ผูช้ ่วยศาสตราจารย์เติมพงศ์ สุ นทโรทก E-Mail : [email protected] My mobile phone :081-132-6048 Download ข้อมูลการเรี ยนจาก : www.termpong.wordpress.com บทที่ 1 ลักษณะและความสาคัญของการผลิต ผูช้ ่วยศาสตราจารย์เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริ หารการผลิต.

Download Report

Transcript ผูช้ ่วยศาสตราจารย์เติมพงศ์ สุ นทโรทก E-Mail : [email protected] My mobile phone :081-132-6048 Download ข้อมูลการเรี ยนจาก : www.termpong.wordpress.com บทที่ 1 ลักษณะและความสาคัญของการผลิต ผูช้ ่วยศาสตราจารย์เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริ หารการผลิต.

ผูช้ ่วยศาสตราจารย์เติมพงศ์ สุ นทโรทก
E-Mail : [email protected]
My mobile phone :081-132-6048
Download ข้อมูลการเรี ยนจาก :
www.termpong.wordpress.com
บทที่ 1 ลักษณะและความสาคัญของการผลิต
1
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริ หารการผลิต
ความรู้คคู่ ณ
ุ ธรรม
2
 แสงสว่างเสมอด้วยปั ญญาไม่มี
 คนมีปัญญา ถึงแม้ตกทุกข์ ก็ยงั หาความสุ ขอันประณี ตพบ
 คนโง่ถึงมียศ ก็กลายเป็ นทาสของคนมีปัญญา
 โลภะ โทสะโมหะ เข้าที่ไหน มีปัญญา ย่อมไม่เข้าถึงที่นน
ั่ (เสื้ อ
เหลืองมีปัญญา แต่กข็ าดสติ
 ยามข้าพเจ้ามีปัญญา ข้าพเจ้าไร้ซ่ ึ งอานาจ ยามข้าพเจ้ามี อานาจ
ข้าพเจ้าก็ขาดซึ่ งปั ญญา(คนที่มีอานาจควรจะมีซ่ ึ งปั ญญา)
บทที่ 1 ลักษณะและความสาคัญของการผลิต
2
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริ หารการผลิต
พืน้ ฐานของการศึกษาหาความรู้
3
 วิธีการศึกษาหาความรู ้ 4 ประการคือ
 การอ่าน : สุ - สุ ตะ คือ การอ่าน การฟั ง



การฟัง : จิ – จินตนะ คือการคิด
การไต่ถาม : ปุ- ปุจฉา การไต่ถาม
การจดบันทึก: ลิ- ลิขิต การบันทึก การเขียน
บทที่ 1 ลักษณะและความสาคัญของการผลิต
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริ หารการผลิต
Success in Life
4
Success in Life is measured not only in achievements
…but in lesson learned , lives touched, moments
shared along the way

(บทเรี ยนรู ้ ประทับในชีวติ มีการแบ่งปั น)
มองเห็นความเป็ นจริ ง มองให้ได้ประโยชน์ (applied)
“ PRACADEMIC”(ความรู้ที่ถึงพร้อมด้วยการปฏิบตั ิ)
บทที่ 1 ลักษณะและความสาคัญของการผลิต
4
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริ หารการผลิต
The Learning Pyramid
wisdom
ความฉลาด,มีปัญญา,ความรอบรู้
ทฤษฎีแนวคิด หลักวิชา
Knowledge
information
Data(ข้อมูลดิบ)
บทที่ 1 ลักษณะและความสาคัญของการผลิต
บทที่ 1 คสามรู ้เกี่ยวกับการจัดการ
5
5
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริ หารการผลิต
What is “Wisdom” ?
6
 What
I
 Shall
นักบริ หารยุคใหม่ตอ้ งรู ้จกั ชิงความได้เปรี ยบในเชิง
การแข่งขัน ต้องมี Wisdom : คือมีปัญญา
 Do Differently
 On
 Monday Morning

