เอกสารประกอบการบรรยาย - ศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัดปทุมธานี
Download
Report
Transcript เอกสารประกอบการบรรยาย - ศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัดปทุมธานี
กรอบยุทธศาสตร์การพัฒนากาลังคน และ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาแรงงานและประสานงานการฝึ กอาชีพแห่งชาติ
ผลการศึกษาโครงการศึกษาวิเคราะห์แนวทางการพัฒนากาลังคน ทีส่ อดคล้องกับการลงทุน
ตามแผนปฏิบตั กิ ารไทยเข้มแข็ง 2555 และการปรับกลไกการบริหารงาน โดยกรมพัฒนาฝีมอื แรงงาน
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
21 ธันวาคม 2553
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
1
สาระสาคัญ
1.
ที่มาและวัตถุประสงค์ของการศึกษา
2.
ผลการศึกษา
3.
–
สรุปสถานการณ์สาคัญ
–
กรอบยุทธศาสตร์การพัฒนากาลังคน
–
ยุทธศาสตร์การพัฒนาแรงงานและประสานงานการฝึกอาชีพแห่งชาติ
–
ประเด็นสาคัญและข้อเสนอแนะเบือ้ งต้น ทีจ่ ะใช้เป็ นแนวทางในการพัฒนาระบบการพัฒนากาลังคน
ของประเทศในระยะต่อไป
–
ข้อเสนอแนะแนวทางการบริหารงานด้านการพัฒนาฝีมอื แรงงาน ของกรมพัฒนาฝีมอื แรงงาน
แผนการดาเนินงาน
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2
1
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ที่มาและวัตถุประสงค์ของการศึกษา
3
ความเห็นชอบ จากคณะกรรมการพัฒนาแรงงานและประสานงานการฝึ กอาชีพแห่งชาติ
(กพร.ปช.) ครัง้ ที่ ๑/๒๕๕๓ เมื่อ ๒ เมษายน ๒๕๕๓
เห็นชอบให้มก
ี ารพ ัฒนากรอบยุทธศาสตร์การพ ัฒนากาล ังคน เพือ
่ รองรับการพัฒนาการฟื้ น
่ ้อตกลงของ
ตัวจากเศรษฐกิจ การตอบสนองต่อการเปลีย
่ นแปลงของนานาชาติ การเข ้าสูข
ี น และโครงสร ้างการเปลีย
อาเซย
่ นแปลงของระบบเศรษฐกิจไทย และสอดคล ้องกับระเบียบ
ี แห่งชาติ พ.ศ.
สานั กนายกรัฐมนตรีวา่ ด ้วยการพัฒนาแรงงานและประสานงานการฝึ กฝี มอ
ื อาชพ
๒๕๕๒ โดยดาเนินการ ใน 5 ระยะ ประกอบด ้วย
ระยะที่ 1 จัดทากรอบยุทธศาสตร์ (Strategic Framework) ทิศทางและมาตรฐานของการพัฒนากาลังคน
่ ้อตกลงของอาเซย
ี น
(Blueprint) ทีต
่ อบสนองต่อการเปลีย
่ นแปลงของนานาชาติ การเข ้าสูข
โครงสร ้างการเปลีย
่ นแปลงของระบบเศรษฐกิจไทย และสอดคล ้องกับระเบียบสานักนายก ว่าด ้วย
ี แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒ เพือ
การพัฒนาแรงงานและประสานงานการฝึ กฝี มอ
ื อาชพ
่ นาไปประกอบการ
จัดประชุมเชงิ ปฏิบัตก
ิ าร รวมทัง้ พัฒนาแผนดาเนินงานและแผนปฏิบัตงิ าน (ระยะเวลา 6 เดือน :
แล ้วเสร็จในเดือน ธันวาคม 2553)
่ ารจัดทาแผนการพัฒนากาลังคนทีส
ระยะที่ 2 จัดประชุมเชงิ ปฏิบัตก
ิ าร (Workshop) เพือ
่ นาไปสูก
่ มบูรณ์
(Strategic Blueprint) ทีป
่ ระกอบด ้วยแนวทางในการกาหนดนโยบาย แนวทาง มาตรการ และการ
ี ของผู ้ทีอ
ประสานงานเกีย
่ วกับการพัฒนาแรงงานและการฝึ กอาชพ
่ ยูใ่ นกาลังแรงงาน (ระยะเวลา 6
เดือน)
ระยะที่ 3 พัฒนาแผนดาเนินงานและแผนปฏิบัตงิ าน (Roadmap) ให ้สอดคล ้องกับกรอบการพัฒนากาลังคน
ี
และเป็ นไปตามระเบียบสานักนายก ว่าด ้วยการพัฒนาแรงงานและประสานงานการฝึ กฝี มอ
ื อาชพ
แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒ เพือ
่ เป็ นแนวทางของหน่วยงานภาครัฐและเอกชนทีเ่ กีย
่ วข ้อง รวมทัง้ จัดทา
แผนการบริหารการเปลีย
่ นแปลง และระบบการติดตามและประเมินผล (ระยะเวลา 6 เดือน)
ระยะที่ 4 จัดหาทรัพยากร (งบประมาณ บุคลากร ระบบบริหารการจัดการ การจัดทาระบบฐานข ้อมูลเพือ
่ การ
บริหารจัดการ: MIS) เพือ
่ ดาเนินงานตามแผนพัฒนากาลังคน
ระยะที่ 5 ติดตามและประเมินผลการดาเนินงานตามกรอบกาลังคน
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
4
วัตถุประสงค์ของการศึกษา
เพือ่ ให้มกี ารทบทวนภาพรวมของระบบการพัฒนากาลังคนของประเทศในปจั จุบนั รวมทัง้
จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาสและอุปสรรค (SWOT) ของระบบการพัฒนากาลังคนของประเทศ
เพือ่ จัดทากรอบยุทธศาสตร์การพัฒนากาลังคน (Strategic Framework) ทีพ่ จิ ารณา
ผลกระทบจากสถานการณ์ดา้ นการพัฒนากาลังคน โดยระบุทศิ ทาง เป้าหมาย มาตรฐานสาคัญ
และการบูรณาการหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องกับการพัฒนากาลังคนของประเทศ
เพือ่ กาหนดประเด็นสาคัญและข้อเสนอแนะเบือ้ งต้น (Guidelines) ที่จะใช้เป็ นแนวทางใน
การพัฒนาระบบการพัฒนากาลังคนของประเทศในระยะต่อไป เช่น การจัดประชุมเชิง
ปฏิบตั กิ าร ร่วมกับผูม้ สี ว่ นเกีย่ วข้อง อันจะนาไปสูก่ ารจัดทาแผนการพัฒนากาลังคนทีส่ มบูรณ์
(Strategic Blueprint) รวมทัง้ การให้ขอ้ เสนอแนะในการพัฒนาแผนการดาเนินงาน และแผนอื่นๆ
ทีเ่ กีย่ วข้องต่อไป
เพือ่ จัดทาข้อเสนอแนะแนวทางการบริหารงานด้านการพัฒนาฝี มือแรงงาน ของกรม
พัฒนาฝี มือแรงงาน ทีส่ อดคล้องกับกรอบยุทธศาสตร์การพัฒนากาลังคน อันจะเป็ นกลไกสาคัญ
ต่อการขับเคลื่อนระบบการพัฒนากาลังคนของประเทศอย่างมีทศิ ทางและเป็ นระบบ
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
5
สรุปกิจกรรมสาคัญที่ผา่ นมา
ครั้งที่
วัน เดือน ปี
เรื่อง
1. 20 มกราคม 2553 แนวคิดพื้นฐานของการพัฒนา
กาลังคนของประเทศ
2.
3 มีนาคม 2553
3.
25 มีนาคม 2553
4.
5.
6.
สถานการณ์ของการพัฒนา
กาลังคนของประเทศ
การประชุมคณะอนุกรรมการ
ประสานการพัฒนากาลังคน
ภายใต้แผนปฏิบตั ิการไทย
เข้มแข็ง ๒๕๕๕ ครั้งที่ ๑/
๒๕๕๓
2 เมษายน 2553 การประชุมคณะกรรมการ
พัฒนาแรงงานและ
ประสานงานการฝึ กอาชีพ
แห่งชาติ (กพร.ปช.) ครั้งที่ ๑/
๒๕๕๓
11 มิถุนายน กรมพัฒนาฝี มือแรงงานกับ
สานักงานคณะกรรมการ
2553
อาชีวะศึกษา รวมพลังพัฒนา
ทักษะฝี มือนักศึกษาอาชีวะ
18 มิถุนายน รายงานเบื้องต้น
2553
7. 6 กรกฏาคม 2553 การประชุมคณะอนุกรรมการ
ประสานการพัฒนากาลังคน
ภายใต้แผนปฏิบตั ิการไทย
เข้มแข็ง ๒๕๕๕ ครั้งที่ ๒/
๒๕๕๓
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สถานที่
วัตถุประสงค์ ของการประชุ ม
กรม คณะที่ปรึ กษาประชุมร่ วมกับอธิบดีกรมพัฒนา
พัฒนา ฝี มือแรงงานและผูท้ รงคุณวุฒิ ถึงประเด็นสาคัญ
ฝี มือ และแนวคิดพื้นฐานของการพัฒนากาลังคนของ
แรงงาน ประเทศ
กรม คณะที่ปรึ กษาประชุมร่ วมกับอธิบดีกรมพัฒนา
พัฒนา ฝี มือแรงงานและผูท้ รงคุณวุฒิ ถึงสถานการณ์การ
ฝี มือ พัฒนากาลังคนของประเทศ
แรงงาน
กรม คณะที่ปรึ กษาประชุมร่ วมกับอธิบดีกรมพัฒนา
พัฒนา ฝี มือแรงงาน คณะอนุกรรมการฯ และ
ฝี มือ ผูท้ รงคุณวุฒิ ถึงกรอบแนวคิดในการพัฒนา
แรงงาน กาลังคนของประเทศ
กรม คณะที่ปรึ กษาร่ วมกับผูท้ รงคุณวุฒิ นาเสนอสรุ ป
พัฒนา สาระสาคัญและแนวทางการพัฒนากาลังคน เพือ่
ฝี มือ นาเสนอและรับฟังความเห็นกรอบแนวคิดเบื้องต้น
แรงงาน จากหน่วยงานและผูท้ รงคุณวุฒิที่เกี่ยวข้อง
อ.ชะอา คณะที่ปรึ กษาร่ วมกับผูท้ รงคุณวุฒิ ในการรับฟัง
จ.เพชรบุรี ความคิดเห็นถึงแนวทางในการพัฒนาแรงงานยุค
ใหม่และแนวทางการบูรณาการ
กรม คณะที่ปรึ กษาประชุมร่ วมกับคณะทางานฯ และ
พัฒนา คณะกรรมการตรวจรับรายงานเบื้องต้น เพือ่ รับฟัง
ฝี มือ ข้อเสนอและความคิดเห็นประกอบการดาเนินงาน
แรงงาน ในลาดับต่อไป
กรม คณะที่ปรึ กษานาเสนอแนวคิดการจัดทา กรอบ
พัฒนา ยุทธศาสตร์การพัฒนากาลังคน เพือ่ รับฟังข้อเสนอ
ฝี มือ และความคิดเห็น จากคณะอนุกรรมการฯ และ
แรงงาน คณะทางานฯ
6
ผลการศึกษา
2
A
สรุปสถานการณ์สาคัญ
B
กรอบยุทธศาสตร์การพัฒนากาลังคน
C
ยุทธศาสตร์การพัฒนาแรงงานและประสานงาน
การฝึ กอาชีพแห่งชาติ
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
7
A
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สรุ ปสถานการณ์ สาคัญ
8
การเคลื่อนย้ายแรงงาน
จากต่างประเทศ
ต่างประเทศ
ภาพรวมของระบบการพัฒนากาลังคนของประเทศ
แรงงานฝีมอื (Skill)
แรงงานไร้ฝีมอื (Unskilled)
การผลิตและพัฒนา
แรงงานในประเทศ
การศึกษา (Education)
การพัฒนาฝีมอื แรงงาน (Skill Development)
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ระดับโลก (Global)
ระดับภูมภิ าค (Regional)
การ
จ้างงาน
ในประเทศ (Domestic)
อุปทาน (Supply)
สถานการณ์โลก/ความต้องการ
แรงงานในต่างประเทศ
อุปสงค์ (Demand)
สถานการณ์ในประเทศ/
ความต้องการแรงงานในประเทศ
การขับเคลือ่ นด้วยกลไกตลาด (Market Driven)
การขับเคลือ่ นโดยนโยบาย (Policy Driven)
9
ASEAN Free Flow
การเคลื่อนย้าย
แรงงาน
แรงงานฝีมอื
แรงงาน
ไร้ฝีมอื
างประเทศ
ต่International
ภาพรวมของระบบการพัฒนากาลังคนของประเทศ
แนวโน้ มการจ้างงานของโลก
ผลิตภัณฑ์มวลรวมโลก
อัตราการจ้างงาน
การเติบโตของอุตสาหกรรม
นานาชาติ l
ภูมิภาค
ASEAN
การ
จ้างงาน
อุปทาน (Supply)
ASEAN
การเคลื่อนย้ายสินค้าอย่างเสรี
การเคลื่อนย้ายบริการอย่างเสรี
การเคลื่อนย้ายการลงทุนอย่างเสรี
การเคลื่อนย้ายเงินทุนอย่างเสรี
การเคลื่อนย้ายแรงงานอย่างเสรี
อุปสงค์ (Demand)
กาลังคนทีม่ คี วามพร้อม
กาลังคนทีม่ คี วามสามารถในการแข่งขัน
ศึกษาต่อเนื่ อง
ระดับอุดมศึกษา
(สถาบันอุดมศึกษา)
ระดับอาชีวะศึกษา
(วิทยาลัย/ปวช./ปวส...)
ระดับการศึกษาขัน้
พืน้ ฐาน (โรงเรียน...)
การพัฒนาฝี มือแรงงาน
ขับเคลื่อนโดยนโยบาย
ยกระดับ
ฝึกเปลีย่ นสาขาอาชีพ
พัฒนา/ทดสอบมาตรฐาน
ฝึกเตรียมเข้าทางาน
ทิศทางการพัฒนา
ประเทศ
ส่วนราชการ
ผูป้ ระกอบ
การ
สถาบัน
การศึกษา
สถาบันเอกชน
ระบบ/แผนการพั
คณะเศรษฐศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัฒ
ย นากาลังคน
ในประเทศ (Domestic)
การศึกษา
ทิศทางการพัฒนา
อุตสาหกรรม
ทิศทางการพัฒนา
พืน้ ที่
ทิศทางการพัฒนา
กาลังคน
ขับเคลื่อนโดยกลไกตลาด
มหภาค
(Macro)
ประเทศ
อุตสาหกรรม
พืน้ ที่
Supply Chain
Cluster Cluster Cluster
Large
Enterprise
Small Medium
Enterprise
Micro Enterprise
จุลภาค
(Micro)
10
จุดเด่น
ความพร้อมในการผลิต/การสนับสนุนกาลังคน
เพือ่ เข้าทางาน
วัฒนธรรมของประเทศให้ความสาคัญกับ
การศึกษาและการพัฒนาฝีมอื แรงงาน
การเปิ ดโอกาสทางการศึกษา
การพัฒนาทักษะแรงงาน มีเครือข่ายสถาบัน
พัฒนาฝีมอื แรงงานภาคและศูนย์พฒ
ั นาฝี มอื
แรงงานจังหวัดครอบคลุมพืน้ ทีท่ วประเทศ
ั่
จุดอ่อน
ความไม่มนคงและไม่
ั่
แน่นอนทางการเมือง
ค่านิยมของนักศึกษาทีใ่ ห้ความสาคัญกับปริญญามากกว่าความรู/้ ทักษะ
ในการประกอบอาชีพ
ความเป็ นระบบในการจัดการมาตรฐานแรงงาน และการยอมรับ
มาตรฐานแรงงานในระดับสากล
ขาดศูนย์รวมในการบริหารจัดการแรงงานในภาพรวมทัง้ หมด (ต่างคน
ต่างทา)
การขาดการบริหารจัดการในเชิงพืน
้ ที่ ทาให้เกิดการเคลือ่ นย้ายแรงงาน
การขาดการพิจารณากาลังคนทีส่ อดคล้องกับลักษณะเฉพาะของแต่ละ
พืน้ ที่
การพัฒนากาลังคนในเชิงปริมาณและคุณภาพทีไ่ ม่สอดคล้องกับทิศ
ทางการพัฒนาอุตสากรรม
โอกาส
ASEAN Free Flow เปิดโอกาสให้แรงงาน
ไทยทีม่ ศี กั ยภาพสามารถเข้าถึงการจ้างงาน
ได้มากขึน้ และมีทางเลือกมากขึน้
การฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลกทีม
่ แี นวโน้ม
โดยรวมดีขน้ึ
ความสนใจของประเทศเป้าหมาย เช่น ญีป
่ ุน่
เข้ามาลงทุนในประเทศไทย (Long Term
Partnership) ส่งผลให้เกิดการจ้างงานเพิม่ ขึน้
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
อุปสรรค
ASEAN Free Flow เปิดโอกาสให้แรงงานต่างชาติทม่ี ศี กั ยภาพ
เคลือ่ นย้ายเข้ามาทางานในประเทศไทย ส่งผลต่ออัตราการจ้างงานของ
แรงงานไทย
การเคลือ่ นย้ายแรงงานไร้ฝีมอื จากประเทศเพือ่ นบ้านทีม
่ ปี ริมาณสูงขึน้
การย้ายฐานการผลิตไปยังประเทศทีม
่ กี ารจ้างงานถูกกว่าและมีคุณภาพ
ดีกว่า และมันคงกว่
่
า
11
12
ความเชื่อมโยงของบริบทการศึกษา (Education)
และบริบทการพัฒนาฝี มือ (Skill Development)
บริ บทการศึกษา (Education)
ระดับอุดมศึกษา
(สถาบันอุดมศึกษา)
ระดับอาชีวศึกษา
(วิทยาลัย/ปวช./ปวส...)
การเติ บโต
ของตลาด
(Market Driven)
ภาคการผลิตและบริการ
บริ บทการพัฒนาฝี มือ
(Skill Development)
การมีงานทา (Employment)
ภาคการเกษตร
ประกาศนี ยบัตร หรือ
การศึกษาเพิ่ มเติ ม
(ภาครัฐ/ภาคเอกชน)
ประกาศนี ยบัตร หรือ
การศึกษาเพิ่ มเติ ม
(ภาครัฐ/ภาคเอกชน)
– อุตสาหกรรมอาหาร
– อุตสาหกรรมพลังงาน
– ฯลฯ
แรงงาน
เชีย่ วชาญ
แรงงาน
ฝีมอื
ภาคอุตสาหกรรมการผลิ ต
เพิม่ ทักษะ
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ประกาศนี ยบัตร หรือ
การศึกษาเพิ่ มเติ ม
(ภาครัฐ/ภาคเอกชน)
แรงงาน
ไร้ฝีมอื
(ขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ่)
– อุตสาหกรรมยานยนต์
– อุตสาหกรรมปิโตรเคมีและ
พลาสติก
– อุตสาหกรรมเคมี
– อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์
– อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ยาง
– ฯลฯ
ภาคบริ การ (ขนาดเล็ก ขนาด
แรงงาน
กึง่ ฝีมอื
ระดับการศึกษาขัน้
พืน้ ฐาน (โรงเรียน...)
นโยบายรัฐบาล
(Government
Plan Driven)
ว่างงาน
กลาง ขนาดใหญ่)
– ท่องเทีย่ ว
– MICE
– สุขภาพ
– โลจิสติกส์
– ฯลฯ
12
13
ระดับและมาตรฐานของวิสาหกิจในแต่ละอุตสาหกรรม
จานวน
วิ สาหกิ จ
ระดับสากล
(International
Standard)
วิ สาหกิ จ
ขนาดใหญ่
(Large
Enterprise)
ระดับชาติ หรือ
ระดับสากล
(National/
International
Standard)
วิสาหกิจ
ขนาดกลาง/เล็ก
(Small Medium
Enterprise)
วิ สาหกิ จขนาดย่อย
(Micro Enterprise)
4,614
(0.32%)
Employment
(Person)
GDP
(Mil Baht)
2,875,495
(23.95%)
5,502,676
(61.1%)
2,848,256
(99.68%)
9,129,747
(76.05%)
3,503,340
(38.9%)
ทีม่ า ปรับปรุงจาก 2010f Thailand Enterprise Profiles
ภาพรวมของประเทศไทยในปี ค.ศ.2010
แม้วา่ วิสาหกิจขนาดใหญ่มจี านวนน้อยกว่าวิสาหกิจขนาดกลาง/เล็ก/ย่อย แต่การจ้างงานของวิสาหกิจขนาดใหญ่คิดเป็ น
ร้อยละ 23.95 อีกทัง้ มูลค่าของ GDP สูงกว่าวิสาหกิจขนาดกลาง/เล็ก/ย่อย
วิสาหกิจแต่ละระดับ มีเป้ าหมาย/ขอบเขตการดาเนินธุรกิจและการแข่งขันที่แตกต่างกัน
วิสาหกิจขนาดกลาง/เล็ก ต้องได้มาตรฐานฝีมอื แรงงานในระดับชาติ
วิสาหกิจขนาดใหญ่ ต้องได้รบั การยอมรับจากมาตรฐานฝีมอื แรงงานในระดับสากล
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
13
ASEAN
The Association of Southeast Asian Nations (ASEAN)
ค.ศ.2015 ASEAN มีเป้าหมายในการรวมตัวเป็ น Single Market and Production
Base ส่งผลให้แรงงานที่มีขีดความสามารถ/ศักยภาพของประเทศสมาชิกสามารถ
เคลื่อนย้ายได้อย่างเสรีในภูมภิ าค ASEAN
ภายในปี
ASEAN ECONOMIC COMMUNITY BLUEPRINT
Thirteenth ASEAN Summit, Singapore, 18-22 November 2007
The ASEAN Economic Community (AEC) shall be the goal of regional economic integration by
2015. AEC envisages the following key characteristics:
A. Single Market and Production Base
9. An ASEAN single market and production base shall comprise five core elements:
(i) free flow of goods;
(ii) free flow of services;
(iii) free flow of investment;
(iv) free flow of capital; and
(v) free flow of skilled labour.
