ปลาป่ นและ
นา้ นม
ฟอสฟอรัสจากพืชส่ วนใหญ่ (75%) อยู่ในรูปของไฟเตท (phytate)
การใช้ ประโยชน์ ของ Phosphorus
การใช้ ประโยชน์ โดยจุลนิ ทรีย์ในกระเพาะรูเมน
- เมื่อพืชอาหารสั ตว์ เข้ ากระเพาะรูเมนจะถูกจุลนิ ทรีย์ย่อย โดยใช้
เอนไซม์ phytase และนาฟอสฟอรัสไปใช้ ประโยชน์
การใช้ ประโยชน์ โดยตัวสั ตว์
- การดูดซึมฟอสฟอรัสเพือ่ ใช้ ประโยชน์ โดยตรงในตัวสั ตว์ เกิดขึน้ ที่
บริเวณส่ วนของลาไส้ เล็ก
 Ca: P ในอาหาร = 2:1 P จะใช้ ประโยชน์ ได้ มีประสิ ทธิภาพที่สุด
ฟอสฟอรัสมีหน้ าที่อย่ างไร
เป็ นส่ วนประกอบของโครงร่ าง (กระดูกและฟัน)
 เป็ นส่ วนประกอบของ DNA และ RNA
 เกีย่ วข้ องกับการเมตาโบลิซึมของพลังงาน เช่ น ATP
 เป็ นส่ วนประกอบของเอนไซม์ บางชนิด เช่ น flavoprotein และ
carboxylase)
ฟอสฟอรัสถูกขับออกจากร่ างกายพร้ อมกับมูล

การขาด P มีผลเสี ยอย่ างไร
ในลูกสั ตว์ : เกิดโรคกระดูกอ่ อน
ในสั ตว์ ที่โตเต็มทีแ่ ล้ว : ทาให้ เกิดโรคกระดูกผุ
ในโค-กระบือการขาดฟอสฟอรัส : จะทาให้ สัตว์ แสดงอาการเบื่ออาหาร
พร้ อมแสดงพฤติกรรมผิดปกติ(Pica) เช่ น กินหรือแทะไม้ บริเวณคอก
 การขาดฟอสฟอรัสเป็ นเวลานาน ๆ จะทาให้ กล้ ามเนือ้ อ่ อนแอ
ในโคนมจะมีผลให้ ประสิ ทธิภาพในการสื บพันธุ์ลดลง การผสมติดต่า
และปริมาณน้านมลดลงด้ วย
แมกนีเซียม



:ร้ อยละ 70 อยู่ในกระดูก
:ทีเ่ หลือมีกระจายอยู่ในเนือ้ เยือ่ ต่ าง ๆ ในเลือดและกล้ ามเนือ้
แหล่งของแมกนีเซียมคือ ราข้ าว ใบพืชสี เขียว เช่ น พืชอาหารสั ตว์
และเมล็ดธัญพืชที่ผ่านการสกัดน้ามันแล้ ว
การเสริมแมกนีเซียมในอาหาร นิยมใช้ แมกนีเซียมออกไซด์ หรื อ
แมกนีเซียมซัลเฟต
แมกนีเซียมในอาหารถูกดูดซึมในกระเพาะรู เมน
แมกนีเซียมมีหน้ าที่สาคัญอย่ างไร
 เป็ นส่ วนประกอบของกระดูกและฟัน
 ควบคุมการทางานของระบบประสาทและกล้ ามเนือ
้
 เป็ นตัวกระตุ้นการทางานของเอนไซม์ ต่าง ๆ ในร่ างกาย เช่ น
- phosphate transferase
- decarboxylase
- acyl transferase
สั ตว์ ทขี่ าด Mgมีอาการแสดงออกอย่ างไร
ในสั ตว์ ทมี่ ีอายุน้อย : การสะสมแมกนีเซียมในกระดูกลดลง สั ตว์ จะ
เบื่ออาหาร ระบบประสาทไว ตกใจง่ ายหรือตื่นตัวเสมอ มีอาการ