Possibility
บทที่ 1 ลักษณะและความสาคัญของการผลิต
Change
Innovation
6
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริ หารการผลิต
บาป 7 สิ่ งที่อาจทาลายสั งคมให้ ล่มสลายได้
7
 การเมืองที่ไร้หลักการ ; แดง : เหลือง การบริ หารจัดการไม่
โปร่ งใส ใจถึงพึ่งได้
 ความสนุกสนานที่ขาดสติกากับ (เด็ก ซิ่ ง แว๊น)
 ความร่ ารวยที่ไม่ได้มาจากการทางาน ( รัฐมนตรี แล้วร่ ารวย)
บทที่ 1 ลักษณะและความสาคัญของการผลิต
บทที่ 1 คสามรู ้เกี่ยวกับการจัดการ
7
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริ หารการผลิต
บาป 7 สิ่ งที่อาจทาลายสั งคมให้ ล่มสลายได้
8
 ความรู ้ที่ปราศจากนิ สยั ใฝ่ รู ้ (เข้าสมุดน้อยมาก เฉลี่ย คนละ 2 Sec)
คนไทยไม่ชอบอ่านหนังสื อ เยอรมันต่อเรื อได้
 ธุรกิจที่ขาดศีลธรรมกากับ Maximize
 วิทยาศาสตร์ ที่ขาดมนุษยศาสตร์ (ความสวยงาม Art)
 การบูชาที่ปราศจากการเสี ยสละ การชื่นชมตารวจ
บทที่ 1 ลักษณะและความสาคัญของการผลิต
บทที่ 1 คสามรู ้เกี่ยวกับการจัดการ
8
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริ หารการผลิต
กติกาการเรี ยน
9
 1.ต้องมีเวลาเรี ยนอย่างน้อยร้อยละ 60
 2.ขาดเรี ยน 1 ครั้งหัก 1 คะแนน(เวลาเรี ยน 10 คะแนน)
 3. มีการนาเสนอรายงานเป็ นกลุ่ม ๆ ละ 6- 8 คน
 4. จดบันทึกหัวข้อที่น่าสนใจ
 5. ไม่ใช้โทร.ในชั้นเรี ยน
บทที่ 1 ลักษณะและความสาคัญของการผลิต
9
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริ หารการผลิต
บทที่ 1 ลักษณะและความสาคัญของการผลิต
10
 ลักษณะทัว่ ไปของการบริ หาร
 การบริ หาร
Administration – การกาหนดนโยบาย

- ใช้ในวงการราชการ
 Management - เน้นการปฏิบตั ิ

- ใช้กบั การบริ หารธุรกิจ

บทที่ 1 ลักษณะและความสาคัญของการผลิต
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริ หารการผลิต
ลักษณะทัว่ ไปของการบริหาร
11
 องค์ประกอบของการบริ หาร
 1.มีเป้ าหมาย
 2. มีปัจจัยการบริ หาร

- คน(Man)

- เงิน (Money)

- วัสดุ(Material)

- เทคนิควิธี(Method)

- เครื่ องจักร(Machine)
บทที่ 1 ลักษณะและความสาคัญของการผลิต
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริ หารการผลิต
ลักษณะทั่วไปของการบริหาร(ต่ อ)
12
 องค์ประกอบของการบริ หาร(ต่อ)
 3. ลักษณะของการบริ หาร



- Democratic Leadership
- Autocratic Leadership
- Laissez Fair Leadership
บทที่ 1 ลักษณะและความสาคัญของการผลิต
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริ หารการผลิต
ลักษณะทั่วไปของการบริหาร(ต่ อ)
13
 หน้าที่ทางการบริ หาร
 - POSDCrOB Model – Gulick -Urvick
 - POCCC Model - Fayo
 - POSDCIR – Ernest Dale
 - POSDC – Knootz
 - POLE - ปั จจุบน
ั
บทที่ 1 ลักษณะและความสาคัญของการผลิต
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริ หารการผลิต
ลักษณะและความสาคัญของการผลิต
14
 การดาเนินงานขององค์การทางธุ รกิจ ประกอบด้วย
 1. ฝ่ ายการตลาดทาหน้าที่ :
: สรรหาความต้องการของตลาด
: กระจายสิ นค้าไปยังผูบ้ ริ โภค
: คัดเลือกตลาดเพื่อการเคลื่อนย้ายสิ นค้าและ



บริ การ
บทที่ 1 ลักษณะและความสาคัญของการผลิต
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริ หารการผลิต
ลักษณะและความสาคัญของการผลิต
โดยทัว่ ไปการบริ หารงานในองค์การ
ประกอบด้วยโครงสร้างดังต่อไปนี้
บริ ษทั
ฝ่ ายการตลาด
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์เติมพงศ์ สุนทโรทก
การบริ หารการผลิต
ฝ่ ายการผลิต
ฝ่ ายการบัญชี
บทที่ 1 ลักษณะและความสาคัญของการผลิต
ฝ่ ายบุคลากร
15
การดาเนินงานขององค์ การทางธุรกิจ
16
 2. ฝ่ ายการผลิตทาหน้ าที่
: ผลิตสิ นค้ าและบริการให้ ฝ่ายการตลาดทา
หน้ าที่ ของตนเอง
 3. ฝ่ ายการบัญชีทาหน้ าที่ :