In addition, the single market and production base also include two important components, namely,
the priority integration sectors, and food, agriculture and forestry.
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
14
สรุปสาระสาคัญของ พ.ร.บ.ส่งเสริมการพัฒนาฝี มือแรงงาน พ.ศ.2545
อุตสาหกรรม ข.
ม.23
อุตสาหกรรม ก.
ม.38
คณะกรรมการ
ส่งเสริม
การพัฒนาฝี มือ
แรงงาน
ม.8
ฝึ กเตรียมเข้าทางาน
พัฒนาและทดสอบมาตรฐาน
ฝี มือแรงงาน
ม.22
คณะกรรมการ
จัดทามาตรฐาน
ฝี มือแรงงาน
แห่งชาติ
ยกระดับ
ฝี มือ
ม.20
เปลี่ยนอาชีพ
ม.27 กองทุนพัฒนาฝี มือแรงงาน
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
15
การพัฒนาแรงงานและประสานงานการฝึ กอาชีพแห่งชาติ
ตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัฒนาแรงงานและประสานงานการฝึ กอาชีพแห่งชาติ พ.ศ. 2552
ข้อ ๘ คณะกรรมการมีอานาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้
(๑) กาหนดนโยบายและแนวทางในการพัฒนาแรงงานและประสานงานการฝึ กอาชีพของผูอ้ ยูใ่ นกาลัง
แรงงานให้สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาล และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
(๒) ประสานแผนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ระหว่างระบบการศึกษากับระบบการพัฒนากาลัง
แรงงานให้มคี วามสัมพันธ์สอดคล้องตามนโยบายแห่งรัฐ และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
(๓) ประสานนโยบาย แผนการพัฒนาฝี มือแรงงาน และแผนการฝึ กอาชีพของทุกหน่ วยงานทัง้ ภาครัฐ
และภาคเอกชน เพือ่ ความเป็ นเอกภาพในการพัฒนาแรงงานขจัดปญั หาความซ้าซ้อนและความ
สิน้ เปลือง
(๔) ติดตามและประเมินผลการดาเนินงานตามนโยบายและแผนงาน ในการพัฒนาแรงงานและ
ประสานงานการฝึกอาชีพของหน่วยงานต่าง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง
(๕) เสนอแนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรคเกีย่ วกับการพัฒนาแรงงานและประสานงานการฝึกอาชีพ
(๖) ปฏิบตั กิ ารอืน่ ใดตามทีค่ ณะรัฐมนตรีหรือนายกรัฐมนตรีมอบหมายในการดาเนินการตามอานาจหน้าทีใ่ น
เรือ่ งใด ถ้าคณะกรรมการเห็นว่ามีกรณีจาเป็ นอาจเสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพือ่ พิจารณาได้ เมื่อคณะรัฐมนตรี
มีมติอย่างใดให้หน่วยงานของรัฐทีเ่ กีย่ วข้องมีหน้าทีป่ ฏิบตั ติ ามโดยเร็ว
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
16
โจทย์สาคัญด้านแรงงาน
17
การกาหนดสาขาอาชีพทีเ่ ป็นมาตรฐานและเป็นระบบชัดเจน ในแต่ละอุตสาหกรรม
การวิเคราะห์เพือ่ กาหนดความต้องการแรงงานแต่ละสาขาอาชีพทัง้ ในเชิงปริมาณ และคุณภาพ (ระดับมาตรฐาน) ที่
ต้องการ ซึง่ สามารถใช้เป็นข้อมูลประกอบการกาหนดนโยบายการพัฒนาแรงงานในแต่ละอาชีพ และแต่ละ
อุตสาหกรรม
การศึกษาและรวบรวมข้อมูลแรงงานในอุตสาหกรรมแต่ละประเภท โดยจาแนกตามขนาดของสถานประกอบการ
เพือ่ เป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการผลิตหรือพัฒนาแรงงาน
การมีหน่วยงานหลักรับผิดชอบในการจัดทาและปรับปรุงฐานข้อมูลหลักด้านแรงงาน เพือ่ เป็นข้อมูลให้หน่วยต่าง ๆ
ใช้ประโยชน์ ดังนี้
หน่วยงานด้านการศึกษา: กาหนดแนวทางในการผลิตทีต่ รงความต้องการ
หน่วยงานพัฒนาแรงงาน: กาหนดแนวทางการพัฒนาฝีมอื แรงงานตามมาตรฐาน
สมาคม/สภาวิชาชีพ: กาหนดคุณภาพ หรือระดับมาตรฐานของแรงงาน
วิสาหกิจ: กาหนดทิศทางการพัฒนา/การเติบโตของวิสาหกิจ
หน่วยงานกลาง(ด้านแผน): มีขอ้ มูลประกอบการกาหนดนโยบายในภาพรวม
การจัดการเครือข่ายการศึกษาและพัฒนาแรงงานร่วมกับภาคการเกษตร การผลิตและภาคบริการ รวมทัง้ SME และ
Self-Employment เพือ่ บูรณาการความร่วมมือการพัฒนาแรงงานตามทิศทางการพัฒนาประเทศ/ภูมภิ าคและจังหวัด
การปรับเปลีย่ นบทบาทของกรมพัฒนาฝีมอื แรงงานรองรับการเปลีย่ นแปลงและการแข่งขันในระดับโลก โดยเฉพาะ
การเคลื่อนย้ายแรงงานมีฝีมอื อย่างเสรีในภูมภิ าค ASEAN
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
17
B
กรอบยุทธศาสตร์ การพัฒนากาลังคน
1.
2.
3.
4.
5.
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สนับสนุนการกาหนดและพัฒนามาตรฐานวิชาชีพ/มาตรฐานฝีมอื แรงงาน
พัฒนาฐานข้อมูลด้านแรงงานทัง้ อุปสงค์และอุปทาน เพือ่ เป็ นข้อมูลกาหนด
นโยบายและแนวทางในการพัฒนาแรงงานและประสานงานการฝึกอาชีพ
จัดทาแผนการพัฒนากาลังคนให้สอดคล้องกับความต้องการในระดับประเทศและ
ในระดับพืน้ ที่
บริหารจัดการเครือข่ายการพัฒนาแรงงาน
พัฒนาฝีมอื แรงงานเพือ่ รองรับการเคลื่อนย้ายแรงงานมีฝีมอื อย่างเสรีในภูมภิ าค
ASEAN
18
หลักการสาคัญ
สนับสนุ นให้คณะกรรมการการพัฒนาแรงงานและประสานงานการฝึกอาชีพ
แห่งชาติ หรือ กพร.ปช. เป็ นกลไกหลักในการวางแผน และประสานการพัฒนา
ทรัพยากรมนุษย์ตามทิศทางการพัฒนาประเทศ ตลอดจนเป็ นหลักในการ
เตรียมการรองรับการเปลีย่ นแปลงในภูมภิ าค
ทาให้เกิดการปรับปรุงเชิงโครงสร้างการบริหารจัดการด้านแรงงานของประเทศ
ทีส่ ามารถบูรณาการการศึกษาและการพัฒนาฝีมอื แรงงานอย่างมีประสิทธิภาพ
สร้างความมันใจให้
่
กบั ภาคเอกชนในการขยายการดาเนินธุรกิจและการลงทุน
ใหม่ในเรือ่ งปริมาณและมาตรฐานฝีมอื แรงงานทีจ่ ะสามารถรองรับได้
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
19
กรอบยุทธศาสตร์การพัฒนากาลังคน ตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี
ว่าด้วยการพัฒนาแรงงานและประสานงานการฝึ กอาชีพแห่งชาติ พ.ศ. 2552
การพัฒนาฝี มือแรงงาน
เพื่อรองรับการเคลื่อนย้าย
แรงงานมีฝีมืออย่างเสรีใน
ภูมิภาค ASEAN
5
1
มาตรฐานวิ ชาชีพ/
มาตรฐานฝี มือแรงงาน
เสนอแนวทางการแก้ไขปัญหาและ
อุปสรรคเกี่ยวกับการพัฒนาแรงงาน
และประสานงานการฝึ กอาชีพ (ข้อ 5
ตามระเบียบสานักนายกฯ )
2
4
การพัฒนา
ประสานนโยบาย แผนการพัฒนา
เครือข่าย
ฝีมอื แรงงาน
ข้อมูลด้านแรงงาน
ฝี มือแรงงาน และแผนการฝึ ก การพัฒนาแรงงาน
อาชีพของทุกหน่ วยงานทัง้
ภาครัฐและภาคเอกชนเพื่อความ
3
เป็ นเอกภาพในการพัฒนา
แรงงานขจัดปัญหาความซา้ ซ้อน
แผนการพัฒนา
กาลังคน
และความสิ้ นเปลือง (ข้อ 3 ตาม
ระเบียบสานักนายกฯ )
กาหนดนโยบายและแนวทางในการพัฒนาแรงงาน
และประสานงานการฝึ กอาชีพ (ข้อ 1 ตามระเบียบ
สานักนายกฯ )
ติ ดตามและประเมิ นผลการดาเนิ นงานตามนโยบาย
และแผนงาน (ข้อ 4 ตามระเบียบสานักนายกฯ )
ประสานแผนการพัฒนาทรัพยากร
มนุษย์ระหว่างระบบการศึกษากับ
ระบบการพัฒนากาลังแรงงาน
(ข้อ 2 ตามระเบียบสานักนายกฯ )
(6) ปฏิ บตั ิ การอื่นใดตามที่คณะรัฐมนตรีหรือนายกรัฐมนตรีมอบหมายในการดาเนิ นการตามอานาจหน้ าที่ในเรื่องใด
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
20
บริบทการพัฒนาฝี มือแรงงาน
การผลิ ตและการพัฒนาแรงงาน
ระดับ
หลักสูตรการผลิ ตและพัฒนาแรงงาน
ระยะ
ยาว
มาตรฐานหลักสูตร
ระดับอุดมศึกษา มาตรฐานหลักสูตร
ระดับอุดมศึกษา
กรอบมาตรฐาน
คุณวุฒ ิ
ระดับอุดมศึกษา
แห่งชาติ (TQF)
มาตรฐานวิชาชีพ
(ตามสมาคมวิชาชีพ)/
มาตรฐานฝีมอื แรงงาน
Professional
การพัฒนา
ฝีมอื แรงงาน
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ผูจ้ า้ งงาน
ภาครัฐ/เอกชน
แรงงาน
สถานภาพ
แรงงาน
ความต้องการ
แรงงานสุทธิ
ผูจ้ า้ งงาน
Skilled
Workforce
ภาครัฐ/เอกชน
แรงงาน
สถานภาพ
แรงงาน
ความต้องการ
แรงงานสุทธิ
ผูจ้ า้ งงาน
มาตรฐานหลักสูตร
ฝึกอบรม
ระยะ
สัน้
ภาคเกษตร
ระดับอาชีวะศึกษา มาตรฐานหลักสูตร
อาชีวะศึกษา
คุณวุฒวิ ชิ าชีพ (Thai
Vocational
Qualifications)
ภาคการผลิ ตและบริ การ
ภาครัฐ/เอกชน
แรงงาน
Semi-skilled
Workforce
สถานภาพ
แรงงาน
ความต้องการ
แรงงานสุทธิ
ภาคอุตสาหกรรม
ผูจ้ า้ งงาน
ภาครัฐ/เอกชน
แรงงาน
สถานภาพ
แรงงาน
ความต้องการ
แรงงานสุทธิ
ผูจ้ า้ งงาน
ภาครัฐ/เอกชน
แรงงาน
สถานภาพ
แรงงาน
ความต้องการ
แรงงานสุทธิ
ผูจ้ า้ งงาน
ภาครัฐ/เอกชน
แรงงาน
สถานภาพ
แรงงาน
ความต้องการ
แรงงานสุทธิ
ภาคบริ การ
ผูจ้ า้ งงาน
ภาครัฐ/เอกชน
แรงงาน
สถานภาพ
แรงงาน
ความต้องการ
แรงงานสุทธิ
ผูจ้ า้ งงาน
ภาครัฐ/เอกชน
แรงงาน
สถานภาพ
แรงงาน
ความต้องการ
แรงงานสุทธิ
ผูจ้ า้ งงาน
ภาครัฐ/เอกชน
แรงงาน
สถานภาพ
แรงงาน
ความต้องการ
แรงงานสุทธิ
21
บริบทการพัฒนาฝี มือแรงงาน
5 พัฒนาฝี มือแรงงานเพื่อรองรับ
ASEAN FREE Flow
มาตรฐานวิชฒ
าชีนาก
พ
การผลิ ตและการพัฒนาแรงงาน แผนการพั
ภาคการผลิ ตและบริ การ
าลั
ง
คน
3
(ตามสมาคมวิชาชีพ)/
ระดับ
มาตรฐานหลักสูตร
ภาคเกษตร ภาคอุตสาหกรรม ภาคบริ การ
(อุปสงค์มอื แแรงงาน
ละอุปทาน)
มาตรฐานฝี
หลักสูตรการผลิ ตและพัฒนาแรงงาน
ระยะ
ยาว
ระยะ
สัน้
มาตรฐานวิชาชีProfessional
พ/
ระดับอุดมศึกษา
กรอบมาตรฐาน
มือแรงงาน
คุณมาตรฐานฝี
วุฒ ิ
ระดับอุดมศึกษา 1มาตรฐานหลักสูตร
ระดับอุดมศึกษา
แห่งชาติ (TQF)
ผูจ้ า้ งงาน
ภาครัฐ/เอกชน
แรงงาน
สถานภาพ
แรงงาน
ความต้องการ
แรงงานสุทธิ
ผูจ้ า้ งงาน
ภาครัฐ/เอกชน
แรงงาน
สถานภาพ
แรงงาน
ความต้องการ
แรงงานสุทธิ
2 ข้อมูลด้านแรงงาน
ผูจ้ า้ งงาน
ผูจ้ า้ งงาน
ภาครัฐ/เอกชน พภาครั
ฐ/เอกชน
(ความต้องการแรงงานในแต่
ล
ะสาขาอาชี
กั
บ
แรงงาน
แรงงาน
Skilled
สถานภาพ
แรงงานผูส้ าเร็จการศึ
กษาในแต่แรงงาน
ละสาขาวิชาสถานภาพ
)
Workforce
แรงงาน
ระดับอาชีวะศึกษา มาตรฐานหลักสูตร
อาชีวะศึกษา
คุณวุฒวิ ชิ าชีพ (Thai
Vocational
Qualifications)
4 การพัฒนา
มาตรฐานหลักสูตร
ฝึกอบรม
เครื
อข่ายการผลิตและพัฒนาแรงงาน
ฝีมอื แรงงาน
(ภาคผูจ้ ้างงานภาคการศึSemi-skilled
กษา
และพัฒนาแรงงาน) Workforce
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ความต้องการ
แรงงานสุทธิ
ผูจ้ า้ งงาน
ภาครัฐ/เอกชน
แรงงาน
สถานภาพ
แรงงาน
ความต้องการ
แรงงานสุทธิ
ความต้องการ
แรงงานสุทธิ
ผูจ้ า้ งงาน
ภาครัฐ/เอกชน
แรงงาน
สถานภาพ
แรงงาน
ความต้องการ
แรงงานสุทธิ
ผูจ้ า้ งงาน
ภาครัฐ/เอกชน
แรงงาน
สถานภาพ
แรงงาน
ความต้องการ
แรงงานสุทธิ
ผูจ้ า้ งงาน
ภาครัฐ/เอกชน
แรงงาน
สถานภาพ
แรงงาน
ความต้องการ
แรงงานสุทธิ
ผูจ้ า้ งงาน
ภาครัฐ/เอกชน
แรงงาน
สถานภาพ
แรงงาน
ความต้องการ
แรงงานสุทธิ
22
1
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สนับสนุนการกาหนดและพัฒนา
มาตรฐานวิชาชีพ/มาตรฐานฝี มือแรงงาน
23
สนับสนุนการกาหนดและพัฒนามาตรฐานวิชาชีพ/มาตรฐานฝี มือแรงงาน
การผลิ ตและการพัฒนาแรงงาน
ระดับ
หลักสูตรการผลิ ตและพัฒนาแรงงาน
ระยะ
ยาว
มาตรฐานหลักสูตร
ระดับอุดมศึกษา มาตรฐานหลักสูตร
ระดับอุดมศึกษา
กรอบมาตรฐาน
คุณวุฒ ิ
ระดับอุดมศึกษา
แห่งชาติ (TQF)
มาตรฐานวิชาชีพ
(ตามสมาคมวิชาชีพ)/
มาตรฐานฝีมอื แรงงาน
Professional
มาตรฐาน
อาชีวะศึกษา
วิชาชีSkilled
พ/
มาตรฐาน
คุ
ณวุฒวิ ชิ าชีพ (Thai
Vocational
Workforce
Qualifications)
มาตรฐาน
หลั
กสูตร
ฝี มือแรงงาน
มาตรฐานหลักสูตร
ฝึกอบรม
ระยะ
สัน้
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ภาคเกษตร
ผูจ้ า้ งงาน
ภาครัฐ/เอกชน
แรงงาน
สถานภาพ
แรงงาน
ความต้องการ
แรงงานสุทธิ
ระดับอาชีวะศึกษา มาตรฐานหลักสูตร
การพัฒนา
ฝีมอื แรงงาน
ภาคการผลิ ตและบริ การ
ผูจ้ า้ งงาน
ภาครัฐ/เอกชน
แรงงาน
สถานภาพ
แรงงาน
ความต้องการ
แรงงานสุทธิ
ผูจ้ า้ งงาน
ภาครัฐ/เอกชน
แรงงาน
Semi-skilled
Workforce
สถานภาพ
แรงงาน
ความต้องการ
แรงงานสุทธิ
ภาคอุตสาหกรรม
ผูจ้ า้ งงาน
ภาครัฐ/เอกชน
แรงงาน
สถานภาพ
แรงงาน
ความต้องการ
แรงงานสุทธิ
ผูจ้ า้ งงาน
ภาครัฐ/เอกชน
แรงงาน
สถานภาพ
แรงงาน
ความต้องการ
แรงงานสุทธิ
ผูจ้ า้ งงาน
ภาครัฐ/เอกชน
แรงงาน
สถานภาพ
แรงงาน
ความต้องการ
แรงงานสุทธิ
ภาคบริ การ
ผูจ้ า้ งงาน
ภาครัฐ/เอกชน
แรงงาน
สถานภาพ
แรงงาน
ความต้องการ
แรงงานสุทธิ
ผูจ้ า้ งงาน
ภาครัฐ/เอกชน
แรงงาน
สถานภาพ
แรงงาน
ความต้องการ
แรงงานสุทธิ
ผูจ้ า้ งงาน
ภาครัฐ/เอกชน
แรงงาน
สถานภาพ
แรงงาน
ความต้องการ
แรงงานสุทธิ
24
ความคาดหวัง: มาตรฐานวิชาชีพ/มาตรฐานฝี มือแรงงาน
ภาคเกษตร ภาคการผลิตและภาคบริการ : มีแรงงานที่มีทกั ษะและความสามารถตามมาตรฐาน
วิชาชีพ เพือ่ สนับสนุ นการดาเนินธุรกิจในภาคการเกษตร การผลิตและภาคบริการ ซึง่ มีความหลากหลายตาม
ขนาดของสถานประกอบการ เช่น วิสาหกิจขนาดใหญ่ (LE) วิสาหกิจกลางและเล็ก (SME) และ SelfEmployment
กรมพัฒนาฝี มือแรงงาน :
กาหนดมาตรฐานฝี มือแรงงาน ในสาขาอาชีพที่ขาดมาตรฐานวิชาชีพ เพือ่ ใช้เป็ นแนวทางให้กบ
ั
ภาคการศึกษาในการจัดทามาตรฐานหลักสูตร
ออกแบบหลักสูตรการพัฒนาฝี มือแรงงานให้สอดคล้องกับมาตรฐานฝี มือแรงงาน ตามความ
ต้องการของภาคการเกษตร ภาคการผลิต และภาคบริการ
สมาคมวิชาชีพ : จัดทามาตรฐานวิชาชีพ เพือ่ สร้างความมันใจว่
่ าแรงงานจะมีฝีมอื ในการทางานทีไ่ ด้
มาตรฐานและสามารถแข่งขันได้ในระดับสากล
ภาคการศึกษา : จัดทาหลักสูตรให้สอดคล้องกับมาตรฐานวิชาชีพ/มาตรฐานฝี มือแรงงาน และพัฒนา
ทรัพยากรมนุ ษย์ให้มที กั ษะตามมาตรฐาน
ทรัพยากรมนุษย์ : สามารถยกระดับฝี มือแรงงานให้ได้มาตรฐาน ผ่านการศึกษา/ฝึกอบรมในหลักสูตรที่
ผ่านการรับรองมาตรฐาน ซึง่ จะเพิม่ โอกาสในการได้รบั ค่าจ้างทีค่ ุม้ ค่า
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
25
ตัวอย่าง : ความแตกต่างของมาตรฐานของช่างเชื่อมประเภทต่าง ๆ
ปัจจุบนั : การกาหนดมาตรฐานสาขาอาชีพช่างเชือ่ มมีความแตกต่างกัน จึงควรร่วมกับสมาคมวิชาชีพ (สมาคม