ชักกระตุกตามกล้ามเนือ้ ส่ วนต่ าง ๆ มีอาการเกร็งคอ หรือคอแข็ง
 ในรายทีข
่ าดแมกนีเซียมมากอาจถึงตายได้
ในสั ตว์ ที่โตเต็มทีแ่ ล้ว : มีอาการเบื่ออาหาร มีอาการกระตุกของ
กล้ามเนือ้ การเคลือ่ นของร่ างกายผิดปกติ ขาแข็ง เดินลาบาก
อาจถึงตายได้
ความรู้ เกีย่ วกับโพแตสเซียม (Potassium)
ส่ วนใหญ่ จะอยู่ภายในเซลล์ มีหน้ าที่
: ควบคุมความสมดุลของของเหลวในร่ างกาย
: ควบคุม pH ในร่ างกายโดยทางานร่ วมกับ Na และ Cl
: เกีย่ วข้ องกับระบบประสาทและการหดตัวของกล้ามเนือ้
: เกีย่ วข้ องกับ carbohydrate metabolism
 เป็ นธาตุทพ
ี่ บในพืช โดยเฉพาะในหญ้ าสดมีประมาณ 2-4% ในวัตถุแห้ ง
อาการของสั ตว์ เคีย้ วเอือ้ งที่ขาดโพแตสเซียม
ส่ วนใหญ่ พบในลูกสั ตว์ ทยี่ งั ไม่ หย่ านม เนื่องจากในนา้ นมมี K ต่า
 ในสั ตว์ ที่โตเต็มทีม
่ ีโอกาสเกิดได้ น้อย ยกเว้ นได้ รับอาหารข้ น
มากกว่ าอาหารหยาบในสั ดส่ วนทีส่ ู ง เนื่องจากในเมล็ดธัญพืชมี K
อยู่น้อยประมาณ 0.5 %DM
 อาการขาดโพแตสเซียม ในระยะแรกจะทาให้ สัตว์ กน
ิ อาหารลดลง
จนทาให้ มีการสู ญเสี ยนา้ หนักตัว สั ตว์ มีอาการซึมมีขนหยาบ
กล้ามเนือ้ อ่อนแอเคลือ่ นไหวตัวช้ า ในสั ตว์ อายุน้อยอาจเป็ นอัมพาต
และตายได้
Na ในร่ างกาย
พบในของเหลวในร่ างกาย ECF มีหน้ าที่
: การรักษา osmotic pressure
: เกีย่ วข้ องกับการทางานของกล้ามเนือ้ และระบบประสาท
วัตถุดิบแหล่งของโซเดียม คือ เนือ้ สั ตว์ และอาหารทีไ่ ด้ จากทะเล
ในพืชอาหารสั ตว์ และธัญพืชมีปริมาณโซเดียม ต่า
 การเสริ มโซเดียม นิยมเสริมในรู ปของเกลือ (NaCl)
 โซเดียมเป็ นธาตุทส
ี่ ามารถดูดซึมผ่ านผนังลาไส้ ได้ ดี การดูดซึม
ส่ วนใหญ่ จึงเกิดทีบ่ ริเวณลาไส้ เล็กและลาไส้ ใหญ่

อาการของสั ตว์ เคีย้ วเอือ้ งที่ขาดโซเดียม
ในลูกสั ตว์
- มีผลให้ เกิดท้ องร่ วง
- ชะงักการเจริญเติบโต
- ประสิ ทธิภาพการใช้ อาหารลดลง
ในสั ตว์ ที่โตเต็มที่แล้ ว - สั ตว์ จะแสดงอาการเบื่ออาหา
- มีนา้ หนักตัวลดลง
เรื่องของคลอรีน (Cl)
แหล่ งของคลอรีน คือ ปลา , เนือ้ รวมถึงผลผลิตจากทะเล
ส่ วนใหญ่ ที่สัตว์ ได้ รับมาจากการเสริมเกลือลงในอาหาร
หน้ าทีข่ องคลอรีน
: การควบคุมแรงดันออสโมติกของ extracellular fluid