: ควบคุมระบบบัญชี

: การออกงบกาไร - ขาดทุนและงบดุล

บทที่ 1 ลักษณะและความสาคัญของการผลิต
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริ หารการผลิต
การดาเนินงานในองค์ การทางธุรกิจ
17
ฝ่ ายการเงิน : จัดหาแหล่ งทรัพยากรด้ านการเงิน
และใช้ ไป : จัดการสภาพคล่องการเงิน
ฝ่ ายทรัพยากรมนุษย์ : การสรรหาและคัดเลือกคน
ทีม่ คี วามรู้ ความสามารถเข้ าทางานในองค์ กร
บทที่ 1 ลักษณะและความสาคัญของการผลิต
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริ หารการผลิต
18
ระบบการผลิต
กระบวนการ
แปรรู ปวัตถุดิบ
(ต้นน้ า)ให้เป็ น
สิ นค้าและ
บริ การ(ปลาย
น้ า)
บทที่ 1 ลักษณะและความสาคัญของการผลิต
ต้ นนา้
ปลายนา้
ปัจจัยการ
ผลิต
กระบวนการ
ผลิต
วัตถุดิบ
กรรมวิธีการผลิต
ผลผลิต
สิ นค้าและ
บริ การ
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริ หารการผลิต
ระบบการผลิต (Production Systems)
19
Transformation
INPUT
OUTPUT
 ทรัพยากรการผลิต (Production resource) --- Five P’s of
OM
 People / Plant / Parts / Processes / Planning and control
system
บทที่ 1 ลักษณะและความสาคัญของการผลิต
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริ หารการผลิต
ระบบการผลิต
ปัจจัยการผลิต
บทที่ 1 ลักษณะและความสาคัญของการผลิต
กระบวนการผลิต
20
ผลผลิต
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริ หารการผลิต
กระบวนการผลิตรถยนต์
บทที่ 1 ลักษณะและความสาคัญของการผลิต
21
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริ หารการผลิต
บทที่ 1 ลักษณะและความสาคัญของการผลิต
22
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริ หารการผลิต
ยกตัวอย่ างกระบวนการผลิต
23
 วิเคราะห์
 1. อะไรเป็ นบ้างที่เป็ นปั จจัยนาเข้า
 2. แสดงกระบวนและขั้นตอนของการผลิต
 3. ผลลัพธ์ที่ได้คืออะไร
บทที่ 1 ลักษณะและความสาคัญของการผลิต
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริ หารการผลิต
การผลิตและบริการ(ต่ อ)
24
 คุณสมบัตขิ องการผลิต : เป็ น
กระบวนการสร้างผลิตภัณฑ์ที่
สามารถ
 - จับต้องได้ และทนทาน
 - ต้องใช้พ้น
ื ในการจัดเก็บ
 - ติดต่อกับลูกค้าน้อย
 - ต้องใช้ระยะเวลาในการ
ตอบสนอง
บทที่ 1 ลักษณะและความสาคัญของการผลิต
 ครอบคลุมตลาดกว้าง
 - ใช้พ้น
ื ที่มาก
 - ใช้เงินลงทุนสู ง
 - ตรวจสอบคุณภาพได้
ชัดเจน(เป็ นรู ปธรรม)
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริ หารการผลิต
การผลิตและบริการ(ต่ อ)
25
 คุณสมบัตขิ องการบริการ
 ใช้พ้น
ื ที่ตามความ
 - จับต้องไม่ได้
เหมาะสม
 ใช้แรงงานมาก
 ยากในการประเมิน
คุณภาพ
 - ไม่สามรถจัดเก็บได้
 - ติดต่อลูกค้ามาก
 - ระยะเวลาการตอบสนอง
สั้น
 - ดาเนิ นงานได้เฉพาะพื้นที่
บทที่ 1 ลักษณะและความสาคัญของการผลิต
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริ หารการผลิต
ลักษณะของบริการ
26
 Intangible (สั มผัสไม่ ได้ )
 Produced and consumed simultaneously
 Services are often unique
 Services have high customer interaction
 Inconsistent product definition
 Knowledge based
 Dispersed
บทที่ 1 ลักษณะและความสาคัญของการผลิต
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริ หารการผลิต
การบริหารการผลิตและการปฏิบัติการ
27
 การบริ หารการผลิต เป็ นระบบเดินการเกี่ยวกับการผลิต
ประกอบด้วย 3 ขั้นตอน คือ วิเคราะห์การผลิต วางแผนการ
ผลิต และการดาเนินงานและการควบคุม โดยคานึงถึง
 - ปริ มาณการผลิต
 - คุณภาพ
 - เวลาและต้นทุนที่เหมาะสม
บทที่ 1 ลักษณะและความสาคัญของการผลิต
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริ หารการผลิต
การบริหารการผลิตและการปฏิบัติการ(ต่ อ)
28
 การวิเคราะห์การผลิต มีการวิเคราะห์ปัจจัย 2 ประเภทคือ
 1. ปั จจัยภายนอก : ควบคุมไม่ได้
- เศรษฐกิจ สภาพทางธรรมชาติ การเมือง และกฎหมาย
 2. ปั จจัยภายในองค์การ : ที่สามารถควบคุมได้ เช่น
 - พนักงานลาออกหรื อป่ วย เครื่ องจักรขัดข้อง

