Transcript Slide 1
Group Project Management
• What is Project Management?
– Sequence of tasks
– Consumes resources
– Achieves an objective
– Results in something new
• Golden Rules of Project Success
– Develop a comprehensive realistic plan and keep it up-to-date
– Gain consensus on project outcomes
– Make reasonable resource requirements
– Build the best team you can and take care of them
– Keep the stakeholders informed
– Be willing to change or to try new things
Project Members need to keep the project information current
Project Stages
Initiate
Plan
Implement
Set goals and
Define Project Scope Obtain resources
objectives
Identify expectations Identify tasks
Lead team
Appoint project
Sequence Tasks
Maintain
manager
communication
Select team members Define resource needs Evaluate change
requests
Close
Conduct post-project
review
Prepare final
deliverables
Shut down operations
Disband team
1. ความล้ มเหลวในการบริหารโครงการซอฟต์ แวร์ VS. ทุกข์ เกิดก่ อน เพราะ
การบริหารจัดการโครงการ ขึน้ กับ T-Q-C
2. ความหมายซอฟต์ แวร์ กว้ างกว่ าโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพราะซอฟต์ แวร์
รวมทุกคู่มือเอกสารใช้ ซอฟต์ แวร์ COTS, ข้ อมูลที่อธิบายโปรแกรม
3. การบริหารงานโครงการ VS. ขอบเขต = ปั จจัยก่ อให้ เกิดความสัมฤทธิผล
ของทรั พยากร (Resources Critical Success Factors) + ระยะเวลาการ
พัฒนา (Time)
4. การวางแผนการดาเนินงานโครงการ VS. การบริหารโครงงานซอฟต์ แวร์
(สารบัญบริบทโครงงาน - Contents Context ตามหลักการ SA, SE)
5. การวิเคราะห์ ความคุ้มค่ าในการลงทุนขัน้ ตอนการผลิตซอฟต์ แวร์ VS.
ROI, ROO of Feasibility Study คุณค่ าของความจริงภายใต้ บริบทองค์ กร
ที่พัฒนาซอฟต์ แวร์ VS. Balanced Scorecard
6. การประเมินผลโครงการ VS. การประกันคุณภาพ ภายใต้
ข้ อเสนอ RBMS/ KPI และการประเมินโดยผู้ใช้ ภายนอก
Stakeholders และ ผู้ใช้ ภายใน Shareholders และ Business
process Outsourcing (BPO) / Consultants VS. ค่ าใช้ จ่าย
ซอฟต์ แวร์ 80-90% ของโครงการ
7. หลักการบริหารงานบุคลากรในการผลิตซอฟต์ แวร์ VS. Macro:
Matrix Organization, Micro: ICT Professional Positions or DNA
of Put the right MAN on the right JOB
8. ธรรมชาติของโครงการซอฟต์ แวร์ VS. การบริหารสัจธรรมแบบ
ไตรลักษณ์ VS.การบริหารการเปลี่ยนแปลง VS. การบริหารการ
พัฒนา VS. การบริหารตามวัตถุประสงค์ / นิโรธ หรือการบริหาร
เชิงยุทธศาสตร์ / อริยสัจจ /ธรรมชาติส่ งิ แวดล้ อม VS. การ
บริหารเชิงระบบ
9. รู ปแบบและกระบวนการพัฒนาซอฟต์ แวร์ VS. SA + SE + MIS + DB
VS. Structured Analysis and Object Oriented and Techniques Models
VS. UML
10. การจัดองค์ การของโครงการ
• การประเมินโครงการโดยการวางแผน VS. Scope = CSF + TIME
• การติดตามและดาเนินการโครงการ โดยการจัดตารางการทางาน
VS. GANNT CHART, PERT/ CPM
• การประมาณการขนาดและต้ นทุน บันทึกลงในการจัดตารางการ
ทางาน
• การบริหารทรั พยากรตามตารางการทางาน VS. Social Value of
Organization both informal and Formal VS. Inter-disciplinary +
Socio-cultural Innovation VS. MBO, Strategic Management
• การตรวจสอบและควบคุม การบริหารความเสี่ยง การจัดการคอนฟิ ก
กูเลชันของซอฟต์ แวร์ การจัดการคุณภาพของซอฟต์ แวร์ VS. BPO/
Consultants
Project Lifecycle 4 Phases
Who needs software?
• Most software is built in organizations for
people with specific needs.
– A stakeholder is a anyone who has an interest (or
stake) in the software being completed
– A user is someone who will need to use the
software to perform tasks.
– Sometimes stakeholders will be users; but often
the stakeholder will not use the software.
• For example, a senior manager (like a CEO or CTO in a
company) will usually have a stake in the software that is
built (since it affects the bottom line), even if she won’t
ever use it.
Who builds software?
• Software is typically built by a team of
software engineers, which includes:
– Business analysts or requirements analysts who
talk to users and stakeholders, plan the behavior
of software and write software requirements
– Designers and architects who plan the technical
solution
– Programmers who write the code
– Testers who verify that the software meets its
requirements and behaves as expected
Project Management
• The project manager plans and guides the
software project
– The project manager is responsible for identifying
the users and stakeholders and determining their
needs
– The project manager coordinates the team,
ensuring that each task has an appropriate
software engineer assigned and that each
engineer has sufficient knowledge to perform it
– To do this well, the project manager must be
familiar with every aspect of software engineering
Identifying Needs
• The project manager drives the scope
of the project.
– The project manager should identify and
talk to the main stakeholder
– The effective way to show stakeholders
that their needs are understood and that
those specific needs will be addressed is
with a vision and scope document
Vision and Scope Document
•
A typical vision and scope document follows an
outline like this one:
1. Problem Statement
a)
b)
c)
d)
e)
Project background
Stakeholders
Users
Risks
Assumptions
2. Vision of the Solution
a)
b)
c)
d)
Vision statement
List of features
Scope of phased release (optional)
Features that will not be developed
Project Plan
• The project plan defines the work that will be done on
the project and who will do it. It consists of:
– A statement of work (SOW) that describes all work products
that will be produced and a list of people who will perform
that work
– A resource list that contains a list of all resources that will be
needed for the product and their availability
– A work breakdown structure and a set of estimates
– A project schedule
– A risk plan that identifies any risks that might be encountered
and indicates how those risks would be handled should they
occur
Statement of Work
• The statement of work (SOW) is a detailed
description of all of the work products which
will be created over the course of the project.
It includes:
– A list of features that will be developed
– A description of each intermediate deliverable or
work product that will be built.
– The estimated effort involved for each work
product to be delivered
Resource List
• The project plan should contain a list of all
resources that will be used on the project.
– A resource is a person, hardware, room or
anything else that is necessary for the project but
limited in its availability
– The resource list should give each resource a
name, a brief one-line description, and list the
availability and cost (if applicable) of the resource
Estimates and Project Schedule
• The project plan should also include estimates and a
project schedule:
– A work breakdown structure (WBS) is defined. This is a list
of tasks which, if performed, will generate all of the work
products needed to build the software.
– An estimate of the effort required for each task in the WBS is
generated.
– A project schedule is created by assigning resources and
determining the calendar time required for each task.
Estimates and project schedules will be discussed in
detail in later slides.
Risk Plan
• A risk plan is a list of all risks that threaten the
project, along with a plan to mitigate some or
all of those risks.
– The project manager selects team members to
participate in a risk planning session:
• The team members brainstorm potential risks
• The probability and impact of each risk is estimated
• A risk plan is constructed
Risk Plan Example
Introduction
• Managing Conflicting Changes and Work
• Group Project Management
• Importance of Requirements and Specifications
• Comparing Agile to Other Methods (Penny Exercise)
• Milestones
Project Conflicts
• Conflict in project management is inevitable (especially from
different backgrounds).
• The potential for conflict is usually high because it involves
individuals from different backgrounds and orientations working
together to complete a complex task.