: ควบคุมสภาพความเป็ นกรดเป็ นด่ างของของเหลว
: เป็ นส่ วนประกอบของกรดเกลือ (HCl) ในนา้ ย่ อย
อาการของสั ตว์ ที่ขาดคลอรีน
โดยทั่วไปสั ตว์เคีย้ วเอือ้ งมักจะแสดงอาการขาดทั้งคลอรีนและ
โซเดียมพร้ อม ๆ กัน
 เนื่องจากแหล่ งคลอรี นที่สาคัญคือ เกลือที่เสริ มในอาหาร
 อาการขาดคลอรี นและโซเดียม
: ไม่ อยากกินอาหาร
: การเจริญเติบโต และนา้ หนักตัวลดลง
เรื่องน่ ารู้เกีย่ วกับซัลเฟอร์ (Sulphur)
แหล่งของซัลเฟอร์ ในร่ างกาย
:ส่ วนใหญ่ อยู่ ในกล้ ามเนือ้ และในขนสั ตว์
: ในฮอร์ โมนอินซูลนิ และในไวตามิน B1
หน้ าที่ของซัลเฟอร์
: เป็ นส่ วนประกอบของซีสทีน ซีสเทอีน และเมทไธโอนีน
: เป็ นส่ วนประกอบของไวตามิน B1 และไบโอติน
: เป็ นส่ วนประกอบของขน ผม และเล็บ
:
อาการของสั ตว์ เคีย้ วเอือ้ งที่ขาดซัลเฟอร์
-
ขน ผม และเล็บ มีลกั ษณะการเจริญที่ผดิ ปกติในแกะที่กาลัง
เจริญเติบโตการขาดซัลเฟอร์ จะทาให้ ได้ ขนแกะทีม่ ีคุณภาพต่า
- มีการเจริญเติบโตต่า แคระแกรน
ความรู้เกีย่ วกับแมงกานีส (Mn)
 ในร่ างกายมีการสะสมแมงกานีสน้ อย
แต่ พบได้ ที่กระดูก ตับ
ไต ตับอ่ อน อวัยวะสื บพันธุ์และต่ อมใต้ สมอง
 แหล่ งของแมงกานีสในอาหารคือ ราข้ าวและในส่ าเหล้ า
แต่ ยงั มีปริมาณไม่ เพียงพอต่ อความต้ องการของสั ตว์
 การเสริ มแมงกานีสในอาหารมักนิยมใช้ ในรู ปของเกลือ
MnSO4และ MnOแมงกานีสเป็ นธาตุที่มีความสามารถในการ
ดูดซึมต่า
หน้ าที่และอาการของสั ตว์ ที่ขาดแมงกานีส
หน้ าที่ : กระตุ้นการทางานของเอนไซม์ ในวัฎจักรเครบส์
: มีความสาคัญในการพัฒนาของกระดูก
: เกีย่ วข้ องกับการทาหน้ าทีข่ องระบบสื บพันธุ์
การขาดแมงกานีส
สั ตว์ ทมี่ ีอายุน้อย : กระดูกเจริญผิดปกติ สั ตว์ จะเจริญเติบโตช้ า
: ระบบสื บพันธุ์พฒ
ั นาไม่ สมบูรณ์
ในสั ตว์ ที่โตเต็มที่แล้ว : ทาให้ สัตว์ มี อัตราการผสมติดต่า การพัฒนา
ของเซลล์สืบพันธุ์ไม่ สมบูรณ์ และมีผลให้ สัตว์ เป็ นหมัน

ความรู้เกีย่ วกับธาตุเหล็ก(Fe)
แหล่งธาตุเหล็กในร่ างกาย
- ประมาณ 60 - 70% ของธาตุเหล็กทีม่ ีอยู่ใน hemoglobin
- myoglobin ในกล้ามเนือ้ มีประมาณ 3 %
- ในโปรตีนเฟอร์ ริติน (ferritin) ตามเนือ้ เยื่อของตับ
- ในเอนไซม์ บางชนิด