การเชือ่ มโลหะ) และหน่วยงานผลิตและพัฒนาในสาขาอาชีพช่างเชือ่ ม ปรับปรุงมาตรฐานให้เป็ นมาตรฐานเดียวกัน
มาตรฐาน และร่วมกาหนดหลักสูตรในการพัฒนาช่างเชือ่ มในแต่ละระดับความสามารถ
ช่างเชื่อม
สูง
มาตรฐานฝี มือแรงงานแห่งชาติ
ระดับ
มาตรฐาน
ฝี มือแรงงาน
ระดับ 3
(หัวหน้ าช่าง/
ช่างเทคนิ ค)
มาตรฐาน
ฝี มือแรงงาน
ระดับ 2
–
–
–
–
–
ใช้ความรู้ ทักษะสูง
ขัน้ วินิจฉัยงานได้
ตัดสินใจ แก้ปญั หา
ให้คาปรึกษา ช่วยเหลือแก่ผูอ้ ่นื
ประยุกต์ใช้ความรูค้ วามสามารถ
กับเทคโนโลยีใหม่ได้
(ช่างฝี มือ)
–
–
–
–
ใช้ความรู้ ความสามารถสูง
ใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ได้ดี
ต้องการคาแนะนาบ้าง
คุณภาพงานสูง
มาตรฐาน
ฝี มือแรงงาน
ระดับ 1
–
–
–
ใช้ความรู้ ทักษะพืน้ ฐาน
การตัดสินใจน้อย
มีผแู้ นะหรือคอยตรวจสอบ
(กึ่งฝี มือ)
ต่า
ความสามารถ
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ระดับ
ช่างเทคนิ ค
มาตรฐาน
ฝี มือช่าง
ระดับ 3
(ช่างเชื่อมท่อ)
มาตรฐาน
ฝี มือช่าง
ระดับ 2
(ระดับสูง)
มาตรฐาน
ฝี มือช่าง
ระดับ 1
(ระดับต้น)
มาตรฐานงานเชื่อมตามมาตรฐานสากล (ISO 9609)
ตัวอย่างช่างเชื่อมอาร์กโลหะด้วยมือ
ความสามารถ
–
ปฏิบตั งิ านในลักษณะผูค้ วบคุมงาน ผูช้ ่วยวิศวกรโดยทางานภายใต้ การ
แนะนาและควบคุมของวิศวกร เป็ นงานทีเ่ กีย่ วกับการออกแบบติดตัง้ งาน
ผลิตผลิตภัณฑ์โลหะ งานระบบท่องานโครงสร้างงานเชือ่ มซ่อมบารุง
ชิน้ ส่วนเครื่องจักรกล เครื่องมือกล งานตรวจสอบทดสอบวัสดุในทาง
วิศวกรรมงานตรวจสอบ ทดสอบงานเชื่อม ทัง้ แบบทาลายและไม่ทาลาย
–
จะต้องได้รบั วุฒบิ ตั รมาตรฐานฝีมอื ช่างเชือ่ มอาร์กโลหะด้วยมือ ระดับ 2 มา
ก่อน
ผ่านการฝึกอบรมยกระดับ หรือใช้ประสบการณ์จากอุตสาหกรรม
ต้องสอบผ่านภาคความรูก้ ารเชือ่ มท่อและต้องผ่านการรับใบรับรองการ
ทดสอบรับรองช่างเชื่อม 2 ใบ
–
–
–
–
–
–
–
ผ่านการฝึกอบรมเตรียมเข้าทางาน หรือผ่านการฝึกอบรมยกระดับ
จะต้องได้รบั วุฒบิ ตั รมาตรฐานฝีมอื ช่างตัดเหล็กกล้าคาร์บอนด้วยแก๊ส
ระดับ 1 และช่างเชือ่ มอาร์กโลหะด้วยมือ ระดับ 1 สาหรับเหล็กกล้า
คาร์บอน เหล็กกล้าผสมต่า เหล็กกล้าเกรนละเอียดมาก่อน
เข้าทดสอบรับรองเพื่อรับวุฒบิ ตั รมาตรฐานฝีมอื ช่างเชือ่ มอาร์กโลหะด้วยมือ
ระดับ 2 สาหรับเหล็กกล้าคาร์บอน เหล็กกล้าผสมต่า เหล็กกล้าเกรน
ละเอียดได้โดยผ่านการรับใบรับรองการทดสอบรับรองช่างเชือ่ ม 4ใบ
ผ่านการฝึกอบรมเตรียมเข้าทางาน หรือผ่านการฝึกอบรมยกระดับ
เข้าทดสอบช่างเชือ่ มอาร์กโลหะด้วยมือ ระดับ 1 สาหรับเหล็กกล้าคาร์บอน
เหล็กกล้าผสมต่า เหล็กกล้าเกรนละเอียดได้โดยผ่านการรับใบรับรองการ
ทดสอบรับรองช่างเชื่อม 4 ใบ
26
แรงงานในแต่ละระดับ
ตัวอย่างช่างเชือ่ ม
อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานช่างเชื่อม
อุตสาหกรรมยานยนต์ อุตสาหกรรมต่อเรือ
อุตสาหกรรมก่อสร้าง
Professional/ Expert
คุณสมบัติแรงงาน
Skilled Workforce
คุณสมบัติแรงงาน
Semi-skilled Workforce
คุณสมบัติแรงงาน
มาตรฐานฝี มือช่ างระดับ 1 (กึ่งฝี มือ)
ใช้ความรู้ ทักษะพืน
้ ฐาน
การตัดสินใจน้อย
มีผแู้ นะหรือคอยตรวจสอบ
มาตรฐานฝี มือช่ างระดับ 2 (ช่างฝี มือ)
ใช้ความรู้ ความสามารถสูง
ใช้เครือ่ งมือ อุปกรณ์ได้ด ี
ต้องการคาแนะนาบ้าง
คุณภาพงานสูง
มาตรฐานฝี มือแรงงานแห่งชาติ
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
มาตรฐานฝี มือช่ างระดับ 3
(ผูเ้ ชี่ยวชาญ)
ใช้ความรู้ ทักษะสูง
ขัน้ วินิจฉัยงานได้
ั หา
ตัดสินใจ แก้ปญ
ให้คาปรึกษา ช่วยเหลือแก่ผอู้ ่น
ื
ประยุกต์ใช้ความรูค้ วามสามารถ กับเทคโนโลยี
ใหม่ได้
27
การพัฒนาแรงงานในแต่ละระดับ
Professional/ Expert
ตัวอย่างช่างเชือ่ ม
คุณสมบัติแรงงาน
Skilled Workforce
คุณสมบัติแรงงาน
Semi-skilled Workforce
คุณสมบัติแรงงาน
มาตรฐานฝี มือช่ างระดับ 1 (กึ่งฝี มือ)
ใช้ความรู้ ทักษะพืน
้ ฐาน
การตัดสินใจน้อย
มีผแู้ นะหรือคอยตรวจสอบ
มาตรฐานฝี มือช่ างระดับ 2 (ช่างฝี มือ)
ใช้ความรู้ ความสามารถสูง
ใช้เครือ่ งมือ อุปกรณ์ได้ด ี
ต้องการคาแนะนาบ้าง
คุณภาพงานสูง
มาตรฐานฝี มือช่ างระดับ 3
(ผูเ้ ชี่ยวชาญ)
ใช้ความรู้ ทักษะสูง
ขัน้ วินิจฉัยงานได้
ั หา
ตัดสินใจ แก้ปญ
ให้คาปรึกษา ช่วยเหลือแก่ผอู้ ่น
ื
ประยุกต์ใช้ความรูค้ วามสามารถ กับเทคโนโลยี
ใหม่ได้
มาตรฐานฝี มือแรงงานแห่งชาติ
หลักสูตรการพัฒนาฝี มือแรงงาน
หลักสูตรช่างเชื่อมก๊าซ
หลักสูตรช่างเชื่อมไฟฟ้า
หลักสูตรช่างเชื่อมโลหะแผ่น
หลักสูตร...
ระดับอาชีวะศึกษา
ปวส. สาขาวิชาโลหะการ
สาขางานเทคนิคการเชื่อม
อุตสาหกรรม
สาขางานเทคนิคการเชื่อมโลหะ
ระดับอุดมศึกษา
วุฒป
ิ ริญญาตรี
สาขาวิศวกรรม
อุตสาหการ,เครื่องกลโลหะ
สาขาโลหะวิทยา
หน่ วยงานพัฒนาฝี มือแรงงาน
กรมอู่ทหารเรือ
กรมพัฒนาฝีมอื แรงงาน
สมาคมการเชื่อมโลหะแห่งประเทศไทย
สถาบันอาชีวะศึกษา
...
สถาบันอุดมศึกษา
...
ระยะสัน้
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
หลักสูตรการผลิ ตและพัฒนาแรงงาน
ระยะยาว
28
ช่างเชื่อมประเภทต่าง ๆ และมาตรฐานที่เกี่ยวข้อง
การปรับปรุงมาตรฐานอาชีพช่างเชื่อมให้
เป็ นมาตรฐานเดียวกัน
มาตรฐานที่เกี่ยวข้อง
มาตรฐานการ มาตรฐาน
เชื่อม
ฝี มือแรงงาน
(กรมอู่หารเรือ) แห่งชาติ
หน่ วยงานพัฒนาฝี มือ
แรงงาน
กรมอู่ทหารเรือ
กรมพัฒนา
ฝีมอื แรงงาน
ประเภทช่างเชื่อม *
ช่างเชือ่ มก๊าซ
ช่างเชือ่ มไฟฟ้า
ช่างเชือ่ ม TIG
ช่างเชือ่ ม MIG/MAG
ช่างเชือ่ มโลหะแผ่น
ช่างเชือ่ มอาร์คโลหะด้วยมือ
* ช่างเชื่อมโลหะจาแนกประเภท และลักษณะของงานทีท่ าตามอุปกรณ์ทใ่ี ช้ในการเชือ่ มโลหะ
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
มาตรฐานงาน
เชื่อมตาม
มาตรฐานสากล
(ISO 9609)
สมาคมการเชือ่ ม
โลหะแห่งประเทศ
ไทย
ร่วมกาหนดหลักสูตรในการ
พัฒนาช่างเชื่อมในแต่ละ
ระดับความสามารถของช่าง
เชื่อมแต่ละประเภท
หลักสูตร A
หลักสูตร B
หลักสูตร C
หลักสูตร D
หลักสูตร E
หลักสูตร F
29
ภารกิจเชิงยุทธศาสตร์
ด้านมาตรฐานวิชาชีพ/มาตรฐานฝี มือแรงงาน
รวบรวมมาตรฐานวิชาชีพ/มาตรฐานฝี มือแรงงานในแต่ละสาขาอาชีพ ให้
ครบถ้วนและเป็ นระบบ เพื่อให้เกิดการจัดการมาตรฐานวิชาชีพ/มาตรฐานฝี มือ
แรงงานทัง้ ประเทศ เช่น มาตรฐานฝีมอื แรงงาน ทีพ่ ฒ
ั นาโดยกรมพัฒนาฝีมอื แรงงาน
และ มาตรฐานวิชาชีพ ทีพ่ ฒ
ั นาโดยสภา/สมาคมวิชาชีพต่างๆ
ปรับปรุงและจัดทามาตรฐานวิชาชีพ/มาตรฐานฝี มือแรงงานในทุกสาขาอาชีพที่
สาคัญต่อการพัฒนาประเทศ ให้ได้มาตรฐานและสามารถแข่งขันได้ในระดับสากล และ
สอดคล้องกับความต้องการมาตรฐานฝีมอื แรงงานของ วิสาหกิจขนาดใหญ่ (LE)
วิสาหกิจกลางและเล็ก (SME)
ประสานงานกับหน่ วยงานภาคการศึกษาและพัฒนาฝี มือแรงงาน เช่น
กระทรวงศึกษาธิการ เพื่อให้จดั ทาและปรับปรุงมาตรฐานหลักสูตร ให้สอดคล้องกับ
มาตรฐานวิชาชีพ/มาตรฐานฝีมอื แรงงาน
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
30
2
พัฒนาฐานข้อมูลด้านแรงงานทัง้ อุปสงค์และอุปทาน
เพื่อเป็ นข้อมูลกาหนดนโยบายและแนวทางในการพัฒนาแรงงาน
และประสานงานการฝึ กอาชีพ
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
31
พัฒนาฐานข้อมูลด้านแรงงานทัง้ อุปสงค์และอุปทาน เพื่อเป็ นข้อมูลกาหนดนโยบายและ
แนวทางในการพัฒนาแรงงานและประสานงานการฝึ กอาชีพ
การผลิ ตและการพัฒนาแรงงาน
ระดับ
หลักสูตรการผลิ ตและพัฒนาแรงงาน
ระยะ
ยาว
มาตรฐานหลักสูตร
ระดับอุดมศึกษา มาตรฐานหลักสูตร
ระดับอุดมศึกษา
กรอบมาตรฐาน
คุณวุฒ ิ
ระดับอุดมศึกษา
แห่งชาติ (TQF)
ข้อมูลแรงงาน
อาชีวะศึกษา
คุณวุฒวิ ชิ าชีพ (Thai
ด้านอุปVocational
ทาน
Qualifications)
(Supply)
มาตรฐานวิชาชีพ
(ตามสมาคมวิชาชีพ)/
มาตรฐานฝีมอื แรงงาน
Professional
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ผูจ้ า้ งงาน
ภาครัฐ/เอกชน
แรงงาน
สถานภาพ
แรงงาน
ความต้องการ
แรงงานสุทธิ
Skilled
Workforce
มาตรฐานหลักสูตร
ฝึกอบรม
ระยะ
สัน้
ภาคเกษตร
ระดับอาชีวะศึกษา มาตรฐานหลักสูตร
การพัฒนา
ฝีมอื แรงงาน
ภาคการผลิ ตและบริ การ
ผูจ้ า้ งงาน
ภาครัฐ/เอกชน
แรงงาน
สถานภาพ
แรงงาน
ความต้องการ
แรงงานสุทธิ
ภาคบริ การ
ผูจ้ า้ งงาน
ภาครัฐ/เอกชน
แรงงาน
สถานภาพ
แรงงาน
ความต้องการ
แรงงานสุทธิ
จ้ า้ งงาน
ผูจ้ า้ งงาน
ข้ อผูภาครั
มูฐล/เอกชน
แรงงาน
ภาครัฐ/เอกชน
แรงงาน
แรงงาน
สถานภาพ
ด้แรงงาน
านอุปสงค์สถานภาพ
แรงงาน
ความต้องการ
ความต้องการ
แรงงานสุ
ท
ธิ
(Demand)แรงงานสุทธิ
ผูจ้ า้ งงาน
ผูจ้ า้ งงาน
ผูจ้ า้ งงาน
ภาครัฐ/เอกชน
แรงงาน
Semi-skilled
Workforce
ภาคอุตสาหกรรม
สถานภาพ
แรงงาน
ความต้องการ
แรงงานสุทธิ
ผูจ้ า้ งงาน
ภาครัฐ/เอกชน
แรงงาน
สถานภาพ
แรงงาน
ความต้องการ
แรงงานสุทธิ
ภาครัฐ/เอกชน
แรงงาน
สถานภาพ
แรงงาน
ความต้องการ
แรงงานสุทธิ
ภาครัฐ/เอกชน
แรงงาน
สถานภาพ
แรงงาน
ความต้องการ
แรงงานสุทธิ
32
ความคาดหวัง: ข้อมูลด้านแรงงาน
หน่ วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาแรงงานและการจ้างงาน ควรมีข้อมูลแรงงานทัง้
อุปสงค์และอุปทานที่อยู่บนมาตรฐานเดียวกัน ทาให้สามารถวางแผนการพัฒนาฝีมอื แรงงานและ
แผนการฝึกอาชีพ ได้ตรงกับความต้องการของตลาด
หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องสามารถใช้ประโยชน์จากฐานข้อมูล
หน่ วยงานกลางของภาครัฐ : กาหนดนโยบายการพัฒนาฝี มือแรงงานและการฝึ กอาชีพ ได้ตรงกับ
ความต้องการของภาคเกษตร ภาคการผลิตและภาคบริการ
ภาคเกษตร ภาคการผลิตและภาคบริการ : ส่งสัญญาณด้านความต้องการแรงงานให้กบั
หน่ วยงานการศึกษาและพัฒนาฝี มือแรงงาน โดยเฉพาะความต้องการเชิงปริมาณ คุณภาพ และ
มาตรฐานทีต่ อ้ งการในแต่ละอาชีพ
– ส่งสัญญาณการปรับปรุงปริมาณการผลิต
– ส่งสัญญาณการปรับปรุงหรือยกระดับมาตรฐานแรงงานของแต่ละหลักสูตร
ภาคการศึกษาและพัฒนาฝี มือแรงงาน : ส่งสัญญาณให้ภาคอุตสาหกรรมรับรู้ถึงปริมาณแรงงาน
ที่จะเข้าสู่ตลาดแรงงาน และปรับปรุงการผลิตและพัฒนาฝีมอื แรงงานให้ตรงกับความต้องการของตลาด
ทรัพยากรมนุษย์ : เลือกที่จะพัฒนาฝี มือแรงงาน จากข้อมูลความต้องการแรงงานในแต่ละภาคเกษตร
ภาคการผลิตและภาคบริการ
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
33
โครงสร้างข้อมูลสาคัญแรงงาน (ด้าน Demand)
โครงสร้างข้อมูลสาคัญแรงงาน เพือ่ เป็ นฐานข้อมูลหลักในการวิเคราะห์ความต้องการการจ้างงาน
(Employment) ในแต่ละพืน้ ที่ และในภาพรวมของประเทศทีเ่ ป็ นมาตรฐานเดียวกันทัง้ ระบบ
7211 Metal moulders and
coremakers
1. Managers
7212 Welders and
flamecutters
2. Professionals
3.Technicians &
associate
professionals
ISCO
-08
4.Clerical support
workers
5.Service and Sales
workers
6.Skilled
agricultural forestry
and fishery workers
7.Craft and related
trades workers
8. Plant and
machine operators
and assemblers
9.Elementary
occupations
0.Armed forces
occupations
International Standard Classification
of Occupations (ISCO)*
7213 Sheet-metal workers
71. Building
and related
trades workers
72. Metal,
machinery and
related trades
workers
73. Handicraft
and printing
workers
74. Electrical
and electronic
trades workers
75. Food
processing,
wood working
721. Sheet and
structural metal
workers, moulders
and welders, and
related workers
722. Blacksmiths,
tool makers and
related trades
workers
723. Machinery
mechanics and
repairers
ระดับ 1: Major groups
7214 Structural-metal
preparers and erectors
7215 Riggers and cable
splicers
7221. Blacksmiths,
hammersmiths and
forging press workers
7222. Toolmakers and
related workers
7223. Metal working
machine tool setters and
operators
ระดับ 2: Sub-Major groups
ระดับ 3: Minor groups
ระดับ 4: Unit groups
Note: *designed by ILO
7224. Metal polishers,
wheel grinders and tool
sharpeners
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
34
โครงสร้างข้อมูลด้านการศึกษา (ด้าน Supply)
ศึกษาโครงสร้างข้อมูลด้านการศึกษา
เพือ่ เป็ นฐานข้อมูลหลักในการวิเคราะห์การผลิตของสถาบันอุดมศึกษา
ในแต่ละพืน้ ที่ และในภาพรวมของประเทศทีเ่ ป็ นมาตรฐานเดียวกันทัง้ ระบบ
1.การศึกษา
14. ครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์
2.มนุษยศาสตร์และ
ศิ ลปกรรมศาสตร์
21.ศิ ลปกรรมศาสตร์
The International Standard
Classification of Education (ISCED)*
22.มนุษยศาสตร์
3.สังคมศาสตร์ ธุรกิ จ
และกฎหมาย
สาขาวิ ชา
(จาแนกตาม
มาตรฐาน
ISCED)
4.วิ ทยาศาสตร์
ระดับ 1: กลุ่มสาขาวิ ชา
สังคมศาสตร์
พฤติ กรรมศาสตร์
บริ หารธุรกิ จ/
พาณิ ชยศาสตร์/
เศรษฐศาสตร์
ระดับ 2: สาขาวิ ชา
วิ ทยาศาสตร์ชีวภาพ
ระดับ 3: สาขาวิ ชาย่อย
วิ ทยาศาสตร์กายภาพ
Note: *designed by UNESCO
การผลิ ต/ อุตสาหการ/
เคมี/เครื่องกล/ เหมืองแร่
5.วิ ศวกรรมศาสตร์
โยธา/สารวจ/ สิ่ งแวดล้อม
สถาปัตยกรรม/ ผังเมือง
พืชสวน
6. เกษตรศาสตร์
เกษตรศาสตร์
วนศาสตร์และเทคนิ ค วน
ผลิ ตภัณฑ์
7.สุขภาพและ
สวัสดิ การ
การแพทย์
อุทยานแห่งชาติ
8. การบริ การ
บริ การบุคคล
สัตว์ป่า
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
35
ปรับปรุงโครงสร้างข้อมูลสาคัญด้านแรงงาน
ระดับ 1
ระดับ 2
ระดับ3
ระดับ 4
1. Managers
7211 Metal moulders
and coremakers
2.