“วัตถุประสงค์เพื่อการควบคุมต้นทุนให้ต่าที่สุดให้สามารถ
แข่งขันได้”

บทที่ 1 ลักษณะและความสาคัญของการผลิต
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริ หารการผลิต
การบริหารการผลิตและการปฏิบัติการ(ต่ อ)
29
 การวางแผนการผลิต : เป็ นขั้นตอนแรกของการบริ หารการผลิต
ต้องเกี่ยวข้องกับเรื่ อง
 1. การเลือกที่ต้ งั โรงงาน : ระยะทาง เพื่อผลผลิตต้นทุนต่า
 2. การวางแผนผังโรงงาน: การจัดวางแผนเพื่อจัดวางเครื่ องมือ
อุปกรณ์ คนงานและวัตถุดิบ และสิ่ งอานวยความสะดวกในการ
ผลิต

- วางแผนขบวนการผลิต

- การวางตาแหน่งการเข้าผลิต - ก่อนหลัง ของผลิตภัณฑ์
บทที่ 1 ลักษณะและความสาคัญของการผลิต
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริ หารการผลิต
การบริหารการผลิตและการปฏิบัตกิ าร(ต่ อ)
30
 3. การวางแผนการออกแบบผลิตภัณฑ์ : การกาหนด
รู ปร่ าง ขนาดของสิ นค้า มักจะให้ความสาคัญกับความ
พึงพอใจของลูกค้าเป็ นสาคัญ
 4. การวางแผนขบวนการผลิตและการแปลงสภาพ
 : เป็ นขั้นตอนการวางแผนการผลิตให้เกิด
ประสิ ทธิภาพสูงสุ ด
บทที่ 1 ลักษณะและความสาคัญของการผลิต
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริ หารการผลิต
การบริหารการผลิตและการปฏิบัติการ(ต่ อ)
31
 5. การพยากรณ์การผลิต : การคาดการณ์ความต้องการ
จานวนผลผลิตที่ตอ้ งการ เพื่อไม่ให้มากหรื อน้อยเกินไป
 6. การวางแผนการผลิตรวม: การผลิตสิ นค้าโดยรวมทั้งหมด
ให้ได้ท้ งั หมดเท่าที่ตอ้ งการ หรื อการศึกษากลยุทธ์การผลิต
 7. การจัดลาดับการผลิต : ขั้นตอนการผลิตตั้งแต่การป้ อน
วัตถุดิบ จนถึงปั จจัยนาออก เช่นการผลิตน้ าตาล
บทที่ 1 ลักษณะและความสาคัญของการผลิต
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริ หารการผลิต
บทที่ 1 ลักษณะและความสาคัญของการผลิต
32
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริ หารการผลิต
การบริหารการผลิตและการปฏิบัตกิ าร(ต่ อ)
33
 8.การวางแผนกาลังคน : การวางแผนการใช้กาลังคน การ
สรรหา การคัดเลือก การประเมินผลการปฏิบตั ิงาน การจ่าย
ค่าตอบแทน
 9. การควบคุมการผลิต : เป็ นขั้นตอนปฏิบตั ิการเพื่อให้ได้
ปริ มาณการผลิตทันเวลา ลดความสู ญเสี ยที่เกิดจาก
กระบวนการผลิตที่อาจจะผิดพลาดได้
บทที่ 1 ลักษณะและความสาคัญของการผลิต
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริ หารการผลิต
การบริหารการผลิตและการปฏิบัติการ(ต่ อ)
34
 ได้แก่ วัดเฉพาะส่ วน
 เช่น ผลผลิต/ แรงงาน ,หรื อ ผลผลิต/ ต้นทุน หรื อ
ผลผลิต/ วัตถุดิบ หรื อ ผลผลิต/ พลังงาน
 วัดจากปั จจัยหลาย ๆ ส่ วน
 เช่น ผลผลิต/ (แรงงาน+ต้นทุน+พลังงาน) หรื อ
ผลผลิต/ (แรงงาน+ต้นทุน+วัตถุดิบ)
บทที่ 1 ลักษณะและความสาคัญของการผลิต
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริ หารการผลิต
ผลผลิต (Productivity)
35
 คือ จานวนผลิตภัณฑ์หรื อบริ การที่ผลิตได้จากการใช้ทรัพยากรจานวนหนึ่ง
การวัดผลผลิต :
Single factors / Multifactor Productivity
ตัวแปรที่เกีย่ วข้ องกับผลผลิต :
 Labor / Capital / Management
ความรับผิดชอบ : Stakeholders = Customer, Supplier,
Owner, Lenders, Employees etc.
บทที่ 1 ลักษณะและความสาคัญของการผลิต
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริ หารการผลิต
ความสาคัญของการผลิต
36
 หน้ าทีข่ องฝ่ ายการผลิต
1. ประสิ ทธิภาพของต้นทุน