 แหล่ งของธาตุเหล็กในอาหาร : พืชตระกูลถั่วมีธาตุเหล็กเป็ น
ส่ วนประกอบอยู่สูง
หน้ าทีข่ องธาตุเหล็ก
: เป็ นตัวพาออกซิเจนไปให้ แก่ เซลล์
: เกีย่ วข้ องการเมตาโบลิซึมของพลังงาน
อาการของสั ตว์ เคีย้ วเอือ้ งทีข่ าดธาตุเหล็ก
 เกิดโรคโลหิตจาง (anaemia)ได้ แต่ มีโอกาสน้ อย เนื่องจากในการเลีย้ ง
โค จะมีการเสริมอาหารข้ นและหญ้ าสดร่ วมกับการให้ นมสดหรือ
อาหารแทนนม เพือ่ กระตุ้นการพัฒนาของระบบทางเดินอาหาร
ทองแดง(cupper,Cu)
แหล่งทีพ่ บร่ างกาย : ตับ ไต หัวใจ สมอง ผมและขน
 แหล่ งของ Cu : เมล็ดพืช ผลพลอยได้ จากพืช และพืชอาหารสั ตว์
การเสริมทองแดง : เสริมในรู ป CuSO4, CuO
หน้ าที่ของทองแดง : สร้ างฮีโมโกลบิน
: สร้ าง melanin pigment ในขนและผม
: กระตุ้นเอนไซม์ ทเี่ กีย่ วข้ องกับธาตุเหล็ก
: เกีย่ วข้ องกับการทางานของ CNS
การขาดธาตุทองแดง
: เกิดโรคโลหิตจางแบบ hypochromic macrocytic anemia
ในโค และแกะ เนื่องจากการดูดซึมธาตุเหล็กลดลง ยังผลให้
เม็ดเลือดแดงมีฮีโมโกลบินน้ อยเกินไป
 ในลูกโคอาจมีอาการเป็ นอัมพาตที่ขาหลังเนื่องจากระบบ
ประสาททางานผิดปกติ เรียกว่า swayback
 ในสั ตว์ ให้ ขน เช่ น แกะ การขาดธาตุทองแดงทาให้ ขนมี
คุณภาพต่า และมีสีที่ผดิ ปกติไป
เรื่องน่ ารู้เกีย่ วกับสั งกะสี (zinc,Zn)
พบมากตับ ไต กระดูก กล้ามเนือ้ ผิวหนัง และขน
 ในอาหารสั ตว์ จะพบสั งกะสี มากในราข้ าว เมล็ดธัญพืช และในยีสต์
การเสริมธาตุสังกะสี : เสริมในรูปของ ZnO และ ZnSO4
หน้ าทีข่ องสั งกะสี
: เป็ นส่ วนประกอบของเอนไซม์ ที่เกีย่ วข้ องกับการเมตาโบลิ
ซึมของคาร์ โบไฮเดรตและโปรตีน
: เกีย่ วข้ องกับการเจริญเติบโตของขน และผิวหนัง

ไอโอดีน (iodine, I)สาคัญอย่ างไร
 แหล่ งของไอโอดีนในร่ างกาย
: เก็บสะสมไว้ที่ต่อมไทรอยด์
(thyroid gland) เพือ่ สร้ าง thyroxin
 หน้ าที่ของไอโอดีน :ควบคุมเมตาโบลิซึมของโภชนะต่ าง ๆ ใน
ร่ างกาย แหล่งของไอโอดีน คือ ปลาป่ น และผลพลอยได้ จาก
ทะเล
 การเสริ มธาตุไอโอดีน : ทาได้ โดยเสริ มไอโอดีนในรู ปของ KI,
NaI
อาการขาดธาตุไอโอดีน
 เจริญเติบโตช้ า
 ต่ อมไทรอยด์ จะเพิม
่ ขึน้
 ในโคสาว
: การเป็ นสั ดผิดปกติและมีอตั ราการผสมติดต่า