Professionals
7212 Welders and
flamecutters
ตาราง 14 จานวนและร้อยละของแรงงานที่ต้องการและขาดแคลน
ทัง้ สิ้ นในปี 2551 จาแนกตามประเภทอาชีพ ทัวราชอาณาจั
่
กร
TABLE 14 NUMBER AND PERCENTAGE OF TOTAL NUMBER OF LABOUR
DEMAND AND TOTAL NUMBER OF LABOUR SHORTAGE IN 2008 BY
OCCUPATIONS WHOLE KINGDOM
ภาค / ประเภทอาชีพ
3.Technicians
& associate
professionals
ISCO
-08
7213 Sheet-metal
workers
4.Clerical
support
workers
71. Building and
related trades
workers
721. Sheet and
structural metal workers,
moulders and welders,
and related workers
72. Metal,
machinery and
related trades
workers
722. Blacksmiths,
toolmakers and related
trades workers
7.Craft and
related trades
workers
73. Handicraft
and printing
workers
723. Machinery
mechanics and
repairers
8. Plant and
machine
operators and
assemblers
74. Electrical
and electronic
trades workers
5.Service and
Sales workers
6.Skilled
agricultural
forestry and
fishery workers
9.Elementary
occupations
75. Food
processing,
wood working
0.Armed forces
occupations
7214 Structural-metal
preparers and erectors
7215 Riggers and
cable splicers
7221. Blacksmiths,
hammersmiths and
forging press workers
7222. Toolmakers and
related workers
7223. Metal working
machine tool setters
and operators
7224. Metal polishers,
wheel grinders and
tool sharpeners
ISCO : International Standard Classification of Occupations by ILO
ระดับข้อมูลควรเก็บให้มีรายละเอียดในระดับ 4 (Unit Groups)
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ทัวราชอาณาจั
่
กร
ผูบ้ ริหาร/ผูจ้ ดั การ
จานวนแรงงานที่
ต้องการทัง้ สิน้
Total number of
labour demand
จานวน ร้อยละ
Number
%
395,567
2,830
จานวนแรงงานที่
ขาดแคลนทัง้ สิน้
Total number of
labour shortage
จานวน ร้อยละ
Number
%
100.0 250,397 100.0
0.7
2,248
ั สานัก17,466
งานสถ4.4ิ ติ 11,271
ผูป้ ระกอบวิชาชีพด้ปั
านต่จางจุๆบน
มูลครบ
ช่างเทคนิคและผูป้ ฎิบแห่
ตั งิ านด้งาชาต
นเทคนิคิ มีข้อ
38,108
9.6 18,796
เสมียน/เจ้าหน้าทีส่ านักงานทัง
้ ประเทศ22,303แต่ม5.7ี 13,090
พนักงานบริการ/พนักงานขาย
รายละเอี50,582
ยด 12.8 30,387
ผูป้ ฎิบตั งิ านฝีมอื ด้านการเกษตรและประมง 1,122
ในระดับ 1 0.3 936
ผูป้ ฏิบตั งิ านโดยใช้ฝีมอื ในธุรกิจต่างๆ
86,194
21.8 61,908
(Major
Groups)
ผูป้ ฏิบตั งิ านในโรงงาน ผูค้ วบคุมเครื่องจักร
0.9
4.5
7.5
5.2
12.1
0.4
24.7
และผูป้ ฏิบตั งิ านด้านการประกอบ
113,588
28.7 72,544
29.0
พนักงาน/คนงานทัวไป
่
63,372
16.0 39,218
15.7
--
มีขอ้ มูลจานวนเล็กน้อย ต่ากว่าร้อยละ 0.05
Negligible amount less than 0.05 percent
ทีม่ า: สารวจความต้องการแรงงานของสถานประกอบการ พ.ศ. 2551 สานักงานสถิตแิ ห่งชาติ กระทรวง
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
Source: The 2008 Labour Demand Of Establishment Survey, National Statistical Office, Ministry of
Information and Communication Technology
36
ปรับข้อมูลระดับความสามารถของแรงงาน
(จากเดิมมาก ปานกลาง และน้ อย
เป็ นแรงงานอาชีพ แรงงานฝี มือควรก
แรงงานกึ
่งฝี มือบและแรงงานไร้
ฝีมือ)
าหนดระดั
ความสามารถของ
แรงงานที่จาแนกตามมาตรฐาน
วิชาชีพของแรงงานแต่ละสาขาอาชีพ
ตาราง 21 จานวนและร้อยละของสถานประกอบการที่ต้องการจ้างแรงงานเพิ่ม จาแนกตามทักษะ/ฝี มือแรงงานที่เข้ามาทางานใหม่
ประเภทอาชีพ ทัวราชอาณาจั
่
กร พ.ศ. 2551
TABLE 21 NUMBER AND PERCENTAGE OF ESTABLISHMENTS WITH LABOUR DEMAND BY SKILL OF NEW LABOUR,
OCCUPATIONS WHOLE KINGDOM: 2008
ทักษะ/ฝีมอื แรงงานทีเ่ ข้ามาทางานใหม่ / Skill of new labour
รวม
มาก
ปานกลาง
น้อย
ภาค / ประเภทอาชีพ
Total
High
Medium
Low
จานวน
ร้อยละ
จานวน
ร้อยละ
จานวน
ร้อยละ
จานวน
Number
%
Number
%
Number
%
Number
ทัวราชอาณาจั
่
กร
66,350
100.0
12,308
18.6
41,807
63.0
12,234
ผูบ้ ริหาร/ผูจ้ ดั การ
1,280
100.0
598
46.7
478
37.3
205
6,807
100.0
2,035
29.9
4,285
63.0
486
ผูป้ ระกอบวิชาชีพด้านต่าง ๆ
ช่างเทคนิคและผูป้ ฎิบตั งิ านด้านเทคนิค
10,966
100.0
2,415
22.0
7,428
67.7
1,123
เสมียน/เจ้าหน้าทีส่ านักงาน
7,773
100.0
1,332
17.1
4,838
62.3
1,602
พนักงานบริการ/พนักงานขาย
12,094
100.0
1,491
12.3
7,685
63.6
2,917
ผูป้ ฎิบตั งิ านฝีมอื ด้านการเกษตรและประมง
77
100.0
1
1.3
44
57.1
32
ผูป้ ฏิบตั งิ านโดยใช้ฝีมอื ในธุรกิจต่างๆ
13,780
100.0
3,284
23.8
8,748
63.5
1,748
ผูป้ ฏิบตั งิ านในโรงงาน ผูค้ วบคุมเครื่องจักร 6,095
100.0
745
12.2
3,749
61.5
1,602
และผูป้ ฏิบตั งิ านด้านการประกอบ
พนักงาน/คนงานทัวไป
่
7,478
100.0
407
5.4
4,552
60.9
2,519
ปัจจุบนั สานักงานสถิติแห่งชาติ
จาแนกเป็ น มาก ปานกลาง และน้ อย
ระดับข้อมูลควร
เก็บให้ม ี
รายละเอียดใน
ระดับ 4
(Unit Groups)
ทีม่ า: สารวจความต้องการแรงงานของสถานประกอบการ พ.ศ. 2551 สานักงานสถิตแิ ห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
Source: The 2008 Labour Demand Of Establishment Survey, National Statistical Office, Ministry of Information and Communication Technology
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ร้อยละ
%
18.4
16.0
7.1
10.3
20.6
24.1
41.6
12.7
26.3
33.7
37
ปรับข้อมูลเพิ่มข้อมูลเกี่ยวกับสาขาวิชาที่ต้องการในแต่ละอาชีพ
(ใช้มาตรฐานสาขาวิชา ISCED)
ควรจาแนกรายละเอียดข้อมูลสาขาวิชา
ตาราง 19 จานวนและร้อยละของแรงงานที่ขาดแคลนในปี 2551 จาแนกตามระดับการศึกษา ประเภทอาชี
พ ทัวราชอาณาจั
่
กร
ตามมาตรฐาน
ISCED
TABLE 19 NUMBER AND PERCENTAGE OF LABOUR SHORTAGE IN 2008 BY LEVEL OF EDUCATION, OCCUPATIONS WHOLE KINGDOM
ประกาศนียบัตร
มัธยมศึกษาหรือต่ ากว่า
วิชาชีพ
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปริญญาตรีหรือสูงกว่า
Less than secondary Vocational Education ชัน้ สูง / อนุปริญญา Bachelor's Degree
Certificate
Higher Vocational
or Higher
Education Certificate
รวม
Total
ภาค / ประเภทอาชีพ
จานวน ร้อยละ
ทัวราชอาณาจั
่
กร
ผูบ้ ริหาร/ผูจ้ ดั การ
ผูป้ ระกอบวิชาชีพด้านต่าง ๆ
ระดับข้อมูลควร
เก็บให้ม ี ช่างเทคนิคและผูป้ ฎิบตั งิ านด้านเทคนิค
รายละเอียดในเสมียน/เจ้าหน้าทีส่ านักงาน
พนักงานบริการ/พนักงานขาย
ระดับ 4
ผูป้ ฎิบตั งิ านฝีมอื ด้านการเกษตรและประมง
(Unit Groups)
ผูป้ ฏิบตั งิ านโดยใช้ฝีมอื ในธุรกิจต่างๆ
ผูป้ ฏิบตั งิ านในโรงงาน ผูค้ วบคุมเครื่องจักร
และผูป้ ฏิบตั งิ านด้านการประกอบ
พนักงาน/คนงานทัวไป
่
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Number
250,397
จานวน
%
Number
100.0 162,535
2,248
100.0
31
11,271
18,796
100.0
100.0
305
3,213
13,090
30,387
100.0
100.0
936
การศึกษาอื่น ๆ
Others
ิ ยละิ แห่จงานวนชาตร้อิ จยละาแนก
ปัจจุบจานวน
นั สานั
ร้อยละกงานสถ
จานวน ร้อต
จานวน ร้อยละ
Numbe
ตามระดั
กษาแต่% ไม่Number
ได้จาแนกตาม
%
Numberบการศึ
%
Number
%
r
%
64.9
27,940
11.1 12,951
5.2
29,712 11.9
2,909
1.2
สาขาวิชา ทาให้ไม่สามารถเชื่อมโยงไปสู่
1.4
10
0.4
47
2.1
2,159 96.1
ิ
ิ
การผลตและพัฒนาในแต่ละสาขาวชาได้
ร้อยละ
ไม่จากัดวุฒ ิ
Not specify
จานวน
ร้อย
ละ
14,349
%
5.7
-
-
Number
2.7
17.1
407
3,244
3.6
17.3
140
4,174
1.3
22.2
10,362
6,389
91.9
34.0
27
0.1
58
1,749
0.5
9.3
2,196
16,991
16.8
55.9
2,873
6,484
21.9
21.3
1,657
1,555
12.7
5.1
6,081
3,623
46.5
11.9
201
0.7
282
1,533
2.1
5.1
100.0
845
90.4
3
0.3
1
0.1
6
0.7
-
-
80
8.5
61,908
72,544
100.0
100.0
42,509
64,701
68.7
89.2
8,429
4,478
13.6
6.2
3,987 6.4
897
1.2
989
52
1.6
0.1
1,392 2.3
41
0.1
4,603
2,376
7.4
3.2
39,218
100.0
31,746
80.9
2,011
5.1
51
0.1
1,249
3,668
9.4
494
1.3
ทีม่ า: สารวจความต้องการแรงงานของสถานประกอบการ พ.ศ. 2551 สานักงานสถิตแิ ห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
Source: The 2008 Labour Demand Of Establishment Survey, National Statistical Office, Ministry of Information and Communication Technology
3.2
38
ควรจาแนกตามห่วงโซ่คณ
ุ ค่า
(Value Chain) และสภาพการจ้าง
งานจริง ๆ ของแต่ละอุตสาหกรรม
1. Managers
21. Science and
engineering
processionals
211.Physical
and earth
science
professional
2. Professionals
22. Health
professionals
212.
Mathematicians
, actuaries and
statisticians
23. Teaching
professionals
213.Life
science
professionals
24. Business
and
administration
professionals
214.Engineeri
ng
professionals
25. Information
and
communications
technology
professionals
215.Electrotech
nology
engineers
26. Legal social
and cultural
professionals
216.Architects,
planners,
surveyors and
designers
3.Technicians &
associate
professionals
ISCO
-08
4.Clerical
support workers
5.Service and
Sales workers
6.Skilled
agricultural
forestry and
fishery workers
7.Craft and
related trades
workers
ภาคเกษตร
ภาคเกษตรอุตสาหกรรม
เกษตรกรรม
(สาหรับ)
อุตสาหกรรมสิ่ งทอ
และเครื่องนุ่งหม
ควรแยกจัดเก็บในแต่ละภาคการเกษตร
ภาคการผลิต และภาคบริการ
ิ
เพืปลู่อกความสะดวกในการว
ความ
ฝ้าย/
ผลิตเส้น เคราะห์
ั ่ าย
ปนด้
ผ้าผืน
ต้
อ
งการแรงงาน
เลีย้ งไหม
ใย
6.Skilled agricultural forestry and
fishery workers
2141. Industrial & production
engineers
2142.Civil engineers
2143.Environmental
engineers
2144.Mechanical engineers
ปัจจุบนั !
ยังไม่มีข้อมูลที่ชดั เจน
8. Plant and
machine
operators and
assemblers
9.Elementary
occupations
0.Armed forces
occupations
ISCO : International Standard Classification of Occupations by ILO
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2145.Chemical Engineers
2146.Mining engineers et.al.
2147. Others
39
ลักษณะการจัดการเครือข่ายข้อมูลด้านแรงงาน
ปัจจุบนั : การเชือ่ มต่อข้อมูลภายในกระทรวงแรงงาน
เป็ นแบบ 1 ต่อ 1 และการเชือ่ มข้อมูลจากหน่วยงานภายนอก
ยังขาดการจัดการทีเ่ ป็ นระบบ
หน่วยงาน
หน่วยงาน
กระทรวงแรงงาน
ศูนย์ขอ้ มูล
กรม
ศูนย์ขอ้ มูล
กรม
ศูนย์ขอ้ มูล
กระทรวง
ศูนย์ขอ้ มูล
กรม
ศูนย์ขอ้ มูล
กรม
...
ข้อเสนอ: การเชือ่ มต่อข้อมูลแบบใยแมงมุมเป็ นเครือข่าย
(Network) ภายใน กระทรวงแรงงานและการเชือ่ มต่อกับ
หน่วยงานภายนอกทีจ่ าเป็ นต่อการพัฒนาแรงงาน
หน่วยงาน
ภาครัฐ
กระทรวงแรงงาน
ศูนย์ขอ้ มูล
กรม
ศูนย์ขอ้ มูล
กรม
ศูนย์ขอ้ มูล
กระทรวง
ศูนย์ขอ้ มูล
กรม
...
หน่วยงาน
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
หน่วยงาน
ภาคเอกชน
ศูนย์ขอ้ มูล
กรม
อื่น ๆ
...
...