- โดยการผลิตในปริ มาณมาก(Mass Production)

- ต้นทุนต่อหน่วยต้องต่า( Economy of Scale)

- ควบคุมค่าใช่จ่ายต่าง ๆ ในขบวนการผลิต เช่น
ค่าแรงงาน การใช้วตั ถุดิบ

บทที่ 1 ลักษณะและความสาคัญของการผลิต
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริ หารการผลิต
ความสาคัญของการผลิต(ต่ อ)
37
 หน้าที่ของฝ่ ายการผลิต(ต่อ)





2. มุ่งเน้นการผลิตสิ นค้าที่มีคุณภาพ
- เป็ นการสร้างมูลค่าเพิ่ม(Value Added)
3. การสร้างความแตกต่างในตัวสิ นค้า
- ด้านการแบบตัวสิ นค้า
- ด้านการออกแบบและบรรจุภณ
ั ฑ์ให้จูงใจผูพ้ บเห็น
บทที่ 1 ลักษณะและความสาคัญของการผลิต
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริ หารการผลิต
การควบคุมการผลิตและควบคุมวัสดุคงคลัง
38
 การควบคุมการผลิตและควบคุมวัสดุคงคลัง : เป็ นหน้าที่
ของฝ่ ายการผลิตด้วย นอกเหนือจากการทาหน้าที่ในการผลิต
เรี ยกว่า “ การบริ หารวัสดุคงคลัง” ได้แก่
 1. การบริ หารงานวัสดุ : การจัดหาและ การทารายการวัสดุ
เก็บวัสดุ
 2. การควบคุมปริ มาณวัสดุ : การควบคุมเพื่อให้ปริ มาณวัสดุ
มีเพียงพอต่อการผลิต
บทที่ 1 ลักษณะและความสาคัญของการผลิต
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริ หารการผลิต
การควบคุมการผลิตและควบคุมวัสดุคงคลัง(ต่ อ)
39
 3. การจัดซื้ อ : เป็ นการจัดหาวัสดุเพื่อป้ อนวัสดุเข้าระบบการ
ผลิต

บทที่ 1 ลักษณะและความสาคัญของการผลิต
: มุ่งเน้นคุณภาพและราคาต้นทุนต่า
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริ หารการผลิต
ความสาคัญของการบริหารการผลิตในเชิงยุทธศาสตร์
40
 การตลาดเป็ นลักษณะของการแข่งขัน
 1. การตลาดเป็ นลักษณะของโลกาภิวตั น์

- มีการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ เช่น NAFTA( The North
American Free Trade Agreement)