 ในแม่ โคที่ต้งั ท้ อง : การขาดไอโอดีนทาให้ ลูกสั ตว์ อ่อนแอ มี
ผิวหนังหนาบวมทั้งตัวและไม่ มีขน ส่ วนใหญ่ ลูกสั ตว์ มักจะ
ตายขณะคลอด
โคบอลท์
 เป็ นส่ วนประกอบของไวตามิน B12
ในอาหารสั ตว์มีโคบอลท์ เพียงพอไม่ จาเป็ นต้ องเสริมในอาหาร
 การเสริ มเกลือของธาตุโคบอลท์ ในรู ป โคบอลท์ ซัลเฟต
(cobalt sulfate)
หน้ าที่ : เป็ นส่ วนประกอบของไวตามิน B12
: ช่ วยกระตุ้นการทางานของเอนไซม์ บางชนิด
อาการขาดธาตุโคบอลท์
 ขาดธาตุ โคบอลท์ มักเกิดจากได้ รับจากอาหารไม่ เพียงพอ
 สั ตว์ ที่มีการขาดโคบอลท์

: จะทาให้ กนิ อาหารลดลง
: นา้ หนักตัวลดลง ผอมแห้ ง
หากเป็ นโรคโลหิตจางร่ วมด้ วย อาจตายได้ ในที่สุด
ความรู้เกีย่ วกับซิลเิ นียม(selenium, Se)
เป็ นธาตุทมี่ คี วามสั มพันธ์ กบั ไวตามินอี ทาหน้ าทีแ่ ทนไวตามินอีได้
หน้ าที่ของซิลเิ นียม
 ป้ องกันการเหม็นหืนของไขมัน (rancidity) ที่เกิดขึน
้ โดยธรรมชาติ
 สั งเคราะห์ สารประกอบทีม
่ คี ุณสมบัติคล้ ายกับกรดอะมิโนทีม่ ีซัลเฟอร์
เป็ นองค์ ประกอบได้ ในกระเพาะรู เมน
 ช่ วยการดูดซึมของไขมันในลาไส้ อกี ด้ วย
ไวตามินมีกปี่ ระเภท
1. ไวตามินที่ละลายได้ ในไขมัน คือ ไวตามิน A,D,E และK
สามารถสะสมในเนือ้ เยือ่ ต่ างๆ ได้ และนากลับมาใช้ ใหม่ ได้
2. ไวตามินที่ละลายได้ ในน้า ได้ แก่ ไวตามินซี (ascorbic acid, C)
ไวตามินบีรวม (vitamin B complex)
 ในสั ตว์ เคีย้ วเอือ้ งโดยทั่วไปจะได้ รับไวตามินเพียงพอจากการ
สั งเคราะห์ ของจุลนิ ทรีย์ในกระเพาะรู เมนและลาไส้ ใหญ่

ไวตามินเอ (retinol)

พบมากในน้ามันตับปลา ในปลาป่ น เนือ้ สด นม และไข่ แดง
ไม่ พบในเนือ้ เยือ่ ของพืช
ในพืชพบ provitamin A พวก cartoinoids ในกลุ่มของ -carotene
ทีส่ ามารถถูกเปลีย่ นเป็ นไวตามินเอได้ เมือ่ ถูกย่ อยโดยเอนไซม์ ใน
ร่ างกายสั ตว์ (บริเวณผนังลาไส้ และเซลล์ ตับ)

โคทุกขนาดน้าหนักจาเป็ นทีจ่ ะต้ องได้ ไวตามินเออย่ างพอเพียง

หน้ าที่ของไวตามินเอ
- เกีย่ วข้ องกับการมองเห็น
opsin + vitamin A สร้ างเป็ นสารที่ช่วยใน
การมองเห็น คือ rhodopsin
- สร้ างความแข็งแรงแก่ เซลล์ เยือ่ บุทางเดินอาหาร ทางเดินหายใจ อวัยวะ