หน่วยงาน
สมาคมวิชาชีพ
แรงงาน
40
ภารกิจเชิงยุทธศาสตร์ ด้านข้อมูลแรงงาน
กาหนดมาตรฐานข้อมูลด้านแรงงาน ให้สามารถเชื่อมโยงกันระหว่างความต้องการแรงงานในแต่ละ
สาขาอาชีพ (Demand) กับแรงงานผูส้ าเร็จการศึกษาในแต่ละสาขาวิชา (Supply) เพือ่ ใช้เป็ นกรอบในการ
จัดการข้อมูลอุปสงค์และอุปทานแรงงาน
ข้อมูลการจ้างงาน (Employment) ควรจาแนกสาขาอาชีพของแรงงาน ตามมาตรฐานอาชีพ ISCO08 ของ ILO ซึง่ จะทาให้มฐี านข้อมูลทีเ่ ป็ นมาตรฐานสากล และสามารถวิเคราะห์การจ้างงานและความ
ต้องการแรงงานในแต่ละสาขาอาชีพได้อย่างเป็ นระบบ
ข้อมูลการจ้างงานตามสาขาอาชีพ ควรแยกจัดเก็บในแต่ละภาคการเกษตร การผลิตและภาคบริการ
ตามขนาดของสถานประกอบการ เช่น วิสาหกิจขนาดใหญ่ (LE) วิสาหกิจกลางและเล็ก (SME) และ
Self-Employment เพือ่ ความสะดวกในการวิเคราะห์ความต้องการแรงงาน
ข้อมูลแรงงานผูส้ าเร็จการศึกษาในแต่ละสาขาวิชา ทัง้ หลักสูตรระยะยาว ปานกลางและสัน้
(ระดับอุดมศึกษา อาชีวศึกษาและการพัฒนาฝีมอื แรงงาน) ควรมีการจาแนกสาขาวิชาของหลักสูตร
ตามมาตรฐาน ISCED
จัดเก็บข้อมูล แรงงานผูส้ าเร็จการศึกษาในแต่ละสาขาวิชาของหลักสูตร ว่าไปทางานในสาขาอาชีพใด
ในภาคการเกษตร ภาคการผลิต และภาคบริการใด ตลอดจนวิสาหกิจระดับใด เพือ่ ให้สามารถวิเคราะห์
ปริมาณและคุณภาพการผลิตและพัฒนาแรงงาน ตรงกับความต้องการของตลาดหรือไม่
ประสานความร่วมมือระหว่างหน่วยงานภายในกระทรวงแรงงานและหน่วยงานภายนอกทีเ่ กีย่ วข้องเพื่อ
จัดทาเครือข่ายข้อมูลแรงงาน
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
International Standard Classification of Occupations (ISCO), The International Standard Classification of Education (ISCED)
41
3
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จัดทาแผนการพัฒนากาลังคนให้สอดคล้องกับ
ความต้องการในระดับประเทศและในระดับพืน้ ที่
42
จัดทาแผนการพัฒนากาลังคนให้สอดคล้องกับ
ความต้องการในระดับประเทศและในระดับพืน้ ที่
การผลิ ตและการพัฒนาแรงงาน
ระดับ
หลักสูตรการผลิ ตและพัฒนาแรงงาน
ระยะ
ยาว
ระยะ
สัน้
มาตรฐานหลักสูตร
ระดับอุดมศึกษา มาตรฐานหลักสูตร
ระดับอุดมศึกษา
กรอบมาตรฐาน
คุณวุฒ ิ
ระดับอุดมศึกษา
แห่งชาติ (TQF)
ิ
การผล
ต
แรงงาน
มาตรฐานหลั
กสูตร
ระดับอาชีวะศึกษา
อาชีวะศึกษา
คุณวุฒวิ ชิ าชีพ (Thai
Vocational
Qualifications)
การพัฒนา
ฝีมอื แรงงาน
มาตรฐานหลักสูตร
ฝึกอบรม
การพัฒนาแรงงาน
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
มาตรฐานวิชาชีพ
(ตามสมาคมวิชาชีพ)/
มาตรฐานฝีมอื แรงงาน
Professional
ทักษะและ
คุณลักษณะ
ฝี มือแรงงาน
Skilled
Workforce
ที่ต้องการ
ตาม
มาตรฐาน
Semi-skilled
Workforce
ภาคการผลิ ตและบริ การ
ภาคเกษตร
ผูจ้ า้ งงาน
ภาครัฐ/เอกชน
แรงงาน
สถานภาพ
แรงงาน
ความต้องการ
แรงงานสุทธิ
ผูจ้ า้ งงาน
ภาครัฐ/เอกชน
แรงงาน
ผูจ้ า้ งงาน
ภาครัฐ/เอกชน
แรงงาน
สถานภาพ
แรงงาน
ความต้องการ
แรงงานสุทธิ
ผูจ้ า้ งงาน
ภาครัฐ/เอกชน
แรงงาน
สถานภาพ
แรงงาน
ความต้องการ
แรงงานสุทธิ
ผูจ้ า้ งงาน
ภาครัฐ/เอกชน
แรงงาน
ภาคบริ การ
ผูจ้ า้ งงาน
ภาครัฐ/เอกชน
แรงงาน
สถานภาพ
แรงงาน
ความต้องการ
แรงงานสุทธิ
ผูจ้ า้ งงาน
ภาครัฐ/เอกชน
แรงงาน
ความต้อสถานภาพ
งการแรงงาน
สถานภาพ
แรงงาน
แรงงาน
ิ
ิ
(เชงความต้
ปรอมงการาณ) ความต้
องการ
แรงงานสุทธิ
แรงงานสุทธิ
สถานภาพ
แรงงาน
ความต้องการ
แรงงานสุทธิ
ภาคอุตสาหกรรม
ผูจ้ า้ งงาน
ภาครัฐ/เอกชน
แรงงาน
สถานภาพ
แรงงาน
ความต้องการ
แรงงานสุทธิ
ผูจ้ า้ งงาน
ภาครัฐ/เอกชน
แรงงาน
สถานภาพ
แรงงาน
ความต้องการ
แรงงานสุทธิ
43
ความคาดหวัง: แผนการพัฒนากาลังคน
หน่ วยงานต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับการศึกษาและพัฒนาแรงงาน สามารถวางแผน และกาหนดหลักสูตร
การพัฒนาฝี มือแรงงานและแผนการฝึ กอาชีพ ได้ตรงกับความต้องการของตลาด
หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องสามารถใช้ประโยชน์จากแผนการพัฒนากาลังคน
ภาคเกษตร ภาคการผลิตและภาคบริการ : ได้รบ
ั แรงงานทัง้ ในเชิงปริมาณและคุณภาพ ตรงตาม
ความต้องการการผลิตและการให้บริการ
ภาคการศึกษาและพัฒนาฝี มือแรงงาน :
สามารถปรับปรุงหลักสูตรทัง้ ในเชิงปริมาณการผลิต และมาตรฐานของหลักสูตรให้
สอดคล้องกับความต้องการในแต่ละสาขาอาชีพ
สามารถประสานความร่วมมือกับหน่ วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อป้ องกันการผลิตที่ ซา้ ซ้อนและ
เกินความต้องการของตลาดในพืน้ ทีข่ องแต่ละสาขาวิชา หรือการผลิต/พัฒนาแรงงานที่ไม่ได้
คุณภาพตามความต้องการของตลาดแรงงาน
กรมพัฒนาฝี มือแรงงาน :
ประสานการกาหนดแผนการพัฒนากาลังคน ทัง้ การผลิตแรงงานผูส้ าเร็จการศึกษาและการ
พัฒนาฝีมอื แรงงานในแต่ละพืน้ ที่
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
44
ข้อมูลความต้องการแรงงานในปัจจุบนั /แรงงานที่ขาดแคลน
ยังไม่ละเอียดเพียงพอต่อการกาหนดแผนการพัฒนากาลังคน
จานวนและร้อยละของแรงงานที่ต้องการและขาดแคลนทัง้ สิ้ นในปี 2551 จาแนกตามประเภทอาชีพ ทัวราชอาณาจั
่
กร
NUMBER AND PERCENTAGE OF TOTAL NUMBER OF LABOUR DEMAND AND TOTAL NUMBER OF LABOUR SHORTAGE IN 2008 BY OCCUPATIONS WHOLE KINGDOM
ทัวราชอาณาจั
่
กร
จานวนแรงงานที่
ต้องการทัง้ สิน้
ภาค / ประเภทอาชีพ
ผูบ้ ริหาร/ผูจ้ ดั การ
ผูป้ ระกอบวิชาชีพด้านต่าง ๆ
ช่างเทคนิคและผูป้ ฎิบตั งิ านด้านเทคนิค
เสมียน/เจ้าหน้าทีส่ านักงาน
พนักงานบริการ/พนักงานขาย
ผูป้ ฎิบตั งิ านฝีมอื ด้านการเกษตรและประมง
ระดัผูป้บฏิบข้ตั งิ อานโดยใช้
มูลฝควรเก็
ีมอื ในธุรกิจต่าบ
งๆให้ม ี
ผูป้ ฏิบตั งิ านในโรงงาน
ผูค้ วบคุมเครือ่ บ
งจักรและผู
รายละเอี
ยดในระดั
4 ป้ ฏิบตั งิ าน
ด้านการประกอบ
Groups)
พนัก(Unit
งาน/คนงานทั
วไป
่
กรุงเทพ
จานวนแรงงานทีข่ าด จานวนแรงงานที่
แคลนทัง้ สิน้
ต้องการทัง้ สิน้
Total number of
labour demand
Total number of
labour shortage
จานวน
ร้อยละ
จานวน
Number
%
Number
ปริมณฑล
จานวนแรงงานที่ จานวนแรงงานที่
ขาดแคลนทัง้ สิน้ ต้องการทัง้ สิน้
เหนือ
จานวนแรงงานที่ จานวนแรงงานที่ จานวนแรงงานที่ จานวนแรงงานที่ จานวนแรงงานที่
ขาดแคลนทัง้ สิน้ ต้องการทัง้ สิน้
ขาดแคลนทัง้ สิน้ ต้องการทัง้ สิน้
ขาดแคลนทัง้ สิน้
Total number of Total number of Total number of Total number of Total number of Total number of Total number of Total number of
labour demand labour shortage labour demand labour shortage labour demand labour shortage labour demand labour shortage
ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ
%
Number
% Number
%
Number
%
Number
%
Number
% Number
% Number
100.0
250,397 100.0
87,492 100.0
53,951 100.0
79,269 100.0
51,780 100.0
106,518 100.0 62,288 100.0
2,830
0.7
2,248
0.9
569
0.6
390
0.7
435
0.6
356
0.7
364
0.3
209
17,466
4.4
11,271
4.5
6,658
7.6
3,836
7.1
1,773
2.2
1,228
2.4
3,335
3.1
2,146 3.4
38,108
9.6
18,796
7.5
12,308 14.1
4,972
9.2
3,602
4.5
2,423
4.7
9,707
9.1
2,929 4.7
22,303
5.7
13,090
5.2
8,754
4,334
8.0
2,616
3.3
1,607
3.1
2,121
2.0
1,039 1.7
50,582
12.8
30,387
12.1
18,560 21.2
12,679 23.5
4,368
5.5
2,744
5.3
12,779 12.0
6,944 11.1
1,122
0.3
936
0.4
-
-
670
0.9
519
1.0
47
34
86,194
21.8
61,908
24.7
24,302 27.8
19,045 35.3
12,453 15.7
8,678
16.7
21,079 19.8
15,429 24.8
113,588
28.7
72,544
29.0
8,722
10.0
4,459
8.3
41,244 52.0
29,092 56.2
37,906 35.6
21,926 35.2
63,372
16.0
39,218
15.7
7,621
8.7
4,238
7.9
12,108 15.3
5,133
19,181 18.0
11,632 18.7
10.0
-
% Number
ปัจจุบนั สานักงานสถิติ
แห่งชาติมีข้อมูล
ความต้องการแรงงานในแต่ละ
พืน้ ที่จาแนกตามอาชีพ แต่
ความละเอียดเพียงแค่ระดับ 1
(Major Groups) อีกทัง้ ไม่ได้
แยกตามประเภทอุตสาหกรรม
395,567
-
ทีม่ า: สารวจความต้องการแรงงานของสถานประกอบการ พ.ศ. 2551 สานักงานสถิตแิ ห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
Source: The 2008 Labour Demand Of Establishment Survey, National Statistical Office, Ministry of Information and Communication Technology
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กลาง
9.9
0.1
%
0.3
0.1
45
ต้องสารวจความต้องการแรงงานในแต่ละพืน้ ที่ตามอาชีพ
ในแต่ละห่วงโซ่คณ
ุ ค่า (Value Chain) หรือตาม Cluster ในแต่ละอุตสาหกรรม
อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม
ั ่ าย
ปนด้
ผลิตเส้นใย
ผ้าผืน
ย้อมพิมพ์
เสือ้ ผ้าสาเร็จรูป
นักการตลาด
1. Managers
2. Professionals
วิศวกรผลิตเส้นใย
วิศวกรทอผ้า/ถัก
ั ่ าย
ผ้า/ปนด้
3.Technicians &
associate professionals
ช่างไฟฟ้าและ
อิเล็กทรอนิกส์
ช่างไฟฟ้าและ
อิเล็กทรอนิกส์
วิศวกรทอผ้า/ถัก
ั ่ าย
ผ้า/ปนด้
วิศวกรพิมพ์/ย้อม
วิศวกรรม
อุตสาหการ (IE)
นักออกแบบ
ระบุความ
ต้องการแรงงาน
บสากล
ที่ตระดั
้ระดั
องการและ
บชาติ
ความต้องการคุณภาพแรงงาน(+/-)
ที่ขาดแคลน
ข้อมูล
ISCO-08
วิชาชีพ/อาชีพ
ตาแหน่งงานทัง้ หมด
แรงงานทีไ่ ด้รบั การจ้างงาน
ความต้องการแรงาน (+/-)
คุณภาพแรงงาน
4.Clerical support
workers
5.Service and Sales
workers
6.Skilled agricultural
forestry and fishery
workers
7.Craft and related
trades workers
พนักงาน
พนักงาน
พนักงาน
พนักงาน
พนักงาน
8. Plant and machine
operators and
assemblers
...
ISCO : International Standard Classification of Occupations by ILO
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Professional/
Expert
Skilled
Workforce
Semi-skilled
Workforce
Unskilled
Workforce
46
โครงสร้างข้อมูลสถานภาพการผลิตและพัฒนาแรงงาน
ข้อมูลสถานภาพการผลิต
และพัฒนาแรงงาน
The International
Standard Classification
of Education (ISCED)
การผลิต
ระดับ ป.ตรี
การผลิตแรงงาน
การผลิต
ระดับอาชีวะ
คณะ
คณะ
การพัฒนาแรงงาน
การผลิต
ระดับ...
อุตสาหกรรม
อุตสาหกรรม
อุตสาหกรรม
คณะ
สาขาอาชีพ
(Major groups)
สาขาอาชีพ
(Major groups)
สาขาอาชีพ
(Major groups)
สาขาอาชีพย่อย
สาขา
สาขา
สาขา
(Sub-Major groups)
สาขา
สาขา
สาขา
(Sub-Major groups)
คณะ
คณะ
คณะ
สาขาอาชีพย่อย
สาขาอาชีพ
(Major groups)
สาขาอาชีพย่อย
สาขา
สาขา
สาขา
(Sub-Major groups)
สาขา
สาขา
สาขา
(Sub-Major groups)
สาขา
สาขา
สาขา
(Sub-Major groups)
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
International Standard
Classification of
Occupations (ISCO)
สาขาอาชีพย่อย
สาขาอาชีพย่อย
สาขาอาชีพย่อย
(Sub-Major groups)
สาขาอาชีพย่อย
(Sub-Major groups)
สาขาอาชีพ
(Major groups)
สาขาอาชีพย่อย
(Sub-Major groups)
สาขาอาชีพย่อย
(Sub-Major groups)
สาขาอาชีพย่อย
(Sub-Major groups)
สาขาอาชีพย่อย
(Sub-Major groups)
สาขาอาชีพย่อย
(Sub-Major groups)
สาขาอาชีพ
(Major groups)
สาขาอาชีพย่อย
(Sub-Major groups)
สาขาอาชีพย่อย
(Sub-Major groups)
สาขาอาชีพย่อย
(Sub-Major groups)
47
สารวจและจัดทาฐานข้อมูลสถานภาพการผลิตและพัฒนาแรงงาน
ตัวอย่างข้อมูลสถานภาพการผลิตด้านเกษตรของสถาบันอุดมศึกษาทัวประเทศ
่
จานวน นศ.รวม ปี การศึกษา 2552
ภาค
ภาคอีสาน ภาคเหนือ
ภาคใต้ ภาคกลาง รวม
ISCED (6000)
ตะวันออก
เกษตรศาสตร์
1,007
837
24 1,340 1,077 4,285
155
เกษตร ปา่ ไม้และประมง
0
0
0
0
155
เกษตร
1,332 2,499
438 1,141 3,967 9,377
ผลผลิตพืชและสัตว์ทเ่ี ป็ นอาหาร
325
629
0
207 1,473 2,634
638 1,522
พืชไร่ ,พืชผัก
251
593
40
0
1,360
สัตวบาล
776
477
518 1,143 4,274
632
พืชสวน
136
91
ิ ต605 1,503
ส39ารวจสถานภาพการผล
วนศาสตร์และเทคนิค วนผลิตภัณฑ์
0
0
0
0
0
0
735 ฒนาแรงงาน
92
อุทยานแห่งชาติ
0 และพั
0
0
827
สัตว์ปา่
0
0
0
0
0
0
โดยจ
าแนกสาขาตาม
ISCED
การประมง
609
718
238
482
862 2,909
334
258
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง
0
0
2
594
สัตวแพทย์
185
0
33
0
26
244
สัตวแพทยศาสตร์
563
317
0
0 1,333 2,213
veterinary assisting
0
0
0
0
0
0
รวม
5,826 7,736 1,720 4,129 11,126 30,537
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Reference : ปรับปรุงจากข้อมูล http://www.info.mua.go.th/CHEapp2552/INFO_UNIV/index.php
48
สารวจและจัดทาฐานข้อมูลสถานภาพการผลิตและพัฒนาแรงงานในระดับพืน้ ที่
ตัวอย่างข้อมูลสถานประกอบ
กิจการที่ดาเนินการฝึ กอบรม
และยื่นรับรองในแต่ละประเภท
(อุตสาหกรรมท่องเที่ยว
และบริการ)
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ภาคใต้
จังหวัด
แห่ง
กระบี่
4
ชุมพร
0
ตรัง
4
นครศรีธรรมราช
1
นราธิวาส
0
ประจวบคีรขี นั ธ์
4
ปตั ตานี
0
พัทลุง
0
ภูเก็ต
19
สตูล
1
สุราษฎร์ธานี
3
สตูล
4
พังงา
6
ยะลา
0
46
คน
654
0
461
30
0
329
76
0
7,017
24
2,452
527
429
0
11,999
ทีม่ า: รวบรวมข้อมูลจากกรมพัฒนาฝีมอื แรงงาน
ข้อมูลเฉพาะเดือน ธันวาคม ปี 52
ปัจจุบนั !
กรมพัฒนาฝีมอื แรงงานมี
ข้อมูลสถานประกอบกิจการ
ทีด่ าเนินการฝึกอบรมและ
ยืน่ รับรองในอุตสาหกรรม
แต่ละประเภทในทุกพืน้ ทีท่ วั ่
ประเทศ
รายละเอียดการฝึกอบรม
ไม่แสดงความเชือ่ มโยงกับ
ตามมาตรฐานอาชีพ ISCO08 ของ ILO และมาตรฐาน
ISCED ทาให้ไม่สามารถ
เชือ่ มโยงสู่
ภาคอุตสาหกรรมได้อย่าง
สมบูรณ์
49
แผนการพัฒนากาลังคน
ความสามารถการผลิตแรงงาน
ความสามารถการพัฒนาแรงงาน
จานวน นศ.รวม ปี การศึ กษา 2552
ภาค
ภาคอีสาน ภาคเหนือ
ภาคใต้ ภาคกลาง รวม
ตะวันออก
เกษตรศาสตร์
1,007
837
24 1,340 1,077 4,285
155
เกษตร ปา่ ไม้และประมง
0
0
0
0
155
เกษตร
1,332 2,499
438 1,141 3,967 9,377
ผลผลิตพืชและสัตว์ท่เี ป็ นอาหาร
325
629
0
207 1,473 2,634
638 1,522
พืชไร่ ,พืชผัก
251
593
40
0
1,360
สัตวบาล
776
477
518 1,143 4,274
632
พืชสวน
39
136
91
605 1,503
วนศาสตร์และเทคนิค วนผลิตภัณฑ์
0
0
0
0
0
0
735
92
อุทยานแห่งชาติ
0
0
0
827
สัตว์ปา่
0
0
0
0
0
0
การประมง
609
718
238
482
862 2,909
334
258
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง
0
0
2
594
สัตวแพทย์
185
0
33
0
26
244
สัตวแพทยศาสตร์
563
317
0
0 1,333 2,213
veterinary assisting
0
0
0
0
0
0
รวม
5,826 7,736 1,720 4,129 11,126 30,537
ภาคใต้
จังหวัด
แห่ง
กระบี่
4
ชุมพร
0
ตรัง
4
นครศรีธรรมราช
1
นราธิวาส
0
ประจวบคีรีขนั ธ์
4
ั
ปตตานี
0
พัทลุง
0
ภูเก็ต
19
สตูล
1
สุราษฎร์ธานี
3
สตูล
4
พังงา
6
ยะลา
0
46
ISCED (6000)
และพัฒนาในแต่ละพืน้ ที่
กาหนดคุณภาพการผลิต
และพัฒนาในแต่ละพืน้ ที่
แผนต้องสามารถจาแนก
ได้ดงั นี้
ตามประเภท
อุตสาหกรรม
ตามมาตรฐานอาชีพ
ISCO-08 ของ ILO
ตามมาตรฐาน ISCED
คน
654
0
461
30
0
329
76
0
7,017
24
2,452
527
429
0
11,999
สาขาวิชา (จาแนกตามมาตรฐาน ISCED)
1.การศึกษา
14. ครุศาสตร์/
ศึกษาศาสตร์
2.มนุ ษยศาสตร์แ ละ
ศิลปกรรมศาสตร์
21.ศิลปกรรม
ศาสตร์
22.มนุ ษย
ศาสตร์
...
5.วิศวกรรมศาสตร์
52. วิศวกรรม
ศาสตร์
...
54. การผลิต
กลุ่ม
สาขาวิชา...
สาขาวิชา...