- ข้อตกลงทางการค้า GATT

- กลุ่มการค้า ASEAN , EU
 เพื่อการช่วยเหลือกันและกัน ,การกีดกันทางการค้า,การ
ควบคุมคุณภาพสิ นค้า
บทที่ 1 ลักษณะและความสาคัญของการผลิต
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริ หารการผลิต
ความสาคัญของการบริหารการผลิตในเชิงยุทธศาสตร์ (ต่ อ)
41
 2. การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการบริ โภคและความต้องการ
สิ นค้าและบริ การ
 - ฝ่ ายการผลิตต้องดาเนินกลยุทธ์ในลักษณะมีความ
ยืดหยุน่ ตามพฤติกรรมดังกล่าว
 - สิ นค้ามีขนาดเล็ก เบา มีคุณค่าการใช้สอย และ
ประสิ ทธิ ภาพ มากขึ้น
บทที่ 1 ลักษณะและความสาคัญของการผลิต
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริ หารการผลิต
ความสาคัญของการบริหารการผลิตในเชิงยุทธศาสตร์ (ต่ อ)
42
 3. การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี



- เปลี่ยนแปลงจาก แรงงาน มาเป็ นเครื่ องจักร
- Ana lock เป็ น Digital
- เกิดสิ นค้าตัวใหม่
บทที่ 1 ลักษณะและความสาคัญของการผลิต
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริ หารการผลิต
การจัดโครงสร้ างการผลิต
43
 การจัดโครงสร้าง : เป็ นการแบ่งงานกันทา การทางานเป็ น
กลุ่มทีม
 ระบบการผลิต 2 ประเภท
 - การผลิตแบบต่อเนื่อง : นาปั จจัยการผลิตเข้าสู่
ขบวนการจนเป็ นสิ นค้าหรื อบริ การ
 - การผลิตแบบตามคาสัง่ : เป็ นการผลิตตามใบสัง่ การผลิต
ของลูกค้า
บทที่ 1 ลักษณะและความสาคัญของการผลิต
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริ หารการผลิต
การจัดโครงสร้ างการผลิต(ต่ อ)
44
 1. การองค์การของ
ฝ่ ายการผลิตตาม
ระบบการผลิต
อย่างต่อเนื่อง

-
ผูจ้ ดั การโรงงาน
ผูจ้ ดั การ
สายการผลิต1
-วางแผนการผลิต
-จัดตารางการผลิต
-ควบคุมวัตถุดิบและ
สิ นค้าคงเหลือ
บทที่ 1 ลักษณะและความสาคัญของการผลิต
ผูจ้ ดั การ
สายการผลิต2
หัวหน้างาน
การผลิต 2
ผูจ้ ดั การ
สายการผลิต3
ควบคุม
คุณภาพ
ผลิตภัณฑ์ 2
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริ หารการผลิต
การจัดโครงสร้ างการผลิต(ต่ อ)
45
 2. การจัด
โครงสร้างฝ่ าย
การผลิตแบบ
ตามสัง่
 แบ่งความ
รับผิดชอบเป็ น
อิสระ
บทที่ 1 ลักษณะและความสาคัญของการผลิต
ผูจ้ ดั การโรงงาน
ผูจ้ ดั การฝ่ ายการผลิต
หัวหน้าศูนย์1
หัวหน้าศูนย์ 2
หัวหน้าศูนย์ 3
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริ หารการผลิต
ตัวแบบการตัดสิ นใจ
46
 ตัวแบบการตัดสิ นใจ 3 แบบ
 1. ตัวแบบทางกายภาพ
 2. ตัวแบบแผน
 3.ตัวแบบคณิตศาสตร์
บทที่ 1 ลักษณะและความสาคัญของการผลิต
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริ หารการผลิต
แบบฝึ กหัดท้ ายบทที่ 1
47
 จงตอบคาถามต่อไปนี้
 1. Administration กับ Management มีความแตกต่างกันอย่างไร
 2.การบริ หารการผลิตประกอบด้วยกี่ข้ นั ตอน อะไรบ้าง
 3. จงอธิ บายความแตกต่างระหว่างสิ นค้าและบริ การ
 4. จงยกตัวอย่างของธุรกิจการผลิตที่เป็ นธุรกิจบริ การมา 5 ธุรกิจ
 5. การบริ หารการผลิตคืออะไร
บทที่ 1 ลักษณะและความสาคัญของการผลิต
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์เติมพงศ์ สุนทโรทก การบริ หารการผลิต