– Conflict over different objectives and expectations
– Unclear roles and uncertainty about who has the decision-making
authority
– Interpersonal conflicts between people
Managing Conflicting Changes
• What happens if work has been modified by multiple users since the
last iteration?
• What are your mechanisms to
–
–
–
–
informs the team there is a conflict
prevent further changes until this conflict is resolved
Usually this will require a discussion between the authors of the changes
The conflict can then be corrected
Managing Conflict II
• Here is a method known as the “win-win”
approach to conflict resolution:
1. Before you start resolving a conflict, analyse it by asking
questions from the conflicting parties
2. Once you have sufficient information about the conflict,
actively seek common ground in order to emphasize the
agreement side of things – this starts the conflict resolution
process on a positive note
3. Now ask the conflicting parties to brainstorm possible
solutions to the issues at hand
4. Once you have identified resolutions, agree upon guidelines
on how to implement these resolutions
Managing Conflict Task (10min)
• In groups discuss the following questions:
1. Who decides which changes are kept and which is deleted?
2. What impact do you see during the project?
3. What mechanisms would you put in place to ensure the correct
decisions are made?
4. What are the different scenarios causing conflict
Repository
of Tasks
Doc A
User 3
Doc A
User 1
Doc A
User 2
Managing Conflict Task (10min)
• In groups discuss the following questions:
1. Who decides which changes are kept and which is deleted?
2. What impact do you see during the project?
3. What mechanisms would you put in place to ensure the correct
decisions are made?
4. What are the different scenarios causing conflict
Repository
of Tasks
Doc A
User 3
Doc A
User 1
Doc A
User 2
Requirements Specification
(Based on SRS)
•
Well-designed, well-written requirements accomplishes four major goals:
•
It provides FEEDBACK to the customer.
– Customer’s assurance that the team understands the issues or problems to be solved
– Written in natural language, in an unambiguous manner that may also include charts, tables, data flow diagrams,
decision tables, etc.
•
It DECOMPOSES THE PROBLEM into component parts.
– places borders around the problem, solidifies ideas, and helps break down the problem into its component parts in
an orderly fashion.
•
It serves as an INPUT to the design specification.
– Serves as the parent document to subsequent documents.
– Contain sufficient detail so that a design solution can be devised.
•
It serves as a VALIDATION check.
– Serves as the parent document for testing and validation strategies.
Specification Task (10min)
Sort yourself into groups and complete the following
specifications and requirements.
Specifications:
• Create a picture with geometrical shapes of various colours.
The picture will
– have a red star, a blue circle and a green triangle not
overlapping
– two diagonal black lines crossing at the centre.
Requirements:
1. Diagonal lines
1.1 lines are black and straight
1.2 lines are drawn to intersect in the centre of the page
1.3 First line is from the top left (below the corner) to bottom right
(above the corner)
1.4 Second line is from top right corner to bottom right corner
2. Red star
2.1 Start is red and colour filled
2.2 Star is a six pointed star
2.3 Star is positioned on the upper right section of the page
2.4 Star is small in size
3. Green triangle
3.1 Triangle is green bordered with no fill
3.2 Triangle is positioned on the top left below the line from top left
to bottom right
3.3 Triangle is large in size
4. Blue circle
4.1 Circle is blue with no fill
4.2 Circle is position at the bottom of the page
4.3 Circle is not touching the black lines
4.4 Circle is medium in size
Draw the picture to the specification and requirements.
โครงการ
จากวิกพิ เี ดีย สารานุกรมเสรี
ไปที่: ป้ ายบอกทาง, ค้นหา
โครงการ (อังกฤษ: project) หมายถึง กระบวนการทางานที่ประกอบไปด้วยกิจกรรม
หลายๆกิจกรรม ซึ่ งมีการทาโครงการเป็ นไปตามลาดับ โดยการทางานจะต้องเป็ นไปตาม
วัตถุประสงค์ที่ต้ งั ไว้ เช่นการผลิตสิ นค้า หรื อ ทางานบริ การ โดยจะมีการกาหนดระยะเวลา
และงบประมาณที่จากัด ในการดาเนิ นงานโครงการจะต้องมีผทู ้ ี่มีหน้าที่รับผิดชอบต่อ
โครงการ มีหน้าที่ทาการบริหารงาน กิจกรรมต่างๆ ให้เป็ นไปตามแผนงาน เหมาะสมกับ
เวลา และงบประมาณที่ต้ งั ไว้
[แก้ ] การบริหารโครงการ
เทคนิคการบริ หารโครงการที่นิยมใช้คือ ซี พีเอ็ม จะทาให้สามารถกาหนดเวลา ในการทา
แต่ละกิจกรรมต่างของโครงการ CPM จะเป็ นตัวคาณวนหาเวลาที่เหมาะสม และวัน
เริ่ มต้น ให้กบั แต่ละกิจกรรม
ในปั จจุบนั การบริ หารจัดการเน้ นไปที่การบริ หารแบบโครงการ (Project Management) โดยได้ ดาเนินการกาหนดโครงการต่างๆ เพื่อเป็ นส่วนหนึง่ ในการสร้ างผลสัมฤทธิ์ให้ เกิดแก่