(ตาม สาขาวิชาชีพตามมาตรฐาน ISCO-08 )
1. Managers
ความต้องการแรงงาน
กาหนดปริมาณการผลิต
2. Professionals
ISCO
-08
3.Technicians &
associate
professionals
4.Clerical support
workers
5.Service and Sales
workers
6.Skilled
agricultural
forestry and fishery
workers
7.Craft and related
trades workers
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ม...หาวิทยาลัย
International Standard Classification of Occupations (ISCO) by ILO
The International Standard Classification of Education (ISCED) by
UNESCO
50
ภารกิจเชิงยุทธศาสตร์ ด้านแผนการพัฒนากาลังคน
จัดทาแผนการพัฒนากาลังคน เพือ่ เป็ นแนวทางในการพัฒนาแรงงานและ
ประสานงานการฝึกอาชีพของประเทศ โดย
รวบรวมข้อมูลการผลิตและพัฒนากาลังคนทัง้ หลักสูตรระยะยาว ปานกลาง
และสัน้ (ข้อมูลจากสถาบันอุดมศึกษา สถาบันอาชีวศึกษาและหน่วยงานพัฒนา
ฝีมอื แรงงาน) ในระดับประเทศและแต่ละพืน้ ที่ โดยจาแนกสาขาวิชาของ
หลักสูตร ตามแนวทางมาตรฐาน ISCED
สารวจความต้องการแรงงานในแต่ละสาขาอาชีพ ตามแนวทางมาตรฐาน
อาชีพ ISCO-08 ของ ILO ทีม่ อี ยูใ่ นภาคการเกษตร การผลิตและภาคบริการ
ทัง้ ระดับประเทศ/ภูมภิ าค/จังหวัด เพือ่ ให้สามารถส่งสัญญาณไปสูห่ น่วยงานภาค
การศึกษาและพัฒนาฝีมอื แรงงานได้อย่างเป็ นระบบ
International Standard Classification of Occupations (ISCO) by ILO
The International Standard Classification of Education (ISCED) by UNESCO
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
51
4
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
บริหารจัดการเครือข่ายการพัฒนาแรงงาน
52
บริหารจัดการเครือข่ายการพัฒนาแรงงาน
การผลิ ตและการพัฒนาแรงงาน
ระดับ
หลักสูตรการผลิ ตและพัฒนาแรงงาน
ระยะ
ยาว
มาตรฐานหลักสูตร
ระดับอุดมศึกษา มาตรฐานหลักสูตร
ระดับอุดมศึกษา
กรอบมาตรฐาน
คุณวุฒ ิ
ระดับอุดมศึกษา
แห่งชาติ (TQF)
มาตรฐานวิชาชีพ
(ตามสมาคมวิชาชีพ)/
มาตรฐานฝีมอื แรงงาน
Professional
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ภาครัฐ/เอกชน
แรงงาน
ผูจ้ า้ งงาน
Skilled
Workforce
มาตรฐานหลักสูตร
ฝึกอบรม
ระยะ
สัน้
ผูจ้ า้ งงาน
สถานภาพ
แรงงาน
ความต้องการ
แรงงานสุทธิ
เครือข่ายการพัฒนาแรงงาน
การพัฒนา
ฝีมอื แรงงาน
ภาคเกษตร
ระดับอาชีวะศึกษา มาตรฐานหลักสูตร
อาชีวะศึกษา
คุณวุฒวิ ชิ าชีพ (Thai
Vocational
Qualifications)
ภาคการผลิ ตและบริ การ
ภาครัฐ/เอกชน
แรงงาน
สถานภาพ
แรงงาน
ความต้องการ
แรงงานสุทธิ
ผูจ้ า้ งงาน
ภาครัฐ/เอกชน
แรงงาน
Semi-skilled
Workforce
สถานภาพ
แรงงาน
ความต้องการ
แรงงานสุทธิ
ภาคอุตสาหกรรม
ผูจ้ า้ งงาน
ภาครัฐ/เอกชน
แรงงาน
สถานภาพ
แรงงาน
ความต้องการ
แรงงานสุทธิ
ผูจ้ า้ งงาน
ภาครัฐ/เอกชน
แรงงาน
สถานภาพ
แรงงาน
ความต้องการ
แรงงานสุทธิ
ผูจ้ า้ งงาน
ภาครัฐ/เอกชน
แรงงาน
สถานภาพ
แรงงาน
ความต้องการ
แรงงานสุทธิ
ภาคบริ การ
ผูจ้ า้ งงาน
ภาครัฐ/เอกชน
แรงงาน
สถานภาพ
แรงงาน
ความต้องการ
แรงงานสุทธิ
ผูจ้ า้ งงาน
ภาครัฐ/เอกชน
แรงงาน
สถานภาพ
แรงงาน
ความต้องการ
แรงงานสุทธิ
ผูจ้ า้ งงาน
ภาครัฐ/เอกชน
แรงงาน
สถานภาพ
แรงงาน
ความต้องการ
แรงงานสุทธิ
53
ความคาดหวัง: เครือข่ายการพัฒนาแรงงาน
ภาคผูจ้ ้างงาน (เครือข่ายด้านอุปสงค์) : ได้รบั แรงงานที่มีคณ
ุ ภาพและมาตรฐานตามที่
ต้องการ ตลอดจนสามารถเห็นแนวโน้มของแรงงานทีจ่ ะได้รบั การผลิตในอนาคตว่าจะสอดคล้องกับ
การขยายตัวหรือชะลอตัวของภาคการเกษตร ภาคการผลิตและภาคบริการในพืน้ ทีห่ รือไม่
ภาคการศึกษาและพัฒนาแรงงาน (เครือข่ายด้านอุปทาน) :
จัดทา/ปรับปรุงหลักสูตรและกาหนดปริมาณการผลิตให้สอดคล้องกับความต้องการ
ของผูจ้ ้างงาน เนื่องจากมีขอ้ มูลความต้องการทีช่ ดั เจนจากเครือข่ายผูจ้ า้ งงานในพืน้ ที่
สามารถผลิตและพัฒนาแรงงานให้สอดคล้องกับความต้องการแรงงานทัง้ ในเชิง
ปริมาณและคุณภาพของแต่ละพืน้ ที่ อีกทัง้ สามารถเตรียมการเพือ่ รองรับความต้องการใน
ระยะยาวได้อกี ด้วย
กรมพัฒนาฝี มือแรงงาน :
มีข้อมูลความเชี่ยวชาญเฉพาะ ของหน่ วยงานพัฒนาแรงงานในแต่ละพืน
้ ที่ ทีเ่ ป็ น
ประโยชน์ต่อการพัฒนาหลักสูตรทีเ่ หมาะสมได้
มีขอ้ มูลศักยภาพในการผลิต ทาให้สามารถวิเคราะห์แนวโน้ มการขาดแคลนแรงงาน หรือ
การไม่มีงานทาของแรงงานในอนาคต
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
54
สถานประกอบกิจการที่ดาเนินการฝึ กอบรมและยื่นรับรองในแต่ละประเภท
(อุตสาหกรรมท่องเที่ยวและบริการ)
จังหวัด
กระบี่
ชุมพร
ตรัง
นครศรีธรรมราช
นราธิวาส
ประจวบคีรขี นั ธ์
ปตั ตานี
พัทลุง
ภูเก็ต
สตูล
สุราษฎร์ธานี
สตูล
พังงา
ยะลา
แห่ง
4
0
4
1
0
4
0
0
19
1
3
4
6
0
46
คน
654
0
461
30
0
329
76
0
7,017
24
2,452
527
429
0
11,999
ในแต่ละภูมิภาค/จังหวัด
มีสถาบันฯ/หน่ วยงาน
ใดบ้างที่ให้บริการใน
การฝึ กอบรมเพื่อพัฒนา
ฝี มือแรงงาน
จังหวัดใดมีศกั ยภาพใน
การผลิตเท่าไร
ข้อมูลกรมพัฒนาฝี มือแรงงานเฉพาะในเดือนธันวาคม ปี 52
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
55
ตรวจสอบหน่ วยงานจ้างงานในแต่ละวิชาชีพ ทัง้ ภาคเอกชน รัฐวิสาหกิจ ภาครัฐ
และภาคท้องถิ่น ตลอดจนสมาคมต่าง ๆ ในพืน้ ที่
25
60
76,964
3,878
32,306
186,765
10,241
ภาคเหนื อ
36
ภาคอี สาน
ภาคกลาง/
ตะวันตก/
ตะวันออก
205,705
287,223
4,693
105,560
784
กรุงเทพ 81,690
8,027
105,910
26,103
49
ภาคใต้
326,354
355,951
993 20,247
ตัวอย่าง: อุตสาหกรรมท่องเทีย่ ว
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ตัวอย่างข้อมูลสัดส่วนแรงงานในแต่ละ
ภูมิภาค
2,460 เครือข่ายแรงงาน
4,502 เครือข่ายผูป
้ ระกอบการ เช่น
– เครือข่ายผูป้ ระกอบการทีพ่ กั
– เครือข่ายไกด์นาเทีย่ ว
– เครือข่ายการให้บริการการเดินทาง
– เครือข่ายอื่น ๆ
– เครือข่ายบริษทั นาเทีย่ ว
112,644
Accommodations
Tour Guide
Transport
Others
Travel agencies
Unit: People
56
การจัดกลุ่มเครือข่ายในแต่ละพืน้ ที่
เครือข่าย Supply ภาคการผลิต
และพัฒนาแรงงาน
เครือข่าย Demand ภาคผูจ้ ้างงาน
ตัวอย่างเครือข่ายการจ้างงาน
อุตสาหกรรมท่องเที่ยว
25
60
76,964
3,878
32,306
186,765
10,241
ภาคเหนื อ
36
ภาคอี สาน
ภาคกลาง/
ตะวันตก/
ตะวันออก
205,705
287,223
4,693
105,560
784
กรุงเทพ 81,690
8,027
105,910
26,103
49
ภาคใต้
326,354
355,951
993 20,247
112,644
Accommodations
Tour Guide
Transport
Others
Travel agencies
2,460
4,502
การจัดกลุ่ม
เครือข่าย
ตัวอย่างเครือข่ายการพัฒนาแรงงาน
อุตสาหกรรมท่องเที่ยว
จังหวัด
กระบี่
ชุมพร
ตรัง
นครศรีธรรมราช
นราธิวาส
ประจวบคีรีขนั ธ์
ั
ปตตานี
พัทลุง
ภูเก็ต
สตูล
สุราษฎร์ธานี
สตูล
พังงา
ยะลา
แห่ ง
4
0
4
1
0
4
0
0
19
1
3
4
6
0
46
คน
654
0
461
30
0
329
76
0
7,017
24
2,452
527
429
0
11,999
Unit: People
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
57
ภารกิจเชิงยุทธศาสตร์ด้านเครือข่ายการพัฒนาแรงงาน
กาหนดรูปแบบและวิธีการบริหารจัดการเครือข่ายการศึกษาและพัฒนาแรงงาน
เพือ่ ให้หน่วยงานทีม่ ภี ารกิจในการพัฒนาแรงงานระดับประเทศ/ภูมภิ าค/จังหวัด ได้นาไปใช้
เป็ นแนวทางในการบูรณาการการวางแผน การจัดการงบประมาณ และการผลิต/พัฒนา
แรงงาน ร่วมกับภาคการเกษตร การผลิตและภาคบริการ
จัดกลุ่มเครือข่ายการศึกษาและพัฒนาฝี มือแรงงาน เพือ่
จัดทาหลักสูตรให้ได้มาตรฐาน ตรงกับความต้องการตามมาตรฐานวิชาชีพ/มาตรฐาน
ฝีมอื แรงงาน
วางแผนเชิงบูรณาการการผลิตในแต่ละสาขาอาชีพ เพือ่ ลดปญั หาความซ้าซ้อน
และเพิม่ ประสิทธิภาพในการใช้ทรัพยากรร่วมกัน
จัดเก็บข้อมูลการจ้างงานของผูส้ าเร็จการศึกษา เพือ่ วิเคราะห์การมีงานทาและ
ความคุม้ ค่าของการลงทุนเพือ่ การศึกษา
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
58
5
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
พัฒนาฝี มือแรงงานเพื่อรองรับการเคลื่อนย้าย
แรงงานมีฝีมืออย่างเสรีในภูมิภาค ASEAN
59
พัฒนาฝี มือแรงงานเพื่อรองรับการเคลื่อนย้าย
แรงงานมีฝีมืออย่างเสรีในภูมิภาค ASEAN
การผลิ ตและการพัฒนาแรงงาน
ระดับ
หลักสูตรการผลิ ตและพัฒนาแรงงาน
ระยะ
ยาว
มาตรฐานหลักสูตร
ระดับอุดมศึกษา มาตรฐานหลักสูตร
ระดับอุดมศึกษา
กรอบมาตรฐาน
คุณวุฒ ิ
ระดับอุดมศึกษา
แห่งชาติ (TQF)
5 พัฒนาฝี มือแรงงานเพื่อรองรับ
มาตรฐานวิชาชีพ
(ตามสมาคมวิชาชีพ)/
มาตรฐานฝีมอื แรงงาน
Professional
การพัฒนา
ฝีมอื แรงงาน
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ภาคเกษตร
ผูจ้ า้ งงาน
ภาครัฐ/เอกชน
แรงงาน
สถานภาพ
แรงงาน
ความต้องการ
แรงงานสุทธิ
ผูจ้ า้ งงาน
Skilled
Workforce
ภาครัฐ/เอกชน
แรงงาน
สถานภาพ
แรงงาน
ความต้องการ
แรงงานสุทธิ
ผูจ้ า้ งงาน
มาตรฐานหลักสูตร
ฝึกอบรม
ระยะ
สัน้
ภาคการผลิ ตและบริ การ
ระดับอาชีวะศึกษา มาตรฐานหลักสูตร
อาชีวะศึกษา
คุณวุฒวิ ชิ าชีพ (Thai
Vocational
Qualifications)
ASEAN FREE Flow
ภาครัฐ/เอกชน
แรงงาน
Semi-skilled
Workforce
สถานภาพ
แรงงาน
ความต้องการ
แรงงานสุทธิ
ภาคอุตสาหกรรม
ผูจ้ า้ งงาน
ภาครัฐ/เอกชน
แรงงาน
สถานภาพ
แรงงาน
ความต้องการ
แรงงานสุทธิ
ผูจ้ า้ งงาน
ภาครัฐ/เอกชน
แรงงาน
สถานภาพ
แรงงาน
ความต้องการ
แรงงานสุทธิ
ผูจ้ า้ งงาน
ภาครัฐ/เอกชน
แรงงาน
สถานภาพ
แรงงาน
ความต้องการ
แรงงานสุทธิ
ภาคบริ การ
ผูจ้ า้ งงาน
ภาครัฐ/เอกชน
แรงงาน
สถานภาพ
แรงงาน
ความต้องการ
แรงงานสุทธิ
ผูจ้ า้ งงาน
ภาครัฐ/เอกชน
แรงงาน
สถานภาพ
แรงงาน
ความต้องการ
แรงงานสุทธิ
ผูจ้ า้ งงาน
ภาครัฐ/เอกชน
แรงงาน
สถานภาพ
แรงงาน
ความต้องการ
แรงงานสุทธิ
60
ความคาดหวัง: การพัฒนาฝี มือแรงงานเพื่อรองรับการเคลื่อนย้าย
แรงงานมีฝีมืออย่างเสรีในภูมิภาค ASEAN
สมาคมวิชาชีพ : สามารถกากับดูแลมาตรฐานของแรงงาน ASEAN ที่จะเข้ามาทางานใน
ประเทศไทย ให้มีคณ
ุ ภาพตามมาตรฐานที่กาหนดไว้ในข้อตกลงยอมรับร่วมกันในการ
เคลื่อนย้ายแรงงานมีฝีมอื เสรีในภูมภิ าค
ภาคเกษตร ภาคการผลิตและภาคบริการ : สร้างความมันใจว่
่ าแรงงานจากประเทศต่างๆ
ในกลุ่มอาเซียน ที่เข้ามาทางานในประเทศไทย จะมีมาตรฐานที่ดีและคุ้มค่าต่อการจ้างงาน
ภาคการศึกษาและการพัฒนาฝี มือแรงงาน : โดยเฉพาะสาขาทีไ่ ด้มขี อ้ ตกลงยอมรับร่วมกันใน
การเคลื่อนย้ายแรงงานมีฝีมอื เสรีในภูมภิ าค 7 สาขาอาชีพ และ 1 สาขาท่องเทีย่ วทีอ่ ยูร่ ะหว่างการ
พิจารณา ให้สามารถปรับปรุงหลักสูตรให้สอดคล้องกับมาตรฐานแรงงาน ASEAN เพือ่ ให้
ผูเ้ ข้ารับการศึกษา/ฝึกอบรมมีระดับทักษะทีแ่ ข่งขันได้
ทรัพยากรมนุษย์ : แรงงานไทย มีทกั ษะทางด้านภาษา ด้านคอมพิวเตอร์ และมีทกั ษะ
วิชาชีพ ได้มาตรฐานอาเซียน และเพิม่ โอกาสทีจ่ ะทางานในประเทศอื่นๆ ในกลุ่มอาเซียนได้
กระทรวงแรงงาน: มีบทบาทในการวิเคราะห์ผลกระทบ ดาเนินการ จัดเตรียม และประสานงานใน
การรองรับสาขาอาชีพอื่น ๆ ทีจ่ ะมีการเปิดเสรีในภูมภิ าค
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
61
ASEAN
The Association of Southeast Asian Nations (ASEAN)
ประชาคมอาเซียนประกอบด้วย 3 ประชาคมหลักได้แก่ ประชาคมความมันคงอาเซี
่
ยน (ASEAN Security Community–
ASC) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community-AEC) และประชาคมสังคม-วัฒนธรรมอาเซียน
ASEAN Community
ASEAN PoliticalSecurity Community
ASEAN Economic Community
ASEAN Socio-Cultural
Community
The ASEAN Economic Community (AEC) shall be the goal of regional
economic integration by 2015. AEC envisages the following key
characteristics:
a highly
a region of
a region fully
a single market competitive
equitable
integrated into
and production
economic
economic
the global
base
region
development
economy
comprise five core elements:
(i) free flow of goods;
(ii) free flow of services;
(iii) free flow of investment;
(iv) free flow of capital; and
(v) free flow of skilled labour
หน่ วยงานด้าน
ความมันคง
่
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
หน่ วยงานด้านเศรษฐกิจ
หน่ วยงาน
ด้านสังคม
62
ASEAN
The Association of Southeast Asian Nations (ASEAN)
สถานการณ์ด้านแรงงาน
การเคลื่อนย้ายแรงงานมีฝีมอื เสรีในภูมภ
ิ าคเป็ นหนึ่ งในประเด็นสาคัญ
ASEAN Community
ภายใต้ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic CommunityAEC)
ASEAN Economic
ภายในปี ค.ศ.2015 ASEAN มีเป้าหมายในการรวมตัวเป็ น Single Market
Community
and Production Base ส่งผลให้แรงงานที่มีขีดความสามารถ/ศักยภาพ
ของประเทศสมาชิกสามารถเคลื่อนย้ายได้อย่างเสรีในภูมภิ าค
ASEAN
a single market and
production base
อุตสาหกรรมในแต่ละประเภทมีความสามารถในการแข่งขันแตกต่างกัน
ทุกภาคต้องสร้างความร่วมมือเพือ่ เตรียมแรงงานไทยให้พร้อมทัง้ ในเชิง
ปริมาณและคุณภาพก่อนปี ค.ศ.2015
(i) free flow of goods;
การเคลื่อนย้ายแรงงานโดยเสรีในปี ค.ศ.2015 จะส่งผลต่ออัตราการจ้าง
(ii) free flow of services;
(iii) free flow of investment;
งานในประเทศ จึงต้องให้ความสาคัญกับการกาหนดมาตรการทีช่ ดั เจนใน
(iv) free flow of capital; and
การฝึกฝีมอื แรงงาน อาทิ
(v) free flow of skilled labour
ยกระดับแรงงานไทยให้ได้มาตรฐานในระดับสากล/แข่งขันได้
ฝึ กเตรียมคนเข้าทางานให้ได้มาตรฐาน
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
63
ตรวจสอบกลุ่มอาชีพที่ได้จดั ทาข้อตกลงยอมรับร่วมกัน
ในการเคลื่อนย้ายได้อย่างเสรีในภูมิภาค ASEAN 7 สาขาอาชีพ
1. Managers
2. Professionals
3.Technicians &
associate
professionals
21. Science and
engineering
processionals
211.Physical and
earth science
professional
22. Health
professionals
212.
Mathematicians,
actuaries and
statisticians
23. Teaching
professionals
213.Life science
professionals
2141. Industrial & production
engineers
4.Clerical support
workers
ISCO-08
5.Service and
Sales workers
6.Skilled
agricultural
forestry and fishery
workers
7.Craft and related
trades workers
8. Plant and
machine operators
and assemblers
9.Elementary
occupations
0.Armed forces
occupations
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ตรวจสอบกลุม่ อาชีพ
และมาตรฐานในแต่ละ
สาขาอาชีพย่อย
24. Business and
administration
professionals
214.Engineering
professionals
25. Information and
communications
technology
professionals
215.Electrotechnolo
gy engineers
26. Legal social and
cultural
professionals
216.Architects,
planners, surveyors
and designers
ปัจจุบนั กลุ่ม
อาชีพที่ไ2142.Civil
ด้จดั ทา engineers
ข้อตกลง
2143.Environmental
วิศวกรรม
engineers
พยาบาล
สถาปัต2144.Mechanical
ยกรรม
engineers
การสารวจ
แพทย์2145.Chemical Engineers
ทันตแพทย์
engineers et.al.