สื บพันธุ์ และเนือ้ เยือ่ รอบลูกตา
- เร่ งการขยายตัวของเซลล์ และเร่ งการแบ่ งเซลล์
- เกีย่ วข้ องกับการเจริญของกระดูกอ่ อน
- เกีย่ วข้ องกับการทางานของไต การสั งเคราะห์ กลูโคส และโปรตีนใน
ร่ างกาย
การขาดไวตามินเอ
 ส่ วนใหญ่ พบในลูกโค เนื่องจากได้ รับไวตามินเอไม่ เพียงพอ
ตั้งแต่ อยู่ในท้ องแม่ เรื่อยมาจนถึงระยะก่ อนหย่ านม
 อาการ : ไม่ กน
ิ อาหาร ท้ องร่ วง ขนหยิก ซูบผอม ตาแฉะ และ
ตามองไม่ ค่อยเห็น
 ในโคที่โตแล้ ว : ถ้ าได้ รับไวตามินเอหรื อแคโรทีนจากอาหาร
ไม่ เพียงพอ หรือมีปัญหาเกีย่ วกับการย่ อย การดูดซึมและการ
เมตาโบลิซึมของไวตามินเอในร่ างกาย
อาการขาดไวตามินเอ



1. Night blindness โคไม่ สามารถจะมองเห็นได้ ในทีส่ ลัวๆ หรือใน
เวลาพลบคา่
2. โรคตาอักเสบ (xeropthamia) เกิดกับลูกโค กระจกตา (cornea)
เป็ นฝ้ า แห้ งและหนาผิดปกติ
3. ทาให้ เซลล์ เยือ่ บุต่างๆผิดปกติ เกิดสภาพทีม่ ลี กั ษณะแข็งเป็ นหนาม
(keratinized) มี keratin ไปอุดตันต่ อมเหงื่อ(follicular keratosis)
ผิวหนังจะมีลกั ษณะแห้ ง ตกสะเก็ดรอบๆรู ขุมขน มีอาการขนร่ วงและ
หลุดร่ วงง่ าย
อาการขาดไวตามินเอ
 4. ลูกโคที่ขาดไวตามินเอ มักเกิดอาการชั กกระตุกได้ ง่าย
 5. มีผลต่ อการสร้ างเซลล์ สืบพันธุ์ (sperm) เนื่องจากเซลล์ เยือ
่
บุในส่ วนท่ อสร้ างเซลล์ อสุ จิถูกทาลาย(seminiferous tubules)
ในโคเพศเมีย : มีปัญหารกเสื่ อมสภาพและแห้ งมีผลให้ เกิดการ
แท้ งลูกได้ (abotion)
 6. มีผลให้ เกิดการบวมตามขาและส่ วนหน้ าของร่ างกาย ขา
แข็งทื่อ เบื่ออาหาร มีอาการบวมนา้ และตายได้
ความรู้เกีย่ วกับไวตามินดี(vitamin D)
มี 2 ชนิด: ไวตามิน D2 (ergocalciferol) ถูกสร้ างมาจากพืชและเชื้อรา
: ไวตามิน D3 (cholecalciferol) ถูกสร้ างขึน้ ทีผ่ วิ หนังของสั ตว์
แหล่งของไวตามินดี เช่ น น้ามันตับปลา ปลาบางชนิดและไข่ แดง
 การเสริ มไวตามินให้ อยู่ในรู ป Vitamin D3 หรือ AD3
 ในน้านมจะมีไวตามินดีน้อยกว่ าในน้านมน้าเหลืองถึง 6 เท่ า
ในพืชจะมีไวตามินดีอยู่น้อย
โครงสร้ างของไวตามินD
CH3
H3C
CH3
CH2
HO
vitam in D2 (e rgocalcife rol).
H3C
CH3
CH3
CH3
CH3
CH3
CH2
HO
vitam in D3 (cholecalciferol).
ไวตามินดีมีหน้ าที่อย่ างไร
 ไวตามินดีมีความสาคัญเกีย่ วข้ องกับการดูดซึมแคลเซียมที่
ผนังลาไส้
อาการของสั ตว์ ทขี่ าดไวตามินดี
 มักพบอาการในสั ตว์ ทม
ี่ ีอายุน้อย ทาให้ เกิดเป็ นโรคกระดูก
อ่ อน (ricket)
 ในสั ตว์ ทโี่ ตแล้ วทาให้ เกิดโรคกระดูกผุ (osteomalasia)
ซึ่งอาจมีสาเหตุร่วมจากการขาดแคลเซียมและฟอสฟอรัสด้วย
เรียนรู้เกีย่ วกับไวตามิน E
 ไวตามินอีในทางอาหารสั ตว์ คือ -tocophorol
 ไวตามินอีสังเคราะห์ ที่ใช้ ในอาหารสั ตว์ คือ DL-
tocophorol
 ในนา้ มันที่สกัดได้ จากพืช และในพืชใบเขียวทุกชนิด
 ในพืชอ่ อนมีไวตามินอีสูงกว่ าใบแก่ ในเมล็ดธัญพืชมีไวตามิน
อีสูง
โครงสร้ างไวตามิน E
CH3
O
H3C
CH3
(CH2)3CH(CH2)3CH(CH2)3CH(CH2)3
HO
CH3
vitam in E (
CH3
CH3
- tocopherol)
หน้ าที่ของไวตามินอี
เป็ นสารกันหืนตามธรรมชาติ
 สร้ างโปรตีนที่เกีย่ วกับ nucleic acid metabolism
 ควบคุมการทางานของต่ อมไทรอยด์ ตับอ่ อน ต่ อมหมวกไต
 เกีย่ วข้ องกับการพัฒนาของระบบสื บพันธุ์

หน้ าที่ของไวตามินอี
 เกีย่ วข้ องกับการสร้ าง coenzyme
การสร้ างไวตามินซี
 เป็ นส่ วนประกอบของ cytochrome reductase
 สร้ าง prostaglandin
 ช่ วยในการใช้ ไวตามินเอให้ ได้ ประโยชน์ มากขึน
้
อาการขาดไวตามินอี
 เกิด nutritional muscular dystrophy เป็ นการตายของ
กล้ามเนือ้ ลายและกล้ามเนือ้ หัวใจ ทาให้ กล้ามเนือ้ ไม่ ทางาน
สั ตว์เกิดเป็ น อัมพาตได้
 อาการนีม
้ ักเกิดขึน้ ได้ ในลูกโค ลูกแกะ ในกรณีเป็ นอย่ างรุ นแรง
กล้ามเนือ้ จะมีสีซีดจนขาว ส่ วนกล้ามเนือ้ คอ และกล้ ามเนือ้ ขา
จะแข็งเคลือ่ นไหวไม่ ได้ มีอาการหายใจติดขัดและตายได้
บางครั้งจึงเรียกโรคนีว้ ่า white muscle disease
ไวตามินเค
 โครงสร้ างทางเคมีหลายรู ปแบบ คือ vitamin K1 หรื อ
phylloquinone พบมากในพืชสี เขียว และ alfafa
 Vitamin K2 หรื อ mensquinone พบมากในปลาป่ น
 vitamin K3 หรื อ menadione เป็ นสารสั งเคราะห์ ที่ใช้ เสริ ม
อาหารสั ตว์
โครงสร้ างของไวตามิน K2
O
CH3
CH2 CH
O
C
CH3
(CH2)3 CH
CH3
(CH2)3 CH
CH3
n
vitam in K2 (m e ns quinone ). n = 6 - 10
CH3
หน้ าที่และอาการขาดไวตามินเค
 ทาให้ เกิดเลือดแข็งตัวหรื อการทาให้ เลือดหยุดไหล
 ป้องกันการเลือดออกตามผิวหนังและกล้ ามเนือ
้
อาการของสั ตว์ที่ขาดไวตามินเค
ไม่ ค่อยปรากฏอาการขาดไวตามินเค เนื่องจากได้ รับไวตามินเค
อย่ างต่ อเนื่อง จากการสั งเคราะห์ ของจุลนิ ทรีย์ในระบบทางเดิน
อาหาร