องค์กร การบริ หารโครงการจึงถือเป็ นความสาคัญประการหนึง่ ที่ถกู ละเลยมิได้ และจาเป็ นอย่างยิง่ ที่จะต้ องมีการเพิ่มทักษะและความรู้ให้ แ ก่บคุ ลากรขององค์กรไม่วา่ จะเป็ นระดับ
ปฏิบตั ิการไปจนถึงระดับบริ หารอยูเ่ สมอ
ในปั จจุบนั บุคลากรองค์กรจานวนมากเรี ยนรู้วิธีการบริ หารโครงการจากการทดลองปฏิบตั ิงานจริ ง แต่ต้องไม่ลมื ว่าการบริ หารโครงการควรคานึง ว่าจะต้ องใช้ งบประมาณควบคูก่ นั ไป
ด้ วย หากเกิดความผิดพลาดขึ ้นจะทาให้ เสียงบประมาณเป็ นจานวนมาก ดังนัน้ การรู้เทคนิคในการบริ หารโครงการจะช่วยลดการสูญเสียงบประมาณโดยไม่จาเป็ นตามไปด้ วย ผู้เขียน
จึงขอนาเสนอวิธีการบริ หารโครงการอย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีขนตอนทั
ั้
งหมด
้
8 ขันตอน
้
1. การทาความรู้จกั กับโครงการ ขันตอนในการก
้
าหนดโครงการมีทงหมด
ั้
4 ขันตอนตามล
้
าดับ ได้ แก่ กาหนดขอบเขตของโครงการ การวางแผนปฏิบตั ิ วิธีการนาไปสูก่ ารปฏิบตั ิ และ
การทาให้ โครงการประสบความสาเร็ จ
ในแต่ละโครงการจะต้ องมีการกาหนดแผนและกิจกรรมย่อย ๆ เป็ นส่วนประกอบ ผู้ปฏิบตั ิจึงจาเป็ นต้ องรู้จกั วิธีการจัดการกิจกรรมย่อยให้ เสร็ จตามเวลาเพื่อให้ แผนบรรลุ ผลสัมฤทธิ์
ตามเวลาที่กาหนด นอกจากนัน้ ความเปลีย่ นแปลงในระหว่างที่โครงการกาลังดาเนินอยู่ เช่น งบประมาณ บุคลากรและกระบวนการการทางานก็ถือเป็ นอุปสรรคสาคัญและอาจ
เกิดขึ ้นได้ ระหว่างการจัดการโครงการ ดังนัน้ คุณสมบัติของผู้บริ หารโครงการประการหนึง่ คือความสามารถในการบริ หารความเปลีย่ นแปลง
2. ค้ นหาความต้ องการของลูกค้ า ในขันตอนของการก
้
าหนดขอบเขตของโครงการ ผู้บริ หารโครงการจาเป็ นอย่างยิ่งที่จะต้ องคานึงถึงเวลา ค่าใช้ จ่า ยและคุณภาพของงานที่ลกู ค้ า
สามารถรับได้ โดยต้ องไม่ลมื คานึงว่าในแต่ละโครงการมีสว่ นประกอบสาคัญ 3 ส่วนที่จะนาไปสูค่ วามสาเร็ จ ได้ แก่ เวลาค่าใช้ จ่ายและคุณภาพของงาน ซึ่งส่วนประกอบทัง้ 3 ส่วนจัด
ว่ามีความสาคัญเป็ นอย่างยิ่งแต่ความเป็ นจริ งหากพิจารณาถึงความคิดของลูกค้ าแล้ วทัง้ 3 ส่วนอาจไม่จาเป็ นต้ องมีความสาคัญเท่ากันทังหมด
้
ตัวอย่างเช่น หากผู้บริ หารโครงการ
กาลังดาเนินโครงการเรื่ องการอบรมด้ านความปลอดภัยในโรงงาน ผู้บริ หารโครงการอาจสอบถามลูกค้ าได้ วา่ หากต้ องการให้ บรรลุเป้าหมายอย่างแท้ จริ งก็จาเป็ นจะต้ องเพิ่ม
งบประมาณในโครงการนี ้ ดังนัน้ ส่วนประกอบด้ านงบประมาณมีความสาคัญเป็ นอย่างมาก ดังนัน้ การค้ นหาความต้ องการที่แท้ จริ งของลูกค้ าในช่ วงการเจรจาโครงการจึงมี
ความสาคัญที่ผ้ บู ริ หารโครงการจาเป็ นต้ องคานึงถึง
3. การวางแผนโครงการ เป็ นสิง่ สาคัญ แต่ที่สาคัญมากกว่านันคื
้ อเมื่อนาแผนไปสูก่ ารปฏิบตั ิแล้ วแผนนันก็
้ อาจมีความเปลีย่ นแปลงได้ เสมอ ดัง นัน้ การวางแผนโครงการจึงไม่
จาเป็ นต้ องรี บเร่งแต่ต้องคานึงถึงความเป็ นไปได้ ในการนาแผนไปสูก่ ารปฏิบตั ิ ซึง่ เทคนิคที่อาจช่วยในการวางแผน ประกอบด้ วยคาถามเหล่านี ้ เช่น ในแผนนันมี
้ กิจกรรมอะไรบ้ างที่
ต้ องทา ในแต่ละกิจกรรมจะต้ องใช้ ระยะเวลานานเท่าใด จะต้ องทาอะไรบ้ าง จะต้ องเตรี ยมการอะไรล่วงหน้ าก่อนที่จะเริ่ มดาเนินกิจกรรมนันๆ
้ ต้ องใช้ ทรัพยากรที่จาเป็ นอะไรบ้ าง และ
ต้ องใช้ งบประมาณจานวนเท่าใด
4
4. การตรวจสอบการดาเนินการตามแผนอย่างต่อเนื่อง ในการดาเนินกิจกรรมแต่ละครัง้ จะต้ องถามตัวเองอยูเ่ สมอว่า อะไรคือความเสีย่ งในแต่ละกิ จกรรม หากเกิดข้ อผิดพลาดขึ ้นจะ
ทาอย่างไร และอะไรจะเกิดขึ ้นตามมา ดังนันการประเมิ
้
นความเสีย่ งที่อาจจะเกิดขึ ้นระหว่างการดาเนินกิจกรรมจึงเป็ นสิง่ สาคัญ เพื่อป้องกันความผิดพลาดที่อาจเกิดขึ ้นในระหว่างการ
ดาเนินกิจกรรม เช่น หากดาเนินกิจกรรมหนึง่ แต่ไม่สามารถทาให้ สาเร็ จตามระยะเวลาที่กาหนดได้ ซงึ่ อาจเกิดขึ ้นจากอุปสรรคบางประการเกี่ยวกับกาลังคน นักบริ หารโครงการก็
จาเป็ นต้ องวางแผนกาลังคนสารองไว้ ลว่ งหน้ าเพื่อไม่ให้ เกิดการขาดแคลนกาลังคน
5. การให้ สมาชิกในทีมมีสว่ นร่วม การมีสว่ นร่วมจะก่อให้ เกิดพันธะสัญญาของสมาชิกในทีมที่จะดาเนินโครงการให้ สาเร็ จได้ ดังนัน้ ผู้บริ หารโครงการจึงจาเป็ นต้ องกระตุ้นให้ สมาชิกใน
โครงการมีสว่ นร่วมในกิจกรรมต่างๆ เช่น การวางแผนโครงการ ผู้บริ หารโครงการอาจแยกออกเป็ นแผนย่อยๆ และแบ่งให้ สมาชิกในทีมมีสว่ นร่วมในการวางแผนแต่ละส่วน ไม่วา่ จะ
เป็ นการกาหนดกิจกรรมต่างๆ ในแต่ละแผนย่อย การกาหนดทรัพยากรที่จาเป็ นต้ องใช้ ในกิจกรรมต่างๆ และหาแหล่งทรัพยากรที่จาเป็ นต้ องใช้ มาจากไหน
6. ให้ ความจริ งจังกับการปฏิบตั ิตามแผน หากผู้บริ หารโครงการไม่ได้ มีการควบคุมอย่างเคร่งครัด อาจเกิดปั ญหาตามมาเกี่ยวกับ เวลา งบประมาณและคุณภาพของแผนได้ ดังนัน้
ผู้บริ หารโครงการควรมีการนัดประชุมเพื่อตรวจสอบการดาเนินการตามแผนเสมอ พยายามกระตุ้น หรื อหาแรงจูงใจให้ สมาชิกในทีมเกิดความตื่นตัว และพร้ อมที่จะแก้ ปัญหาที่อาจ
เกิดขึ ้นในระหว่างที่กาลังดาเนินการตามแผน หากสมาชิกในทีมไม่สามารถจะแก้ ปัญหาได้ ผู้บริ หารโครงการก็ควรสนับสนุนให้ สมาชิกเหล่านันถามถึ
้
งแนวทางในการแก้ ปัญหาเพื่อ
ป้องกันไม่ให้ กิจกรรม แผน หรื อโครงการเกิดความเสียหายหรื อไม่เป็ นไปตามเวลาที่กาหนดโดยไม่จาเป็ นได้
7. ควบคุมการดาเนินโครงการอย่างเคร่งครัด ผู้บริ หารโครงการควรทาความตกลงกับสมาชิกในทีมให้ ชดั เจนว่าเมื่อได้ ดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ แล้ ว ก็ไม่อาจเปลีย่ นแปลงกระบวนการ
ต่างๆ ที่ได้ วางเอาไว้ ได้ นอกเสียจากว่าสมาชิกในทีมจะนาปั ญหามาถกเถียง และเมื่อผู้บริ หารโครงการเห็นชอบ ก็อาจมีการเปลีย่ นแปลงได้ ตัวอย่างเช่น เมื่อดาเนินการตามกิจกรรมที่
ได้ วางไว้ แล้ ว สมาชิกอาจควบคุมให้ กิจกรรมสาเร็ จตามเวลาที่กาหนดได้ หรื อกิจกรรมนันอาจใช้
้
เวลามากเกินกว่าที่ได้ กาหนดเอาไว้ นอกจากนัน้ สมาชิกก็ควรประเมินว่าปั ญหาเช่นนี ้
จะหาวิธีการป้องกันอย่างไร ดังนัน้ ความสามารถในการควบคุมการดาเนินโครงการจึงถือเป็ นสิง่ สาคัญ
8. การทาให้ โครงการสาเร็ จอย่างมืออาชีพ กุญแจที่สาคัญที่สดุ ของผู้บริ หารโครงการคือจะต้ องสร้ างความแน่ใจให้ ได้ วา่ ลูกค้ าเกิดความพึงพอใจกับผลลัพธ์ที่เกิดจากการดาเนิน
โครงการ ผู้บริ หารโครงการที่มีประสิทธิภาพจะต้ องสามารถประเมินโครงการเป็ นระยะๆ อยูเ่ สมอ เพื่อสร้ างความเชื่อมัน่ ว่าโครงการดาเนินไปตามความต้ องการของลูกค้ า นอกจากนี ้
การตรวจสอบและการประเมินโครงการยังช่วยทาให้ ทราบถึงปั ญหาที่เกิดขึ ้นกับโครงการและความพยายามที่จะทาให้ โครงการประสบผลสาเร็ จของสมาชิ กในทีม การให้ กาลังใจและ
การชื่นชมสมาชิกในทีมถือเป็ นสิง่ สาคัญเนื่องจากเป็ นแรงกระตุ้น แต่การตรวจสอบและประเมินผลสมาชิกในทีมก็ถือว่าเป็ นสิง่ สาคัญเช่นกัน เพราะผู้บริ หารโครงการจะต้ องไม่ลมื ว่า
ความพึงพอใจของลูกค้ า คือความสาเร็ จของการบริ หารโครงการแบบมืออาชีพ
ผู้บริหารองค์กรระดับสูงนันมี
้ หน้ าที่ที่จะขับเคลื่อนองค์กรให้ ไปสูเ่ ป้าหมายหรื อ
วิศยั ทัศน์ขององค์กรได้ อย่างราบรื่ น ผู้บริหารระดับกลางนันมี
้ หน้ าที่ในการ
บริหารพันธ์กิจให้ สาเร็จลุลว่ งด้ วยดี ส่วนผู้จดั การแผนก มีหน้ าที่ในการบริหาร
ให้ โครงการสาเร็จได้ ด้วยดี และผู้จดั การโครงการ (Project Manager) เป็ น
ผู้บริหารระดับล่างสุด มีหน้ าที่ในการบริหารโครงการที่ตนเองได้ รับมอบหมาย
ให้ สาเร็จลุลว่ งด้ วยดี ทังงบประมาณ
้
เวลา และคุณภาพ ซึง่ หากทุกระดับ
สามารถทางานได้ ตามหน้ าที่แบบนี ้แล้ ว องค์กรนันก็
้ ยอ่ มประสบผลสาเร็จได้
อย่างยัง่ ยืน ขบวนการบริหารโครงการ (Project Management) จึงเป็ น
เครื่ องมือสาหรับผู้บริหาร และพนักงานระดับปฎิบตั ิการในทุกระดับ ให้ ทางาน
ประสานงานกันได้ อย่างราบรื่ น ลดปั ญหาขัดแย้ ง หรื อ รู้ข้อมูลไม่ตรงกัน โดย
การอบรมหลักสูตรนี ้จะครอบคลุมทังขบวนการบริ
้
หารโครงการ ตังแต่
้ เริ่มต้ น
โครงการ วางแผนโครงการ ดาเนินการโครงการ ควบคุมติดตามความก้ าวหน้ า
โครงการ การประเมินผลโครงการ และทาให้ผบู้ ริ หารสามารถเข้าใจถึงองค์ประกอบที่ จะ
ทาให้บริ หารโครงการได้สาเร็ จราบรื่ น ตั้งแต่ การบริ หารเวลา การบริ หารงบประมาณ การ
บริ หารคุณภาพ การบริ หารการสื่ อสาร การบริ หารขอบเขตงาน การบริ หารการบูรณาการ
การบริ หารความเสี่ ยง การบริ หารบุคคล และการบริ หารจัดซื้ อจัดจ้าง ซึ่ งจะช่วยให้ผเู้ ข้ารับ
การอบรมเข้าใจถึงปั จจัยที่มีผลต่อการบริ หารโครงการได้เป็ นอย่างดีหลักสู ตรการบริ หาร
โครงการสาหรับผูบ้ ริ หารนี้ จะช่วยให้ผบู ้ ริ หารองค์กรในทุกระดับ สามารถนาความรู้และ
ประสบการณ์ที่ได้รับไปบริ หารองค์กรให้ประสบผลสาเร็ จได้เป็ นอย่างดี ซึ่ งหลักสู ตรนี้
เหมาะสาหรับ ผูจ้ ดั การโครงการ (Project Manager) ผูจ้ ดั การโรงงาน ผูจ้ ดั การ
แผนก (Manager) ผูบ้ ริ หารระดับสูง(Executive) กรรมการผูจ้ ดั การ (CEO)
เจ้าหน้าที่ประสานงานโครงการ (Coordinator) และเจ้าหน้าที่ NGO
วันที่ 1 :
•ความสาคัญของการบริหารโครงการ กับ วงจรการบริหารโครงการใน
มุมมองต่าง ๆ
•บทบาทความสาคัญของผู้บริหาร และผู้จดั การโครงการ
•ทบทวนหลักวิชาการบริหารเชิงกลยุทธ์ (Basic Review)
•โครงสร้ างองค์การบริหารโครงการ
•การเริ่มโครงการ และแผนกลยุทธการบริหารโครงการ
•ทบทวนระบบการศึกษาความเป็ นไปได้ โครงการ และการประเมิน
โครงการ
•การเลือก และการตัดสินใจโครงการอย่างเป็ นระบบ
•โครงสร้ างหลักการบริหารจัดการ (Management Code Structure)
•การบริ หารความเสี่ ยงโครงการ
•กระบวนการจัดสรรหา และการคัดเลือกผูป้ ฏิบตั ิโครงการ
•วงจรการควบคุมโครงการ
•ปัจจัยความสาเร็ จการบริ หารโครงการ
•การประเมินผลการดาเนิ นงานโครงการ และกิจกรรมทดสอบ
•การบริ หารการก่อสร้าง
•กลยุทธ์การควบคุมระบบข้อมูลข่าวสาร และรายงานการบริ หารโครงการ
•การสิ้ นสุ ดโครงการ / การส่ งถ่ายโครงการ
•กิจกรรมกลุ่ม เพื่อทดสอบการตัดสิ นใจ & การคิดอย่างเป็ นระบบ
•สอบถามปัญหา
การบริ หารโครงการเพื่อให้บรรลุสู่ เป้ าหมายที่ต้ งั ไว้ นับว่าเป็ นความท้าทายต่อองค์กร
เป็ นอย่างยิง่ เนื่องจากจะต้องมีการปูพ้นื ฐานตั้งแต่การคิดวิเคราะห์ถึงรู ปแบบของ
โครงการ การคัดเลือกโครงการเพื่อการดาเนินการ ไปจนกระทัง่ การแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น
ในรู ปแบบต่าง ๆ เหนืออื่นใดก็เพื่อให้บรรลุวตั ถุประสงค์หรื อนาไปสู่ เป้ าหมายของ
โครงการที่ต้ งั ไว้นนั่ เอง
โดยเฉพาะในสภาพปั จจุบนั มีการแข่งขันกันสู งในธุรกิจภาคอุตสาหกรรมต่าง ๆ
ผูป้ ระกอบการจะต้องมีการพัฒนาแนวคิดในการจัดการและบริ หารโครงการให้เป็ น
แบบแผนและขั้นตอน โดยเริ่ มตั้งแต่การรวบรวมข้อมูลข่าวสารของการจัดระบบเพื่อ
วางแผน, การสัง่ งาน, การตรวจสอบ, การควบคุมการผลิต เพื่อที่จะได้มีการปรับปรุ ง
และแก้ไขในส่ วนที่บกพร่ องก่อนเริ่ มลงมือจริ ง โดยเครื่ องมือต่าง ๆ ที่จะใช้ในการ
วิเคราะห์และจัดการกับข้อมูลของโครงการก็อาศัยทั้งแนวคิดทางด้านเศรษฐศาสตร์ ซึ่ ง
มีเครื่ องมือในการวิเคราะห์ที่หลากหลาย ช่วยในการตัดสิ นใจขององค์กรต่อโครงการ
นอกจากนี้ยงั ต้องมีการนาเอาเทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์ เข้ามาใช้งานในการ
บริ หารเพื่อให้เกิดความรวดเร็ วและแม่นยามากยิง่ ขึ้น
1. โครงการคืออะไร
โดยทัว่ ไปโครงการหมายถึง เค้าโครงหรื อภาพรวมของกิจการที่กาหนดไว้ ซึ่ งโดยส่ วน
ใหญ่เรามักจะใช้คาว่าโปรเจกต์ (Project) ซึ่ งให้ความหมายที่ทาให้เข้าใจได้ครอบคุ
ลมมากกว่า แต่จริ ง ๆ แล้วโปรเจกต์กค็ ือโครงการนัน่ เอง ในภาคธุรกิจอุตสาหกรรมต่าง
ๆ ล้วนแต่มีโครงการที่กาหนดไว้ ซึ่ งอาจจะกาหนดแผนไว้ภายในหนึ่ งปี ห้าปี หรื อ สิ บปี
และในแต่ละปี อาจมีหลาย ๆ โครงการหรื อโครงการเดียว ตามแต่ศกั ยภาพขององค์กรนั้น
ๆ
สาหรับโครงการที่ต้ งั เป้ าไว้น้ นั อาจจะประสบความสาเร็ จตามเป้ าหมายหรื อล้มเหลวก็
ขึ้นอยูก่ บั การบริ หารและการจัดการ โดยรู ปแบบของโครงการนั้นก็จะแตกต่างกันไป
ขึ้นอยูก่ บั ขนาด, วิสัยทัศน์, เงินลงทุน และเวลาเป็ นสาคัญ บางโครงการอาจลงทุนนับ
สิ บล้านในระยะเวลาหลายปี หรื อบางโครงการมีการลงทุนไม่กี่พนั บาทเพียงแค่ไม่กี่วนั ก็
นับว่าเป็ นโครงการเช่นกัน โดยจะขอยกตัวอย่างการทางานที่สามารถกาหนดเป็ น
โครงการได้ เช่น
- การออกแบบและทดสอบเครื่ องยนต์
- การออกแบบและปลูกสร้างอาคาร
- การบารุ งรักษาระบบคอมพิวเตอร์
- การออกแบบและปรับโครงสร้างขององค์กร
- การวางแผนและตรวจสอบบัญชี
- การออกแบบบรรจุภณั ฑ์
- การจัดทัวร์ ของนักท่องเที่ยว
.
โดยภาพรวมแล้วสิ่ งสาคัญที่สามารถบ่งชี้ได้วา่ เค้าโครงของกิจการนั้นถือเป็ นโครงการเรา
อาจพิจารณาจากสิ่ งต่อไปนี้
มีการเริ่มต้ นและสิ้นสุ ด : อันหมายถึงการเริ่ มต้นดาเนิ นการตามโครงการที่ต้ งั ไว้ ซึ่ งการ
เริ่ มต้นนั้นก็จะต้องมีการสิ้ นสุ ดของโครงการด้วย อาจเทียบได้กบั ระยะเวลาในการ
ดาเนินการตามโครงการตั้งแต่วนั ที่เท่าไหร่ ถึงวันที่เท่าไหร่ ถึงวันที่เท่าไหร่ ซึ่ งถือเป็ น
ลักษณะหนึ่งของโครงการ
มีวงจรการดาเนินการ : ในบางครั้งโครงการอาจจะไม่มีจุดสิ้ นสุ ดของระยะเวลา
เนื่องจากจะต้องดาเนินการตามแผนที่วางไว้ตลอด แต่เป็ นไปในลักษณะของวงจร คือ
ทาซ้ าอย่างเดิม โดยส่ วนมากจะหมายถึง แผนงานประจาปี ที่กาหนดให้ทาซ้ าตลอดปี
เช่น การตรวจซ่อมบารุ งรักษาต้องทาทุก ๆ 3 เดือน
มีการจัดตั้งงบประมาณ : สิ่ งที่จะถือว่าเค้าโครงนั้นเป็ นโครงการอีกประการก็คือ การจัดตั้ง
งบประมาณ อันหมายถึงการกาหนดจานวนเงินในการลงทุน หรื อ ใช้จ่ายเพื่อให้เกิดการ
ดาเนินการตามแผนหรื อเค้าโครงงาน ซึ่ งอาจนับได้วา่ งบประมาณเป็ นสิ่ งที่ขบั เคลื่อน
โครงการที่สาคัญเป็ นอันดับแรกเลยทีเดียว
มีการใช้ ทรัพยากรในการทางาน : ทรัพยากรในการทางานอาจได้แก่ ทรัพยากรทางด้าน
วัตถุดิบ ทรัพยากรทางด้านเครื่ องมือ ทรัพยากรทางด้านบุคลากร ฯลฯ ซึ่ งทรัพยากรต่าง ๆ
เหล่านี้ตอ้ งมีการประสานการทางานร่ วมกัน
มีการกาหนดหน้ าที่ : การกาหนดหน้าที่ซ่ ึ งปรากฏในรู ปแบบของการบริ หารและจัดการกับ
โครงการเพื่อให้เกิดความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายในแต่ละโครงการ
มีการกาหนดทีมทางาน : ทีมทางานถือเป็ นสิ่ งที่ทาให้เกิดการพัฒนาและการ
เปลี่ยนแปลงต่อเค้าโครงการดาเนินการ ซึ่ งแต่ละโครงการที่จดั ตั้งขึ้นมาก็จะต้องมีทีม
ที่มารับผิดชอบในการทางาน หากธุรกิจอุตสาหกรรมใดมีทีมทางานที่ดีกจ็ ะทาให้
โครงการนั้นสามารถที่จะบรรลุเป้ าหมายได้
2. ควรบริหารโครงการอย่ างไรดี
เพื่อให้ บรรลุเป้ าหมายของโครงการที่ต้ งั ขึ้น เราจะต้องเรี ยนรู ้ถึงวิธีการจัดการและการ
บริ หารโครงการ โดยแนวทางของการบริ หารนั้นจะมีหลักพื้นฐานของการบริ หาร คือ
การสร้างความพึงพอใจและวิเคราะห์ถึงความต้องการสู งสุ ดของผูซ้ ้ื อ ภายใต้ขอบเขต
และเป้ าหมายของโครงการ ซึ่ งวิธีการที่จะทาให้โครงการนั้นสนองตอบต่อผูซ้ ้ื อ ตรง
เป้ าหมายของโครงการ ก็จะต้องอาศัยวิธีการที่หลากหลายในการบริ หาร เราจะเรี ยก
วิธีการบริ หารที่หลากหลายนี้วา่ วงจรชีวติ ของโครงการ (Project Life
Cycle) โดยเทคนิคที่ได้รับความนิยมในการบริ หารธุรกิจอุตสาหกรรมมากที่สุด
ได้แก่ วิธีการวิเคราะห์เครื อข่ายงาน วิธีการคืนทุน วิธีการควบคุมองค์ประกอบ โดย
แนวทางของวิธีการต่าง ๆ จะเป็ นการแสดงแนวคิดรู ปแบบของการบริ หารในแบบต่าง
ๆ เช่น การบริ หารตามแบบโครงการ การบริ หารแบบทัว่ ไป การบริ หารด้านเทคนิค
การบริหารด้ วยโครงการ
สาหรับวิธีการบริ หารด้วยโครงการเป็ นวิธีที่ใช้การศึกษาจากโครงการที่ ประสบ
ความสาเร็ จ นาแนวทางเหล่านั้นมาใช้หรื อพัฒนาต่อ ซึ่ งลักษณะของโครงการส่ วน
ใหญ่จะเป็ นโครงการที่มีการวิเคราะห์หรื อใช้เวลาในการศึกษาที่ยาวนาน และส่ งผลที่
ตรงตามเป้ าหมายทุกครั้ง ยกตัวอย่างโครงการ เช่น ทางด้านวิศวกรรม, ยานอวกาศ,
การก่อสร้าง หรื อ โครงการอื่น ๆ ที่ประสบความสาเร็ จและเป็ นที่ยอมรับโดยทัว่ ไป
โดยส่ วนใหญ่การบริ หารด้วยโครงการนี้ จะใช้วธิ ี การซื้ อเทคโนโลยีเหล่านั้นมาเป็ น
แนวทาง หรื อดาเนินการทันที เช่น ในการซื้ อเวชภัณฑ์ต่าง ๆ ของโรงพยาบาล จะมี
การจัดโครงการจัดซื้ อ โดยที่โรงพยาบาลไม่ตอ้ งทาการตั้งงบประมาณผลิตยาเหล่านั้น
ขึ้นมา เนื่องจากมีหน่วยงานที่มีความชานาญอยูแ่ ล้ว
การบริหารแบบทัว่ ไป
การบริ หารแบบทัว่ ไป เป็ นรู ปแบบที่กาหนดแนวทางสาหรับการบริ หารอย่างกว้าง ๆ
เพื่อที่จะให้ครอบคลุมการทางานขององค์กรให้มากที่สุด โดยส่ วนใหญ่เป็ นการจัดตั้ง
และจัดการในเรื่ องต่อไปนี้
- ผูน้ า
- ผูร้ ่ วมงาน
- ทีมทางาน
- การติดต่อ
- การจัดระบบ
- การวางแผน
- การอบรม
- การประสานงาน
- การจัดเตรี ยมเครื่ องมือ
- การตรวจสอบ
- การควบคุม
โดยภาพรวมของการบริ หารแบบทัว่ ไป ก็จะครอบคลุมในทุก ๆ ส่ วนขององค์กรธุรกิจ
ดังนั้นสิ่ งจาเป็ นที่จะต้องนามาใช้ในการบริ หารแบบทัว่ ไป ได้แก่
.
- การบริ หารทรัพยากรมนุษย์
- การขายและการตลาด
- การบัญชีและเงินเดือน
- การจัดทาสัญญา ข้อตกลง
- การใช้งานด้วยระบบคอมพิวเตอร์
ซึ่ งการที่จะบริ หารโครงการให้ประสบความสาเร็ จไม่จาเป็ นว่าเราจะต้องมี
ความสามารถในระดับผูเ้ ชี่ยวชาญ เพราะการเป็ นผูเ้ ชี่ยวชายก็ไม่อาจจะทาให้ธุรกิจ
ประสบความสาเร็ จได้ หากขาดความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ซึ่ งถือเป็ นสิ่ งสาคัญที่จะทา
ให้งานหรื อโครงการนั้นประสบความสาเร็ จ
.
การบริหารด้ านเทคนิค
เทคนิคหรื อวิธีการถือเป็ นรู ปแบบหลักที่ใช้ในการบริ หารเพื่อให้เกิดความสาเร็ จใน
โครงการนั้น ๆ อย่างมีประสิ ทธิ ภาพมากยิง่ ขึ้น ยิง่ ธุรกิจใดมีการพัฒนาเทคนิคที่เหนือ
คู่แข่งมากเพียงใด ธุรกิจนั้น ๆ ก็จะประสบความสาเร็ จมากยิง่ ขึ้น ดังนั้นในภาคธุรกิจ
อุตสาหกรรมจึงจาเป็ นต้องมีการบริ หารทางด้านเทคนิคอยูเ่ สมอ ยิง่ ผูบ้ ริ หารด้านเทคนิค
มีความเชี่ยวชาญมากเพียงใดธุรกิจก็จะประสบความสาเร็ จมากเท่านั้น
3. สภาพแวดล้อมในการบริหารโครงการ
เราจะพบว่าสภาพแวดล้อมของโครงการเป็ นอีกปั จจัยหนึ่ งที่ส่งผลโดยตรงต่อโครงการและ
การบริ หารโครงการ เนื่องจากว่าโครงการไม่ได้ผดุ ขึ้นมาภายใต้สภาพสุ ญญากาศ แต่
โครงการถูกสร้างขึ้นมาภายใต้สภาพแวดล้อมที่ตอ้ งพิจารณาถึงองค์ประกอบต่อไปนี้
- ผูร้ ่ วมลงทุนหลัก
- ผูส้ นับสนุน
- โครงสร้างของบริ ษทั
- ความต้องการของตลาด
- คู่ต่อสู ้ทางธุรกิจ
- เทคโนโลยีใหม่ ๆ
- กฎเกณฑ์ขอ้ บังคับ
- สภาพเศรษฐศาสตร์
.
.
เราจะเห็นว่าสภาพแวดล้อมต่าง ๆ นี้ส่งผลกระทบโดยตรงต่อโครงการ ดังนั้นหากจะมีการ
จัดการหรื อบริ หารโครงการควรที่จะต้องมีการพิจารณาถึงสภาพแวดล้อมเหล่านี้ เป็ นอันดับ
ต้น ๆ
4. โปรแกรมบริหารโครงการ
ด้วยเทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์ ทาให้เราไม่ตอ้ งลาบากต่อการคิดวางแผนในการ
จัดการบริ หารให้ยงุ่ ยากเหมือนก่อน เนื่องจากปั จจุบนั ได้มีผทู ้ ี่คิดพัฒนาโปรแกรมเพื่อใช้ใน
การบริ หารโครงการขึ้นมาใช้เพียงแค่เรามีความรู ้ในด้านการใช้งานคอมพิวเตอร์ และเรี ยนรู้
โปรแกรมที่ใช้ในการบริ หารโครงการ ก็สามารถที่จะทราบได้ทนั ทีวา่ โครงการที่กาหนด
ไว้สามารถที่จะบรรลุเป้ าหมายหรื อไม่
สาหรับโปรแกรมในด้านการบริ หารโครงการนั้นก็มีให้เราได้เลือกใช้งานกันอย่าง
หลากหลาย นับตั้งแต่ช่วยในการวางแผน การควบคุมโครงการ หากต้องการทดสอบแผน
ของโครงการจากกระทบต่าง ๆ ก็สามารถที่จะทาได้อย่างรวดเร็ ว โดยที่เราไม่จาเป็ นต้อง
เรี ยนรู ้ถึงวิธีการคานวณในทางเศรษฐศาสตร์ เนื่องจากมีความยุง่ ยากในการเรี ยนรู้
พอสมควร แต่กไ็ ม่ได้หมายความว่าไม่ใช่สิ่งจาเป็ น เพราะการเรี ยนรู ้ในวิธีการก็จะช่วยให้
ผูป้ ระกอบการเข้าใจถึงหลักการบริ หารโครงการได้มากยิง่ ขึ้น
.
นอกจากนี้เรายังได้รับประโยชน์จากการใช้งานคอมพิวเตอร์ เนื่องจากคอมพิวเตอร์มีความ
รวดเร็ วในการจัดงานด้านเอกสาร การจัดเก็บข้อมูล ใช้ในการติดต่อสื่ อสาร นาเสนอข้อมูล
ต่อลูกค้า หรื อเป็ นผูช้ ่วยในการจัดตารางนัดหมาย เป็ นต้น ซึ่ งความรวดเร็ ว และแม่นยาจาก
การใช้งานคอมพิวเตอร์ น้ ีจะส่ งผลให้ธุรกิจอุตสาหกรรมสามารถแซงหน้าคู่ต่อสู ้ทางธุรกิจ
ได้
5. ผลกาไรจากการบริหารโครงการ
สิ่ งที่เราจะได้รับจากการบริ หารโครงการก็คือผลกาไร ซึ่ งเกิดจากการพัฒนาและ
วางแผนโดยดาเนินตามแนวทางที่ต้ งั ไว้ได้สาเร็ จ ซึ่ งธุรกิจอุตสาหกรรมต่าง ๆ จะ
ได้รับผลกาไรเหล่านี้ ในรู ปแบบต่าง ๆ กันตามแต่เป้ าหมายที่กาหนดไว้ แต่โดย
ส่ วนใหญ่กจ็ ะออกมาในรู ปแบบของผลกาไรจากการลงทุนซึ่ งก็คือเม็ดเงินที่ได้รับ
กลับมานัน่ เอง ดังนั้นธุรกิจจะได้รับกาไรมากหรื อน้อยก็ข้ ึนอยูก่ บั การวางแผน
และควบคุมระบบ
.
เมื่อเราทราบว่าผลกาไรจากการบริ หารโครงการก็คือเงิน เพราะฉะนั้นในการ
วางแผนและควบคุมระบบ จาเป็ นต้องมีการเพิ่มการบริ หารต้นทุนเข้าไปด้วย
เพราะถือเป็ นสิ่ งที่เป็ นตัวแปรสาคัญต่อการบริ หารโครงการโดยตรง สาหรับ
ข้อมูลในการบริ หารต้นทุนนั้นผูป้ ระกอบการจะต้องทราบถึงรายละเอียดคร่ าว ๆ
ดังต่อไปนี้
การประเมินราคา : การประเมินราคาถือเป็ นหลักพื้นฐานสาหรับการวางแผนโครงการ
หากเราไม่สามารถประเมินราคาของต้นทุนที่จะใช้ไปได้ เราก็ไม่สามารถที่จะจัดการ
บริ หารได้เช่นกัน โดยเฉพาะโครงการที่มีระยะเวลาในดารดาเนินงานที่ยาวนาน หากไม่มี
การประเมินราคาของต้นทุนที่จะใช้ไป หรื อ ผลกาไรที่จะได้รับกลับมา อาจต้องเกิดการ
ขาดทุนได้เนื่องจากต้องสู ญเสี ยเงินไปในการลงทุนจากการที่ไม่ได้มีการประเมินราคาไว้
ตั้งแต่ตน้
การคานวณต้ นทุน : ในการคานวณเพื่อวิเคราะห์ตน้ ทุนสาหับโครงการนั้น ก็ถือเป็ น
รายละเอียดสาคัญเนื่องจากเราไม่สามารถที่จะประเมินราคาขึ้นมาอย่างลอย ๆ ได้
จาเป็ นต้องอาศัยหลักการคานวณทางเศรษฐศาสตร์ เป็ นสาคัญ ซึ่ งจะช่วยให้เรารู้ถึง
จานวนเงินที่ตอ้ งลงทุนจริ ง และตัดสิ นใจที่จะลงทุนได้ง่ายมากยิง่ ขึ้น
การรวมโครงการ : ในโครงการที่เป็ นรู ปแบบเดียวกันเพื่อเป็ นการลดต้นทุนจะต้องมี
การรวมเข้าไว้เป็ นโครงการเดียวกัน ซึ่ งจะช่วยให้เราสามารถนาเงินไปลงทุนใน
โครงการอื่นได้อีก
.
การรายงานผล : ข้อมูลหรื อ ความผิดพลาดที่เกิดขึ้นในการวางแผนและควบคุมระบบ
จะต้องมีการจัดทารายงานที่ละเอียดแยกแยะหัวข้อปลีกย่อยอย่างชัดเจน เพื่อที่เราจะได้
กาหนดแนวทางในการแก้ปัญหาต่อไป
การประเมินระบบ : ในระยะเวลาที่มีการดาเนินการตามแผนงานนั้น จาเป็ นอย่างยิง่ ที่
จะต้องมีการประเมินระบบเพื่อจะได้ทราบถึงการตอบรับหรื อปั ญหาที่เกิดจากโครงการ
ควรมีกาหนดระยะการประเมินที่ต่อเนื่องกันไป เช่น ทุกเดือน ทุกสัปดาห์ ตลอดช่วง
ของการดาเนินงาน
แนวโน้ มธุรกิจ : โครงการที่จะประสบผลสาเร็ จนั้นจะต้องมีการติดตามแนวโน้มของ
ธุรกิจไปด้วยเสมอเพื่อให้ทนั ยุคทันเหตุการณ์ ถึงแม้วา่ ลักษณะของข้อมูลแบบนี้
อาจจะเปลี่ยนแปลงไปตามยุคตามสมัยแต่กถ็ ือเป็ นอีกข้อมูลที่จะช่วยในการบริ หาร
ต้นทุนได้ดี
.
วิธีการปฏิบัติ : เราจะนาการวางแผนและการควบคุมระบบไปใช้ในโครงการที่
ต้องการพัฒนาวิธีการปฏิบตั ิงาน เพื่อให้เกิดความพิถีพิถนั และตรงตามความต้องการ
ของโครงการ
6. หน้ าที่หลักในการบริหารโครงการ
เมื่อเราทราบถึงลักษณะตลอดจนสภาพแวดล้อมต่าง ๆ ของการบริ หารโครงการ เราก็จะ
เห็นว่าเป็ นเรื่ องที่ผปู ้ ระกอบการต้องให้ความสาคัญเป็ นอย่างยิง่ ในทุก ๆ ด้าน เพราะธุรกิจ
จะประสบความสาเร็ จหรื อล้มเหลวก็ข้ ึนอยูก่ บั การบริ หาร ดังนั้นผูท้ ี่จะมาอยูใ่ นตาแหน่งที่
จะมีหน้าที่ในการบริ หารโครงการได้น้ นั จะต้องมีความสามารถเฉพาะตัวหลายประการ
ยกตัวอย่างเช่น
.
.
- มีความสามารถในการเป็ นผูน้ า
- มีความสามารถแก้ไขปั ญหาเฉพาะหน้า
- มีความสามารถในการคัดสรรโครงการ
- มีความคล่องแคล่วในการทางาน
- มีความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์
- มีความสามารถในด้านการเจรจาต่อรองและจูงใจ
- มีความเข้าใจในสภาพแวดล้อมของแต่ละโครงการ
- มีความสามารถในด้านการตรวจสอบและควบคุม
- มีความสามารถในการบริ หารเมื่อสภาพแวดล้อมเปลี่ยนแปลงไป
- มีความสามารถทาให้ลกู ค้าพึงพอใจ
จากแนวคิดและหลักเกณฑ์ต่าง ๆ ที่กล่าวมาทั้งหมด ถือเป็ นเรื่ องพื้นฐานที่ผปู้ ระกอบการ
ในภาคธุรกิจอุตสาหกรรมจาเป็ นที่จะต้องรู ้และเข้าใจอย่างถ่องแท้ เพราะถึงแม้ธุรกิจจะมี
เงินทุนมากเพียงใด แต่ถา้ ขาดการบริ หารที่ดีและมีประสิ ทธิ ภาพ ก็อาจจะพบกับคาว่า
ขาดทุนหรื อล้มเหลวได้ สาหรับการบริ หารโครงการนี้ยงั มีกระบวนการหรื อแนวคิดที่จะ
นาไปสู่ เป้ าหมายที่ต้ งั ไว้อีกหลาย ๆ ประการซึ่ งเราสามารถที่จะเลือกนาไปใช้ให้เหมาะสม
กับโครงการได้
ว่ าคุณจะได้ รับประโยชน์
ใช้ WBS และการพัฒนาเครื อข่าย
ระบุปัญหาและแก้ปัญหาโดยใช้เทคนิคการแก้ปัญหา
ติดตามโครงการได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
สร้างรายงานที่แสดงสถานะการจัดการด้านงบประมาณที่กาหนดตารางเวลาและ
แนวโน้มกาลังเป็ นหัวหน้า
จัดการกับตารางโครงการทางเทคนิคคับ
สิ่ งทีค่ ุณจะ Cover
ภาพรวมของเครื่องมือการบริหารจัดการโครงการที่สาคัญ
กรอบการจัดการโครงการและกลุ่มคาศัพท์กระบวนการและ Nine พื้นที่ความรู้
ของ PMBOK
ความหมายของสภาพแวดล้อมการจัดการโครงการทางด้านเทคนิค
วงจรชีวิตในสภาพแวดล้อมทางเทคนิค
จาเป็ นสาหรับผู้นาทีมโครงการ
ชั้นนาในสภาพแวดล้อมทางเทคนิค
โครงการวางแผนการเริ่มต้ นกับขอบเขตการจัดการ
โดยใช้แบบ SMART เมื่อเขียนวัตถุประสงค์
การสร้างงบขอบเขตรายละเอียด
โครงการกิจกรรมการกาหนด
สร้าง WBS เอง
Technical ตัวอย่าง WBS โครงการ
การพัฒนา Dynamic ตารางโครงการ
ประเภทของผังเครื อข่าย
ภาพรวมเส้นทางที่สาคัญ
การสร้ างกระบวนการเสี ยงประมาณ
ห้าพิจารณาเมื่อมีการประมาณการ
การพิจารณาความเสี่ ยงเมื่อประมาณประมาณสามจุด
องค์ ประกอบของการวางแผนโครงการ
กระบวนการวางแผนกลุ่ม
โครงการ baselines ประสิ ทธิภาพ
เทคนิคระเบียบวิธีการวางแผนโครงการ
ระบุวธิ ี การที่แตกต่างเพื่อการวางแผนโครงการเทคนิคการวางแผนคลื่นกลิ้ง ...
กระบวนการประตูเวที ... ที่สาคัญโครงการการจัดการโซ่
การก่อสร้างโครงการวัฏจักรชีวติ ทัว่ ไป
รอบโครงการสามัญยาชีวิต
และการควบคุมโครงการการตรวจสอบ
รายงานสถานะโครงการ ... ... baselines ระบุความแปรปรวน
ปิ ดโครงการ
ปิ ดการบริ หารกับการปิ ดสัญญา
- ความรู ้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงการ
- องค์ประกอบของการวางแผนโครงการ
- กระบวนการวางแผนโครงการ
- เทคนิคการวางแผนโครงการ
- วิธีสายทางวิกฤตหรื อซี พีเอ็ม (Critical path method: CPM)
- เทคนิคการประเมินผลและทบทวนแผนงานหรื อเพิร์ท (Program evaluation
and review technique: PERT)
- ขั้นตอนการวางแผนเพื่อบริ หารทัว่ ทั้งองค์การ
ผูจ้ ดั การโครงการด้านเทคนิค straddles เส้นระหว่างความสามารถเข้าใจและองค์กรด้านเทคนิค . ที่ผม
กล่าวถึงในบล็อกก่อนหน้านี้ผมผสมนี้ทาให้เขาชอบในแบบเดียวกันกับดักทางจิตวิทยาที่ทาให้เกิดภัยพิบตั ิ
พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและช่าง . นอกจากนี้ยงั ให้พวกเขาแข็งแกร่ งมากและไม่คาดคิด ผูจ้ ดั การที่มีทกั ษะ
สามารถใช้ประโยชน์เพื่อเร่ งให้โครงการเสร็ จและปรับปรุ งคุณภาพโครงการ 1) โครงการจัดการทางรู้ เมือ่
ต้ องรอ
สิ่ งที่ยากที่จะทาเมื่อทางานกับปั ญหาทางเทคนิคที่จะทราบเมื่อถึง Hold'em และทราบว่า
เมื่อถึง fold'em . เขารู้เมื่อเดิน ... อะแฮ่ม . ขออภัยราลึกความหลัง มันดึงดูดโดยเฉพาะใน
สิ่ งที่ดูเหมือนว่าวิกฤติจากหนึ่ งหรื อหลายมุมเพื่อกดดันทีมเทคนิคสาหรับคาตอบ"หรื อ"
แก้ไข". แต่ TPM ดีรู้จากประสบการณ์ของตัวเองเพียงวิธีอนั ตรายชนิดของความดันที่
สามารถ เป็ น . สามารถใช้ทีมงานที่ดีจาก overburdened ที่ไร้ประโยชน์อย่าง
สมบูรณ์และส่ งแก้ปัญหาได้ประสบการณ์ลึกปฏิเสธ . ครั้งของพระองค์ลกั ลอบใช้รหัสกันใน
วันที่ปล่อยหรื อทาให้เซิ ร์ฟเวอร์ กบั bailing wire และความตั้งใจดีจะช่วยให้เขาตัดสิ น
เมื่อใด ผลักดันและเมื่อไปนัง่ รอ
2) โครงการจัดการทางรู้ เมือ่ จะย้ าย
บางครั้งรอทีมมากับสารละลายหรื อสาหรับเอกสารที่ได้รับเสร็ จแล้วหรื อความรู้สึกที่ดีในการ
ยืนยันตัวเองเป็ นวิธีที่ surest ความล้มเหลว . มีครั้งเมื่อคนและสายโซลูชนั่ ขึ้นเพียงขวา
และคน ต้องตัดสิ นใจย้าย . คนที่มกั จะจัดการโครงการทางเทคนิคที่เหลือในประวัติศาสตร์ที่
ยาวนานของความเข้าใจระบบเทคนิคและผูท้ ี่ทางานกับพวกเขาเพื่อให้สิทธิ โทร แต่เมื่อรู ้วา่
ต้องรอและเมื่อย้ายเป็ นศิลปะมากเนื่องจากเป็ นวิทยาศาสตร์ . มันมาจากความสามารถในการ
อ่านของระบบสิ่ งแวดล้อมและทีมงานและรวมข้อมูลที่เป็ นมุมมองของสถานการณ์ยทุ ธวิธี .
แต่ ความสามารถในการอ่านสถานการณ์ยทุ ธวิธีน้ ีจะมาในราคาบางครั้งการปิ ดบังดู TPM
ของภาพมากขึ้น 3) โครงการจัดการด้ านเทคนิคสามารถสร้ างทีมงาน
ผูจ้ ดั การโครงการทัว่ ไปได้รับงานที่ดีจากทีมงานของเขา . แต่เขาไม่ค่อยเข้าใจ ins ลึก
หนาบางของความคิดทางเทคนิค . เขาไม่ได้พดู เช่นเดียวกับภาษาที่ใช้วธิ ี เดียวกันหรื อมี
เดียวกันนัง่ ติดลึกปริ ศนา และการแข่งขันทางปั ญญาที่ทาให้ทีมงานด้านเทคนิคเพื่อให้
สนุกมากที่จะทางานกับ . TPM ในขณะเดียวกันเป็ นคนวิชาการ . เขาสุ จริ ต
ความสาคัญกับสิ่ งที่ตอ้ งการรหัสเพิ่มประสิ ทธิ ภาพสถาปั ตยกรรมโปรเซสเซอร์และการ
พัฒนาล่าสุ ดในโลก Linux ที่สาคัญ TPM รู ้สิ่งที่มนั ต้องการที่จะทางานเป็ นคนไอ
ทีในธุรกิจปั จจุบนั โลก . ความรู ้น้ ีจะช่วยให้เขาทั้งสองช่วยเหลือทีมงานทางานได้ดีและ
แปลความต้องการของทีมเป็ นภาษานักธุรกิจสามารถเข้าใจ ในไม่กี่สัปดาห์ขา้ งหน้าฉัน
จะสารวจแนวความคิดนี้เล็กน้อย more . ฉันมีบางคิดหนักที่ตอ้ งทาเกี่ยวกับการแปล
การติดต่อธุรกิจในทิศทางเทคนิคซึ่ งถ้าถูกต้องได้ขอ้ มันอาจจะจริ ง มีประโยชน์ในบางจุด