นักบัญ2146.Mining
ชี
2147. Others
ตรวจสอบมาตรฐาน
ร่วมกับสมาคม
วิชาชีพ
มาตรฐานแรงงาน
มาตรฐานแรงงาน
มาตรฐานแรงงาน
มาตรฐานแรงงาน
มาตรฐานแรงงาน
มาตรฐานแรงงาน
มาตรฐานแรงงาน
64
ตรวจสอบกลุ่มอาชีพในสาขาท่องเที่ยวที่อยู่ระหว่างการพิจารณา
ให้สามารถเคลื่อนย้ายแรงงานมีฝีมือได้อย่างเสรีในภูมิภาค ASEAN
ASEAN Common Competency Standard
for Tourism Professionals ( ACCSTP)
Tourism
Professionals
Hotel
Services
ASEAN
Travel
Services
Front Office
House
Keeping
Food
Production
Food and
Beverage
Service
Travel Agencies
Tour
Operation
Standard
Standard
Standard
Standard
Standard
Standard
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
65
ภารกิจเชิงยุทธศาสตร์
ด้านการพัฒนาฝี มือแรงงานเพื่อรองรับการเคลื่อนย้ายแรงงานมีฝีมืออย่างเสรีในภูมิภาค ASEAN
สาหรับกลุ่มสาขาอาชีพที่ได้มีข้อตกลงยอมรับร่วมกันในการเคลื่อนย้ายแรงงานมีฝีมือได้อย่างเสรี
ในภูมิภาค ASEAN ใน 7 สาขาอาชีพ ได้แก่ วิศวกรรม พยาบาล สถาปตั ยกรรม การสารวจ แพทย์ ทันต
แพทย์ และนักบัญชี รวมทัง้ 1 สาขาท่องเทีย่ วทีอ่ ยูร่ ะหว่างการพิจารณา ควรกาหนดแนวทางการ
อนุญาต การทดสอบ และการรับรองมาตรฐานแรงงานไทยและแรงงาน ASEAN ทีจ่ ะเข้ามาทางาน
ในประเทศไทย
พัฒนาทักษะทางด้านภาษาให้กบั แรงงานไทย เช่น ภาษาอังกฤษ ภาษาของประเทศในกลุม่ อาเซียน
รวมทัง้ ทักษะทางด้านคอมพิวเตอร์ เพือ่ ส่งเสริมขีดความสามารถในการแข่งขันของแรงงานไทยกับประเทศ
อืน่ ๆ ในภูมภิ าค
ศึกษาข้อมูล ผลกระทบของสาขาอาชีพที่จะมีการเปิดเสรีในภูมิภาคอาเซียนในอนาคต
เตรียมการปรับปรุงและพัฒนามาตรฐานแรงงานไทยในสาขาอาชีพที่จะมีการเปิดเสรีในภูมิภาค
อาเซียน
เตรียมการรองรับการเปิดเสรีด้านการเคลื่อนย้ายแรงงานฝี มือในภูมิภาค ASEAN ควรมี
คณะกรรมการเฉพาะด้านแรงงานภายใต้ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community)
เพือ่ วิเคราะห์ผลกระทบ ดาเนินการ จัดเตรียม และประสานงานในการรองรับสาขาอาชีพอืน่ ๆ ที่จะมีการ
เปิดเสรีในภูมภิ าค
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
66
C
ยุทธศาสตร์ การพัฒนาแรงงานและประสานงานการฝึ กอาชีพแห่ งชาติ
ประเด็นสำคัญและข้ อเสนอแนะเบื ้องต้ น ที่จะใช้ เป็ นแนวทำงในกำรพัฒนำระบบกำรพัฒนำกำลังคน
ของประเทศในระยะต่อไป
ข้ อเสนอแนะแนวทำงกำรบริหำรงำนด้ ำนกำรพัฒนำฝี มือแรงงำน ของกรมพัฒนำฝี มือแรงงำน
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
67
ยุทธศาสตร์การพัฒนาแรงงานและประสานงานการฝึ กอาชีพแห่งชาติ
เป้ าหมาย
เพิม่ ขีดความสามารถแรงงานไทย ให้
สามารถแข่งขันกับแรงงาน ASEAN
การพัฒนาฝี มือแรงงาน
เพื่อรองรับการเคลื่อนย้าย
แรงงานมีฝีมืออย่างเสรีใน
ภูมิภาค ASEAN
5
1
เป้ าหมาย
ปรับปรุงและพัฒนามาตรฐานวิชาชีพ/
มาตรฐานฝีมอื แรงงานไทยในทุกสาขา
อาชีพ ทีส่ าคัญต่อการพัฒนาประเทศ
มาตรฐานวิ ชาชีพ/
ให้ได้มาตรฐานและสามารถแข่งขันได้
มาตรฐานฝี มือแรงงาน
ในระดับสากล
ยุทธศาสตร์การพัฒนาแรงงานและ
ประสานงานการฝึ กอาชีพแห่งชาติ
เป้ าหมาย
บริหารจัดการเครือข่ายการ
4
2
พัฒนาแรงงาน ทัง้ เครือข่าย
เครือข่าย
3
อุปสงค์และอุปทาน ให้
ข้อมูลด้านแรงงาน
การพัฒนาแรงงาน
สามารถบูรณาการความ
แผนการพัฒนา
ร่วมมือ เพือ่ การพัฒนา
กาลังคน
แรงงาน ตามทิศทางการ
พัฒนาประเทศ/ภูมภิ าคและ
เป้ าหมาย
จังหวัด
จัดทาแผนพัฒนากาลังคน ทัง้ ในเชิงปริมาณและ
คุณภาพทีค่ รอบคลุมการผลิตและการพัฒนาแรงงาน
เพือ่ ตอบสนองความต้องการแรงงานของประเทศ
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เป้ าหมาย
พัฒนาฐานข้อมูลแรงงานที่
สามารถเชื่อมโยงอุปสงค์และ
อุปทานทัง้ ในมิตพิ น้ื ที่ มิตภิ าค
การเกษตร ภาคการผลิตและ
ภาคบริการ เพือ่ ประกอบการ
ตัดสินในเชิงนโยบาย และการ
วางแผนฝึกอาชีพ
68
โครงสร้างยุทธศาสตร์การพัฒนาแรงงานและประสานงานการฝึ กอาชีพแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาแรงงานและ
ประสานงานการฝึ กอาชีพแห่งชาติ
1. สนับสนุ นการ 2.พัฒนาฐานข้อมูล
กาหนดและพัฒนา ด้านแรงงานทัง้ อุป
มาตรฐานวิชาชีพ/ สงค์และอุปทาน เพือ่
มาตรฐานฝีมอื
เป็ นข้อมูลกาหนด
แรงงาน
นโยบายและแนวทาง
ในการพัฒนาแรงงาน
และประสานงานการ
ฝึกอาชีพ
5. พัฒนาฝีมอื
3. กาหนดแผนการ 4. บริหารจัดการ
พัฒนากาลังคนให้ เครือข่ายการพัฒนา แรงงานเพือ่ รองรับ
การเคลือ่ นย้าย
แรงงาน
สอดคล้องกับความ
แรงงานมีฝีมอื อย่าง
ต้องการใน
เสรีในภูมภิ าค
ระดับประเทศและ
ASEAN
ในระดับพืน้ ที่
เป้าหมาย
ข้อเสนอแนะเชิง
ยุทธศาสตร์
ข้อเสนอแนะเชิง
ภารกิจกรมพัฒนา
ฝีมอื แรงงาน
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
69
กลยุทธ์ที่ 1. สนับสนุนการกาหนดและพัฒนามาตรฐานวิชาชีพ/
มาตรฐานฝี มือแรงงาน
เป้ าหมาย : ปรับปรุงและพัฒนามาตรฐานวิชาชีพ/มาตรฐานฝีมอื แรงงานในทุกสาขาอาชีพทีส่ าคัญต่อ
การพัฒนาประเทศ ให้ได้มาตรฐานและสามารถแข่งขันได้ในระดับสากล
ข้อเสนอแนะเชิงยุทธศาสตร์
รวบรวมมาตรฐานวิชาชีพ/มาตรฐานฝีมอื แรงงานในแต่ละสาขาอาชีพ ให้ครบถ้วนและเป็ นระบบ
เพือ่ ให้เกิดการจัดการมาตรฐานวิชาชีพ/มาตรฐานฝีมอื แรงงานทัง้ ประเทศ เช่นมาตรฐานฝีมอื
แรงงาน ทีพ่ ฒ
ั นาโดยกรมพัฒนาฝีมอื แรงงาน และ มาตรฐานวิชาชีพ ทีพ่ ฒ
ั นาโดยสภา/สมาคม
วิชาชีพต่างๆ
ปรับปรุงและจัดทามาตรฐานวิชาชีพ/มาตรฐานฝีมอื แรงงานในทุกสาขาอาชีพทีส่ าคัญต่อการพัฒนา
ประเทศ ให้ได้มาตรฐานและสามารถแข่งขันได้ในระดับสากลและสอดคล้องกับความต้องการ
มาตรฐานฝีมอื แรงงานของ วิสาหกิจขนาดใหญ่ (LE) วิสาหกิจกลางและเล็ก (SME)
ประสานงานกับหน่วยงานภาคการศึกษาและพัฒนาฝีมอื แรงงาน เช่น กระทรวงศึกษาธิการ เพือ่
จัดทาและปรับปรุงมาตรฐานหลักสูตร ให้สอดคล้องกับมาตรฐานวิชาชีพ/มาตรฐานฝีมอื แรงงาน
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
70
ข้อเสนอแนะเชิงภารกิจกรมพัฒนาฝี มือแรงงาน
หน่ วยงานรับผิดชอบ
ร่วมกับหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง เช่น สมาคม/สภาวิชาชีพ
สานักพัฒนามาตรฐานและทดสอบฝี มอ
ื
กระทรวงศึกษาธิการ (ระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา) ในการหา
แรงงาน
แนวทางและรูปแบบเพือ่ ปรับปรุง/พัฒนามาตรฐานฝีมอื แรงงานแต่ละ
สาขาอาชีพ
ปรับปรุง/พัฒนามาตรฐานฝีมอื แรงงานในแต่ละสาขาอาชีพ ให้
สานักพัฒนามาตรฐานและทดสอบฝี มอ
ื
สอดคล้องกับความต้องการทักษะและคุณลักษณะฝีมอื แรงงานที่
แรงงาน
สามารถแข่งขันได้ในระดับสากล และสอดคล้องกับความต้องการของ
วิสาหกิจขนาดใหญ่ (LE) วิสาหกิจกลางและเล็ก (SME)
ปรับปรุง/ออกแบบหลักสูตรการพัฒนาฝีมอื แรงงานในแต่ละสาขา
อาชีพ เพือ่ ให้แรงงานมีทกั ษะและคุณลักษณะตามมาตรฐานฝีมอื
แรงงาน
กาหนดแนวทางและทดสอบมาตรฐานแรงงาน รวมทัง้ จัดการแข่งขัน
ฝีมอื แรงงาน ทีส่ อดคล้องกับมาตรฐานฝีมอื แรงงานทีก่ าหนด
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สานักพัฒนามาตรฐานและทดสอบฝีมอื
แรงงาน
สานักพัฒนาผูฝ
้ ึกและเทคโนโลยีการฝึก
สถาบันพัฒนาฝี มอ
ื แรงงานภาค/
นานาชาติเชียงแสน
ศูนย์พฒ
ั นาฝีมอื แรงงานจังหวัด/กทม
สานักพัฒนามาตรฐานและทดสอบฝีมอื
แรงงาน
71
กลยุทธ์ที่ 2. พัฒนาฐานข้อมูลด้านแรงงานเพื่อเป็ นข้อมูลกาหนดนโยบาย
และแนวทางในการพัฒนาแรงงานและประสานงานการฝึ กอาชีพ
เป้ าหมาย : พัฒนาฐานข้อมูลแรงงานทีส่ ามารถเชือ่ มโยงอุปสงค์และอุปทานทัง้ ในมิตพิ น้ื ที่ มิตภิ าค
การเกษตร ภาคการผลิต และภาคบริการ เพือ่ ประกอบการตัดสินใจเชิงนโยบาย และการวางแผนฝึกอาชีพ
ข้อเสนอแนะเชิงยุทธศาสตร์
กาหนดมาตรฐานข้อมูลด้านแรงงาน ให้สามารถเชื่อมโยงกันระหว่างความต้องการแรงงานในแต่ละสาขาอาชีพ (Demand) กับ
แรงงานผูส้ าเร็จการศึกษาในแต่ละสาขาวิชา (Supply) เพือ่ ใช้เป็ นกรอบในการจัดการข้อมูลอุปสงค์และอุปทานแรงงาน
ข้อมูลการจ้างงาน (Employment) ควรจาแนกสาขาอาชีพของแรงงาน ตามมาตรฐานอาชีพ ISCO-08 ของ ILO ซึง่ จะทาให้มี
ฐานข้อมูลทีเ่ ป็ นมาตรฐานสากล และสามารถวิเคราะห์การจ้างงานและความต้องการแรงงานในแต่ละสาขาอาชีพได้อย่างเป็ น
ระบบ
ข้อมูลการจ้างงานตามสาขาอาชีพ ควรแยกจัดเก็บในแต่ละภาคการเกษตร การผลิตและภาคบริการ ตามขนาดของสถาน
ประกอบการ เช่น วิสาหกิจขนาดใหญ่ (LE) วิสาหกิจกลางและเล็ก (SME) และ Self-Employment เพือ่ ความสะดวกในการ
วิเคราะห์ความต้องการแรงงาน
ข้อมูลแรงงานผูส้ าเร็จการศึกษาในแต่ละสาขาวิชา ทัง้ หลักสูตรระยะยาว ปานกลางและสัน้ (ระดับอุดมศึกษา อาชีวศึกษาและ
การพัฒนาฝีมอื แรงงาน) ควรมีการจาแนกสาขาวิชาของหลักสูตร ตามมาตรฐาน ISCED
จัดเก็บข้อมูลแรงงานผูส้ าเร็จการศึกษาในแต่ละสาขาวิชาของหลักสูตร ว่าไปทางานในสาขาอาชีพใด ในภาคการเกษตร ภาคการ
ผลิต และภาคบริการใด ตลอดจนวิสาหกิจระดับใด เพือ่ ให้สามารถวิเคราะห์ปริมาณและคุณภาพการผลิตและพัฒนาแรงงาน ตรง
กับความต้องการของตลาดหรือไม่
ประสานความร่วมมือระหว่างหน่ วยงานภายในกระทรวงแรงงานและหน่ วยงานภายนอกทีเ่ กีย่ วข้อง เพือ่ จัดทาเครือข่ายข้อมูล
แรงงาน
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
72
International Standard Classification of Occupations (ISCO), The International Standard Classification of Education (ISCED)
ข้อเสนอแนะเชิงภารกิจกรมพัฒนาฝี มือแรงงาน
หน่ วยงานรับผิดชอบ
ร่วมกับหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง ในการกาหนดกรอบมาตรฐานข้อมูล ปรับปรุงโครงสร้างและ กองยุทธศาสตร์และเครือข่าย
รูปแบบในการจัดเก็บข้อมูล ให้เชือ่ มโยงกัน เช่น
การพัฒนาฝีมอื แรงงาน
ร่วมกับหน่วยงานภายใต้กระทรวงแรงงาน เช่น สานักงานปลัดและกรมการจัดหางาน ใน
การกาหนดโครงสร้างข้อมูลแรงงาน ตามมาตรฐานอาชีพ ISCO-08 ของ ILO
ร่วมกับกระทรวงศึกษาธิการ และหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน ในการจัดเก็บข้อมูล
แรงงานผูส้ าเร็จการศึกษาในระดับต่างๆ เช่นระดับอุดมศึกษา อาชีวศึกษาและการพัฒนา
ฝีมอื แรงงาน ตามมาตรฐาน ISCED
ร่วมกับสานักงานสถิตแิ ห่งชาติ ในการบูรณาการโครงสร้างและวิธกี ารจัดเก็บข้อมูล
ผูส้ าเร็จการศึกษา ตามมาตรฐาน ISCED และข้อมูลการจ้างงาน ตามมาตรฐานอาชีพ
ISCO-08 ในแต่ละอุตสาหกรรม
กาหนดแนวทางในการวิเคราะห์ขอ้ มูลแรงงานด้านอุปสงค์และอุปทาน เพือ่ การพัฒนาฝีมอื
แรงงานให้ตรงกับความต้องการของตลาด โดยคานึงถึงทักษะและความต้องการในมิตติ ่างๆ
เช่น มิตพิ น้ื ที่ มิตภิ าคการเกษตร ภาคการผลิต และภาคบริการ
กองยุทธศาสตร์และเครือข่าย
การพัฒนาฝีมอื แรงงาน
พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศให้สามารถเชือ่ มต่อข้อมูลแบบใยแมงมุมเป็ นเครือข่าย
กองแผนงานและสารสนเทศ
(Network) เพือ่ บูรณาการข้อมูลสารสนเทศทัง้ หมด
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ
พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศการพัฒนาฝีมอื แรงงานของกรมพัฒนาฝีมอื แรงงาน ทีส่ ามารถ
เชือ่ มโยงกับข้อมูลแรงงานด้านอุปสงค์และอุปทาน ของหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนอื่นๆ
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
หมายเหตุ : International Standard Classification of Occupations (ISCO), The International Standard Classification of Education (ISCED)
73
กลยุทธ์ที่ 3. กาหนดแผนการพัฒนากาลังคนให้สอดคล้องกับ
ความต้องการในระดับประเทศและในระดับพืน้ ที่
เป้ าหมาย : จัดทาแผนพัฒนากาลังคนทัง้ ในเชิงปริมาณและคุณภาพทีค่ รอบคลุมการผลิตและการพัฒนา
แรงงาน เพือ่ ตอบสนองความต้องการแรงงานของประเทศ
ข้อเสนอแนะเชิงยุทธศาสตร์
จัดทาแผนการพัฒนากาลังคน เพือ่ เป็ นแนวทางในการพัฒนาแรงงานและประสานงานการฝึกอาชีพ
ของประเทศ โดย
รวบรวมข้อมูลการผลิตและพัฒนากาลังคนทัง้ หลักสูตรระยะยาว ปานกลางและสัน้ (ข้อมูลจาก
สถาบันอุดมศึกษา สถาบันอาชีวศึกษาและหน่วยงานพัฒนาฝีมอื แรงงาน) ในระดับประเทศ/
ภูมภิ าค/จังหวัด โดยจาแนกสาขาวิชาของหลักสูตร ตามแนวทางมาตรฐาน ISCED
สารวจความต้องการแรงงานในแต่ละสาขาอาชีพ ตามแนวทางมาตรฐานอาชีพ ISCO-08 ของ
ILO ทีม่ อี ยูใ่ นภาคการเกษตร การผลิตและภาคบริการ ในระดับประเทศ/ภูมภิ าค/จังหวัด
เพือ่ ให้สามารถส่งสัญญาณไปสูห่ น่วยงานภาคการศึกษาและพัฒนาฝีมอื แรงงานได้อย่างเป็ น
ระบบ
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
74
ข้อเสนอแนะเชิงภารกิจกรมพัฒนาฝี มือแรงงาน
ด้านอุปสงค์ ร่วมกับหน่วยงานทัง้ ภาครัฐ ภาคเอกชน และท้องถิน่ ในระดับประเทศ/
ภูมภิ าค/จังหวัด สารวจความต้องการแรงงานในแต่ละวิชาชีพ
ตาแหน่งงานในแต่ละอาชีพทีม่ ที งั ้ หมด
ปริมาณการจ้างงานอยูใ่ นปจั จุบนั
ความต้องการเชิงปริมาณ
ความต้องการเชิงคุณภาพ (มาตรฐาน/ระดับทักษะทีต่ อ้ งการ)
ความต้องการแรงงานสุทธิ
ด้านอุปทาน ร่วมกับหน่วยงานกลางด้านการศึกษา สถาบันการศึกษาและพัฒนาฝี มอื
แรงงานในระดับประเทศ/ภูมภิ าค/จังหวัด
สารวจข้อมูลกาลังการผลิตและพัฒนาแรงงานในแต่ละสาขาอาชีพ ทัง้ ในเชิงปริมาณและ
คุณภาพของสถาบันการผลิตและพัฒนาฝีมอื แรงงาน
วิเคราะห์ศกั ยภาพและกาลังการผลิตและพัฒนาแรงงาน
วิเคราะห์แนวโน้มแรงงานทัง้ ในเชิงปริมาณและคุณภาพทีจ่ ะเข้าสูต่ ลาดแรงงาน
วิเคราะห์และกาหนดความต้องการแรงงานแต่ละอาชีพในระดับประเทศ/ภูมภิ าค/จังหวัด
และร่วมตรวจสอบโดยหน่วยงานในแต่ละพืน้ ที่ แล้วจึงสรุปความต้องการในภาพรวมทัง้
ประเทศ
วิเคราะห์ความต้องการแรงงานแต่ละอาชีพ ทัง้ ในเชิงปริมาณและคุณภาพ
จาแนกแรงงานในแต่ละอาชีพให้สอดคล้องกับขัน้ ตอนการผลิต (Value Chain) ของภาค
การเกษตร ภาคการผลิต และภาคบริการ
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
หน่ วยงานรับผิดชอบ
สถาบันพัฒนาฝีมอื แรงงานภาค/
นานาชาติเชียงแสน
ศูนย์พฒ
ั นาฝีมอื แรงงานจังหวัด/
กทม
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ
สถาบันพัฒนาฝีมอื แรงงานภาค/
นานาชาติเชียงแสน
ศูนย์พฒ
ั นาฝีมอื แรงงานจังหวัด/
กทม
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ
กองยุทธศาสตร์และเครือข่ายการ
พัฒนาฝีมอื แรงงาน
สถาบันพัฒนาฝี มอ
ื แรงงานภาค/
นานาชาติเชียงแสน
ศูนย์พฒ
ั นาฝีมอื แรงงานจังหวัด/
กทม
75
กลกลยุทธ์ที่ 4. บริหารจัดการเครือข่ายการพัฒนาแรงงาน
เป้ าหมาย : บริหารจัดการเครือข่ายการพัฒนาแรงงานทัง้ เครือข่ายอุปสงค์และอุปทาน ให้สามารถ
บูรณาการความร่วมมือ เพือ่ การพัฒนาแรงงานตามทิศทางการพัฒนาประเทศ/ภูมภิ าคและจังหวัด
ข้อเสนอแนะเชิงยุทธศาสตร์
กาหนดรูปแบบและวิธกี ารบริหารจัดการเครือข่ายการศึกษาและพัฒนาแรงงาน เพือ่ ให้หน่วยงานที่
มีภารกิจในการพัฒนาแรงงานในระดับประเทศ/ภูมภิ าค/จังหวัด ได้นาไปใช้เป็ นแนวทางในการบูร
ณาการการวางแผน การจัดการงบประมาณและการผลิต/พัฒนาแรงงาน ร่วมกับภาคการเกษตร
การผลิตและภาคบริการ
จัดกลุ่มเครือข่ายการศึกษาและพัฒนาฝีมอื แรงงาน เพือ่
จัดทาหลักสูตรให้ได้มาตรฐาน ตรงกับความต้องการตามมาตรฐานวิชาชีพ/มาตรฐานฝีมอื แรงงาน
วางแผนเชิงบูรณาการการผลิตในแต่ละสาขาอาชีพ เพือ่ ลดปญั หาความซ้าซ้อน และเพิม่
ประสิทธิภาพในการใช้ทรัพยากรร่วมกัน
จัดเก็บข้อมูลการจ้างงานของผูส้ าเร็จการศึกษา เพือ่ วิเคราะห์การมีงานทาและความคุม้ ค่าของการ
ลงทุนเพือ่ การศึกษา
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
76
ข้อเสนอแนะเชิ งภารกิ จกรมพัฒนาฝี มือแรงงาน
ตรวจสอบสถานภาพการผลิตและพัฒนาแรงงาน โดยวิเคราะห์ขดี ความสามารถใน
การผลิตทัง้ ในด้านปริมาณและมาตรฐานของหน่วยงานผลิตและพัฒนาแรงงาน
สร้างและพัฒนาเครือข่ายระหว่างหน่วยงานพัฒนาแรงงาน เพือ่ ให้เกิดการบูรณา
การการพัฒนาแรงงาน ให้ตรงกับความต้องการของผูจ้ า้ งงาน (ปริมาณและ
คุณภาพ)
ร่วมกับเครือข่ายการผลิตและพัฒนาแรงงาน จัดทา/ปรับปรุงหลักสูตรพัฒนาฝีมอื
แรงงาน ให้สอดคล้องกับความต้องการของผูจ้ า้ งงาน
จัดกิจกรรมเพือ่ ส่งเสริมการพัฒนาเครือข่ายการผลิตและพัฒนาแรงงานทัง้ ในและ
ต่างประเทศ
จัดทาฐานข้อมูลศักยภาพและความเชีย่ วชาญของหน่วยงานการผลิตและพัฒนา
แรงงานในสาขาอาชีพต่างๆ
ร่วมกับเครือข่ายผูจ้ า้ งงานและสมาคมวิชาชีพ สารวจทักษะและคุณลักษณะ
แรงงานทีต่ อ้ งการ เพือ่ ให้หน่วยงานผลิตและพัฒนาแรงงานนาไปใช้ในการจัดทา
และปรับปรุงหลักสูตร
จัดกิจกรรม เพือ่ สร้างความร่วมมือระหว่างเครือข่ายผูจ้ า้ งงาน สมาคมวิชาชีพ และ
เครือข่ายการผลิตและพัฒนาแรงงาน
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
หน่ วยงานรับผิดชอบ
กองยุทธศาสตร์และเครือข่ายการพัฒนาฝีมอื แรงงาน
กองยุทธศาสตร์และเครือข่ายการพัฒนาฝีมอื แรงงาน
กองยุทธศาสตร์และเครือข่ายการพัฒนาฝีมอื แรงงาน
สานักพัฒนาผูฝ
้ ึกและเทคโนโลยีการฝึก
สถาบันพัฒนาฝี มอ
ื แรงงานภาค/นานาชาติเชียงแสน
ศูนย์พฒ
ั นาฝีมอื แรงงานจังหวัด/กทม
กองยุทธศาสตร์และเครือข่ายการพัฒนาฝีมอื แรงงาน
กองส่งเสริมการพัฒนาฝี มอ
ื แรงงาน
กองยุทธศาสตร์และเครือข่ายการพัฒนาฝีมอื แรงงาน
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ
กองยุทธศาสตร์และเครือข่ายการพัฒนาฝีมอื แรงงาน
กองยุทธศาสตร์และเครือข่ายการพัฒนาฝีมอื แรงงาน
77
5. พัฒนาฝี มือแรงงานเพื่อรองรับการเคลื่อนย้าย
แรงงานมีฝีมืออย่างเสรีในภูมิภาค ASEAN
เป้ าหมาย : เพิม่ ขีดความสามารถแรงงานไทยให้สามารถแข่งขันกับแรงงาน ASEAN
ข้อเสนอแนะเชิงยุทธศาสตร์
สาหรับกลุม่ สาขาอาชีพทีไ่ ด้มขี อ้ ตกลงยอมรับร่วมกันในการเคลือ่ นย้ายแรงงานมีฝีมอื ได้อย่างเสรีในภูมภิ าค
ASEAN ใน 7 สาขาอาชีพ ได้แก่ วิศวกรรม พยาบาล สถาปตั ยกรรม การสารวจ แพทย์ ทันตแพทย์ และนัก
บัญชี รวมทัง้ 1 สาขาท่องเทีย่ วทีอ่ ยูร่ ะหว่างการพิจารณา ควรกาหนดแนวทางการอนุ ญาต การทดสอบ และการ
รับรองมาตรฐานแรงงานไทยและแรงงาน ASEAN ทีจ่ ะเข้ามาทางานในประเทศไทย
พัฒนาทักษะทางด้านภาษาให้กบั แรงงานไทย เช่น ภาษาอังกฤษ ภาษาของประเทศในกลุม่ อาเซียน รวมทัง้
ทักษะทางด้านคอมพิวเตอร์ เพือ่ ส่งเสริมขีดความสามารถในการแข่งขันของแรงงานไทยกับประเทศอืน่ ๆ ใน
ภูมภิ าค
ศึกษาข้อมูล ผลกระทบของสาขาอาชีพทีจ่ ะมีการเปิดเสรีในภูมภิ าคอาเซียนในอนาคต
เตรียมการปรับปรุงและพัฒนามาตรฐานแรงงานไทยในสาขาอาชีพทีจ่ ะมีการเปิดเสรีในภูมภิ าคอาเซียนใน
อนาคต
เตรียมการรองรับการเปิดเสรีดา้ นการเคลือ่ นย้ายแรงงานฝีมอื ในภูมภิ าค ASEAN ควรมีคณะกรรมการเฉพาะ
ด้านแรงงานภายใต้ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community) เพือ่ วิเคราะห์ผลกระทบ
ดาเนินการ จัดเตรียม และประสานงานในการรองรับสาขาอาชีพอืน่ ๆ ทีจ่ ะมีการเปิดเสรีในภูมภิ าค
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
78
ข้อเสนอแนะเชิ งภารกิ จกรมพัฒนาฝี มือแรงงาน
สาหรับกลุม่ สาขาอาชีพทีไ่ ด้มขี อ้ ตกลงยอมรับร่วมกันในการเคลื่อนย้ายแรงงานมีฝีมอื ได้อย่างเสรีใน
ภูมภิ าค ASEAN ใน 7 สาขาอาชีพ ได้แก่ วิศวกรรม พยาบาล สถาปตั ยกรรม การสารวจ แพทย์ ทันต
แพทย์ และนักบัญชี
วิเคราะห์และกาหนดแนวทางการส่งเสริมแรงงานไทยทัง้ ในระยะสัน้ และระยะยาว เพือ่ ยกระดับ
ทักษะแรงงานไทยทีจ่ ะเคลื่อนย้ายไปทางานในภูมภิ าค ASEAN โดยเฉพาะความสามารถ
ทางด้านภาษา ให้สามารถแข่งขันได้
ประสานและส่งเสริมให้สมาคมวิชาชีพ ให้ตรวจสอบและปรับปรุงมาตรฐานแรงงานให้ทนั สมัย
และมีบทบาทในการกากับดูแลมาตรฐานของแรงงาน ASEAN ทีจ่ ะเข้ามาทางานในประเทศไทย
ให้มคี ุณภาพตามมาตรฐานทีก่ าหนดไว้ในข้อตกลงยอมรับร่วมกันในการเคลื่อนย้ายแรงงานมี
ฝีมอื เสรีในภูมภิ าค
สาหรับสาขาอาชีพอื่นๆ ทีป่ ระสงค์จะมีขอ้ ตกลงยอมรับร่วมกันในการเคลื่อนย้ายแรงงานมีฝีมอื ได้อย่าง
เสรีในภูมภิ าค ASEAN ในอนาคต
วิเคราะห์สถานการณ์ (SWOT Analysis) ผลกระทบและช่องว่าง (Gap Analysis) ของมาตรฐาน
แรงงานไทยและมาตรฐานแรงงาน ASEAN ในสาขาอาชีพทีจ่ ะมีการเปิดเสรีในภูมภิ าคอาเซียน
ในอนาคต
เตรียมความพร้อมในเรื่องมาตรฐานแรงงานไทย การพัฒนาหลักสูตรให้กบั แรงงานทีม่ คี วาม
ประสงค์จะทางานในระดับ ASEAN ให้สามารถแข่งขันได้ เป็ นต้น
ร่วมกับหน่วยงานภายใต้กระทรวงแรงงาน เช่น สานักบริหารแรงงานต่างด้าว และกรมการจัดหางาน
ในการกาหนดแนวทางการอนุ ญาต การทดสอบ และการรับรองมาตรฐานแรงงานไทยและแรงงาน
คณะเศรษฐศาสตร์
ASEAN
จุฬาลงกรณ์
ทีจ่ ะเข้มหาวิ
ามาท
ทยาลัางานในประเทศไทย
ย
หน่ วยงานรับผิดชอบ
กองยุทธศาสตร์และเครือข่าย
การพัฒนาฝีมอื แรงงาน
กองวิเทศสัมพันธ์
สานักพัฒนามาตรฐานและ
ทดสอบฝีมอื แรงงาน
สถาบันพัฒนาฝี มอ
ื แรงงาน
ภาค/นานาชาติเชียงแสน
กองยุทธศาสตร์และเครือข่าย
การพัฒนาฝีมอื แรงงาน
กองวิเทศสัมพันธ์
สานักพัฒนามาตรฐานและ
ทดสอบฝีมอื แรงงาน
สานักพัฒนาผูฝ
้ ึกและ
เทคโนโลยีการฝึก
สถาบันพัฒนาฝี มอ
ื แรงงาน
ภาค/นานาชาติเชียงแสน
กองยุทธศาสตร์และเครือข่าย
การพัฒนาฝีมอื แรงงาน
79
3
แผนการดาเนินการของกรมพัฒนาฝี มือแรงงาน
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
80
แผนการดาเนินการของคณะอนุกรรมการ ฯ
ธ.ค. ๕๓
นาเสนอผูบ้ ริหาร
กรมพัฒนาฝีมอื
แรงงาน
ม.ค. ๕๔
ก.พ. ๕๔
ระยะเวลา 6 เดือน
นาเข้าพิจารณาใน
นาเข้าพิจารณาใน คณก.พัฒนา
คณอก.ประสานการพัฒนา
แรงงานและประสานงานการฝึก กรมพัฒนาฝีมอื แรงงาน
กาลังคน ภายใต้แผนปฏิบตั ิ
อาชีพแห่งชาติ (กพร.ปช.)
การไทยเข้มแข็ง ๒๕๕๕
นาเข้าพิจารณาใน
คณก.พัฒนาแรงงานและ
ประสานงานการฝึกอาชีพ
แห่งชาติ (กพร.ปช.)
พิ จารณา
พิ จารณา
พิ จารณา
ดาเนิ นการ
พิ จารณา
ให้ความเห็นชอบ
ให้ความเห็นชอบ
(หากเห็นชอบ)
ให้ความเห็นชอบ
ให้ความเห็นชอบ
ร่างยุทธศาสตร์การ ร่างยุทธศาสตร์การ
ยุทธศาสตร์การพัฒนา
ดาเนินการจัดประชุม อนุ มตั แิ ผนดาเนินงาน
พัฒนาแรงงานและ พัฒนาแรงงานและ
แรงงานและประสานงานการ
เชิงปฏิบตั กิ าร
และแผนปฏิบตั งิ าน
ประสานงานการฝึก ประสานงานการฝึก
ฝึกอาชีพแห่งชาติ
(Workshop) เพือ่
(Roadmap) ของ
อาชีพแห่งชาติ
อาชีพแห่งชาติ
อนุ มตั กิ ารจัดประชุมเชิง
พัฒนาแผนดาเนินงาน ยุทธศาสตร์แต่ละด้าน
แผนการดาเนินการ จัดทาข้อเสนอแนว
ปฏิบตั กิ าร (Workshop) เพือ่
และแผนปฏิบตั งิ าน
เพือ่ ให้หน่วยเกีย่ วข้อง
ของกรมพัฒนา
ทางการจัดประชุมเชิง
พัฒนาแผนดาเนินงานและ
(Roadmap) ของ
นาไปปฏิบตั ิ
ฝีมอื แรงงาน
ปฏิบตั กิ าร (Workshop)
แผนปฏิบตั งิ าน (Roadmap)
ยุทธศาสตร์แต่ละด้าน อนุ มตั ใิ ห้กรมพัฒนาฝี มอื
เพือ่ พัฒนาแผน
ของยุทธศาสตร์แต่ละด้าน
สรุปผลการจัดประชุม
แรงงานเป็ นเจ้าภาพ
ดาเนินงานและ
เพือ่ นาไปสูก่ ารจัดทา
ติดตามและประเมินผล
แผนปฏิบตั งิ าน
ร่างแผนดาเนินงานและ ตลอดจนรายงานผลให้
(Roadmap) ของ
แผนปฏิบตั งิ าน
กพร.ปช.ทราบ
ยุทธศาสตร์แต่ละด้าน
(Roadmap) ของ
ยุทธศาสตร์แต่ละด้าน
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
81
โอกาสจากระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัฒนา
แรงงานและประสานงานการฝึ กอาชีพแห่งชาติ พ.ศ. 2552
ในการขับเคลี่อนการพัฒนาฝี มือแรงงานทัง้ ระบบ
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ปัจจัยสู่ความสาเร็จในการขับเคลื่อนการพัฒนาแรงงานและฝึ กอาชีพ
เพื่อตอบสนองต่ อสถานการณ์ สาคัญและความท้ ายทายต่ าง ๆ
ความเข้าใจ (Comprehension) ในบริบทการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ จากการศึกษา
(Education) ไปสูก่ ารจ้างงาน (Employment) ตลอดจนผลกระทบจากการเปลีย่ นแปลงใน
ภูมภิ าคด้านแรงงาน
การบูรณาการ (Integration) อย่างเป็ นระบบระหว่างภาคอุปสงค์และภาคอุปทานด้าน
แรงงาน ทีต่ อ้ งมีความร่วมมืออย่างเป็ นระบบจากทุกฝา่ ยทัง้ จาก ภาคแรงงาน ภาครัฐ
ภาคเอกชน โดยเฉพาะอย่างยิง่ ความร่วมมือของผูม้ สี ว่ นได้เสียในห่วงโซ่คุณค่าของแต่ละ
อุตสาหกรรม
การได้รบั มอบอานาจหน้ าที่ (Authority) เกีย่ วกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ทงั ้ ระบบ
และมีขอบเขตอานาจหน้าทีค่ รอบคลุม ตัง้ แต่ การกาหนดนโยบาย การจัดทาแผน การติดตาม
และประเมินผลด้านแรงงาน จะทาให้สามารถแก้ไขปญั หาควบคูไ่ ปกับการพัฒนาได้อย่าง
เบ็ดเสร็จ
การมีกลไกการทางาน (Mechanism) ทีเ่ ป็ นระบบและเป็ นทางการ สามารถประสานการ
ดาเนินการกับส่วนราชการทีเ่ กีย่ วข้องทัง้ ในด้านการจัดการข้อมูล การวางแผนการปฏิบตั งิ าน
ร่วม และการใช้ทรัพยากรร่วมกันของผูม้ สี ว่ นได้เสีย
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
อานาจหน้ าที่
กรมพัฒนาฝี มือแรงงาน
1. พัฒนามาตรฐานฝีมอื แรงงาน
และทดสอบและแข่งขัน
2. พัฒนาฝีมอื แรงงาน
3. ส่งเสริมการพัฒนาฝีมอื แรงงาน
4. ประสานและส่งเสริมให้ภาครัฐและ
ภาคเอกชนจัดทาแผนความต้องการ
5. ดาเนินการตามกฎหมายว่าด้วยการ
ส่งเสริมการพัฒนาพัฒนาฝีมอื ฯ
6. สร้างและพัฒนาเครือข่ายการพัฒนา
ศักยภาพกาลังแรงงาน
7. อื่น ๆ
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ข้อจากัดในการพัฒนาแรงงานและฝึ กอาชีพทัง้ ระบบ
ของกรมพัฒนาฝี มือแรงงาน
กรมพัฒนาฝีมอื แรงงานมีหน้าทีร่ บั ผิดชอบตาม พ.ร.บ.ส่งเสริมการพัฒนา
ฝีมอื แรงงาน พ.ศ. 2545 ซึง่ ไม่ครอบคลุมด้านการศึกษา
การแก้ไขปญั หาหรือการพัฒนาแรงงานในปจั จุบนั ต้องดาเนินการพัฒนา
ทรัพยากรมนุ ษย์ทงั ้ ระบบ ตัง้ แต่การศึกษา (Education) จนกระทังการจ้
่
าง
งาน (Employment) ไม่สามารถแก้ปญั หาเป็ นเรือ่ ง ๆ ได้
หน่วยงานด้านแรงงานดาเนินการตามขอบเขตอานาจหน้าทีข่ องแต่ละ
หน่วยเอง ยังขาดการบูรณาการ เช่น ใช้มาตรฐานข้อมูลทีแ่ ตกต่างกัน และ
การจัดกลุม่ อุตสาหกรรมทีแ่ ตกต่างกัน เป็ นต้น จึงควรมีหน่วยงานกลางหรือ
คณะกรรรมการกลางในการวิเคราะห์และ Standardize เรือ่ งดังกล่าว
กรมพัฒนาฝีมอื แรงงานทางานร่วมกับหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง โดยไม่มกี ลไก
ทีเ่ ป็ นทางการรองรับ ทาให้ไม่ได้รบั commitment จากหน่วยงานที่
เกีย่ วข้องเท่าทีค่ วร
การเตรียมการรองรับการเปลีย่ นแปลงในภูมภิ าคด้านแรงงานไม่สามารถ
ดาเนินการได้โดยกรมพัฒนาฝีมอื แรงงานหรือกระทรวงแรงงานเท่านัน้ แต่
ต้องได้รบั ความร่วมมือจากทุกฝา่ ย ซึง่ อยูน่ อกขอบเขตอานาจหน้าทีข่ อง
กรมพัฒนาฝีมอื แรงงาน
ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วย
การพัฒนาแรงงานและประสานงาน
การฝึ กอาชีพแห่งชาติ พ.ศ. 2552
1. กาหนดนโยบายและแนวทางใน
การพัฒนาแรงงานและประสานงานการ
ฝึกอาชีพ
2. ประสานแผนการพัฒนาทรัพยากร
มนุ ษย์ระหว่างระบบการศึกษากับ
ระบบการพัฒนากาลังแรงงาน
3. ประสานนโยบาย แผนการพัฒนาฝีมอื
แรงงาน และแผนการฝึ กอาชีพของทุก
หน่ วยงานทัง้ ภาครัฐและภาคเอกชน
4. ติ ดตามและประเมิ นผลการ
ดาเนินงานตามนโยบายและแผนงาน
5. เสนอแนวทางการแก้ไขปญั หาและ
อุปสรรคเกีย่ วกับการพัฒนาแรงงานและ
ประสานงานการฝึกอาชีพ
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
โอกาสของกรมพัฒนาฝี มือแรงงาน
ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีฯ ได้ให้อานาจหน้าทีใ่ นการพัฒนา
ทรัพยากรมนุ ษย์ทงั ้ ระบบ อีกทัง้ มีหวั หน้าส่วนราชการทีเ่ กีย่ วข้องเป็ น
คณะกรรมการ ทาให้การจัดการข้อมูล การวางแผน
การปฏิบตั งิ านร่วม และการใช้ทรัพยากรร่วมกันได้อย่างเป็ นระบบ
กรมพัฒนาฝีมอื แรงงานเป็ นฝา่ ยเลขาฯ ของ กพร.ปช. ซึง่ มีบทบาท
หลักในการขับเคลือ่ นการพัฒนาแรงงานและฝึกอาชีพ
เปิดโอกาสกรมพัฒนาฝีมอื แรงงานสามารถปรับปรุงเชิงโครงสร้างการ
บริหารจัดการด้านแรงงานของประเทศ ทีส่ ามารถบูรณาการ
การศึกษาและการพัฒนาฝีมอื แรงงาน
มีเวทีทเ่ี ป็ นทางการให้กรมพัฒนาฝีมอื แรงงานร่วมกับหน่วยงาน
ภาคอุตสาหกรรมในการกาหนดแผนการผลิตและพัฒนาแรงงานให้
สอดคล้องกับความต้องการแรงงานในแต่ละอุตสาหกรรม และมีกลไก
ในการติดตามและประเมินผลทีเ่ ป็ นรูปธรรม
ระเบียบสานักนายกฯ เอือ้ ให้กรมพัฒนาฝีมอื แรงงานมีอานาจหน้าที่
ในการประสานการดาเนินงานทัง้ ภาครัฐและเอกชนอย่างเป็ นระบบ
ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัฒนาแรงงาน
และประสานงานการฝึ กอาชีพแห่งชาติ พ.ศ. 2552
1. กาหนดนโยบายและแนวทางในการพัฒนาแรงงานและประสานงานการฝึ กอาชีพ
การศึกษา
(Education)
2. ประสานแผนการพัฒนา
ทรัพยากรมนุษย์ระหว่างระบบ
การศึกษากับระบบการพัฒนา
กาลังแรงงาน
4. ติ ดตามและ
ประเมิ นผลการ
ม.22
ดาเนิ นงานตาม
คณะกรรมการจัดทา
นโยบายและแผนงาน
มาตรฐานฝี มือแรงงาน
การจ้างงาน 5. ดาเนินการตาม 1. พัฒนามาตรฐานฝีมอื แรงงาน
ข.
และทดสอบและแข่
งขัน
(Employment) กฎหมายว่าด้วยการ อุตสาหกรรม
ม.38
ส่งเสริมการพั
ฒนา
อุตสาหกรรม ก.
พัฒนาฝี มอื ฯ
คณะกรรมการส่ งเสริ ม
การพัฒนาฝี มือแรงงาน
ม.23
พัฒนาและทดสอบมาตรฐาน
ฝี มื อแรงงาน
ยกระดับ
ฝี มือ
ม.8
ฝึ กเตรียมเข้าทางาน
ม.20
เปลี่ยนอาชีพ
แห่ งชาติ
4. ประสานและส่งเสริมให้
ภาครัฐและภาคเอกชนจัดทา
แผนความต้องการ
6. สร้างและพัฒนาเครือข่ายการ
พัฒนาศักยภาพกาลังแรงงาน
3. ส่งเสริมการพัฒนาฝี มอื
2. ม.27
พัฒนาฝีกองทุ
มอื นแรงงาน
พัฒนาฝี มือแรงงาน
แรงงาน
3. ประสานนโยบาย แผนการพัฒนา
ฝี มือแรงงาน และแผนการฝึ กอาชี พ
ของทุกหน่ วยงานทัง้ ภาครัฐและ
ภาคเอกชน
5. เสนอแนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรคเกี่ยวกับการพัฒนาแรงงานและประสานงานการฝึ กอาชีพ
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ประเด็นสาคัญ: กรมพัฒนาฝี มือแรงงานจะใช้โอกาสจากระเบียบ
สานักนายกรัฐมนตรีฯ ในการขับเคลื่อน
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ทงั ้ ระบบ อย่างไร
ใช้โอกาสจากระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีฯ ทีก่ าหนดขอบเขตอานาจหน้าทีค่ รอบคลุม
การพัฒนาทรัพยากรมนุ ษย์ทงั ้ ระบบ โดยมีกรมพัฒนาฝีมอื แรงงานเป็นฝา่ ยเลขาฯ ของ
กพร.ปช.
ใช้จุดแข็งจากการทีก่ รมพัฒนาฝีมอื แรงงาน เป็ นหน่วยงานหลักในการพัฒนามาตรฐานฝีมอื
แรงงานและทดสอบ ตลอดจนมีเครือข่ายการพัฒนาศักยภาพกาลังแรงงานทัวประเทศ
่
เป็ น
ฐานในการปรับโครงสร้างภายในและต่อยอดการพัฒนาฝีมอื แรงงานอย่างครบวงจร
กาหนดกรอบยุทธศาสตร์การพัฒนากาลังคนทีช่ ดั เจน เพือ่ รองรับการขับเคลื่อนการพัฒนา
แรงงานและฝึกอาชีพ และเพือ่ รองรับการพัฒนาและเปลีย่ นแปลงด้านแรงงาน
ภายในประเทศและภูมภิ าค
คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย