รายละเอียดเพิ่มเติม - ศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัดปทุมธานี

Download Report

Transcript รายละเอียดเพิ่มเติม - ศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัดปทุมธานี

1
กรอบยุทธศาสตร์การพ ัฒนากาล ังแรงงาน
ิ้ สว
่ นอะไหล่ยานยนต์
ในอุตสาหกรรมยานยนต์และชน
จ ัดทาโดย กรมพ ัฒนาฝี มือแรงงาน
เสนอต่อ
คณะอนุกรรมการพ ัฒนากรอบยุทธศาสตร์การพ ัฒนากาล ัง
แรงงานในอุตสาหกรรมยานยนต์
ิ้ สว
่ นอะไหล่ยานยนต์
และชน
ทีป
่ รึกษาโครงการ
1.นายถาวร ชล ัษเฐียร
2.รศ.ดร.ยงยุทธ แฉล้มวงษ์
3.นายวิษณุ ปาณวร
4.นางประชุมพร ชวี ะประเสริฐ
ิ ธิพงษ์ ไข่มก
5.นายสท
ุ
คณะผูว้ จ
ิ ัย
1.นายจิตรพงศ ์ พุม
่ สอาด
2.นางสาวพเยาว์ อินทอง
3.นางสาวปิ ยะร ัตน์ ศรีตนติบ
๊
2
2
อานาจหน้าทีข
่ องคณะอนุกรรมการพ ัฒนากรอบยุทธศาสตร์
การพ ัฒนากาล ังแรงงาน
ิ้ สว
่ นอะไหล่ยานยนต์
ในอุตสาหกรรมยานยนต์และชน
ึ ษา วิเคราะห์ อุปสงค์
ศก
อุปทาน และแนวโน้มความ
ต้องการของตลาดแรงงาน
ในอุตสาหกรรมยานยนต์
ิ้ สว่ นยาน
และอะไหล่ชน
ยนต์
กาหนดแนวทางการ
ดาเนินงานเพือ
่ จ ัดทากรอบ
ยุทธศาสตร์การพ ัฒนา
แรงงาน
ในอุตสาหกรรมยานยนต์
ิ้ สว่ นยานยนต์
และอะไหล่ชน
จ ัดทาข้อเสนอแนะและ
สรุปผลการจ ัดทากรอบ
ยุทธศาสตร์ฯเสนอต่อ
กพร.ปช.และ
คณะร ัฐมนตรี
กรอบการดาเนินงานของคณะอนุกรรมการ
3
3
กรอบการดาเนินงานของคณะอนุกรรมการ
การจ ัดทากรอบยุทธศาสตร์การพ ัฒนากาล ังแรงงานในกลุม
่ อุตสาหกรรมยานยนต์
ิ้ สว่ นอะไหล่ยานยนต์ เพือ
และชน
่ เพิม
่ ผลิตภาพแรงงานให ้ตอบสนองต่อความต ้องการของ
่ ้อตกลงของอาเซย
ี น
ตลาดแรงงานภายในประเทศ การเปลีย
่ นแปลงทางเศรษฐกิจ การเข ้าสูข
และสอดคล ้องกับความต ้องการและการเปลีย
่ นแปลงของระบบเศรษฐกิจโลก โดย
ดาเนินการ ใน 5 ระยะ ประกอบด ้วย
ระยะที่ 1 จ ัดทาร่างกรอบยุทธศาสตร์ (Strategic Framework) กลยุทธ์ กลุม
่ เป้าหมายการ
ิ้ สว
่ นอะไหล่ยานยนต์
พ ัฒนาแรงงาน ในอุตสาหกรรมยานยนต์และชน
้ งต้น (Guideline) (ระยะเวลา 2 เดือน : เดือน พฤษภาคม 2555)
ข้อเสนอแนะเบือ
ระยะที่ 2 จัดทาร่างแผนงานปี พ.ศ.2556-2563 เพือ
่ เป็ นแนวทางในการพัฒนาระบบการพัฒนาแรงงาน
ในอุตสาหกรรมยานยนต์ (ระยะเวลา 2 เดือน : มิถน
ุ ายน – กรกฏาคม 2555)
ระยะที่ 3 สง่ ร่างให ้คณะอนุกรรมการฯ หน่วยงานทีเ่ กีย
่ วข ้องพิจารณาเพือ
่ ปรับปรุงร่างฯ และให ้ความ
เห็นชอบ (ระยะเวลา 1 เดือน : สงิ หาคม 2555)
ระยะที่ 4 จัดทาประชาพิจารณ์และเสนอร่างกรอบยุทธศาสตร์ฯ และข ้อเสนอแนะ ในทีป
่ ระชุมคณะกรรมการ
ี แห่งชาติ (กพร.ปช.) เพือ
พัฒนาแรงงานและประสานงานการฝึ กอาชพ
่ พิจารณาให ้ความเห็นชอบ
ระยะที่ 5 เสนอร่างกรอบยุทธศาสตร์ฯ และข ้อเสนอแนะ ต่อคณะรัฐมนตรี
4
กรอบแนวคิดการจ ัดทากรอบยุทธศาสตร์การพ ัฒนากาล ังแรงงาน
ิ้ สว
่ นอะไหล่ยานยนต์
ในกลุม
่ อุตสาหกรรมยานยนต์และชน
ั
ั
สงเคราะห์
ผลการสมมนา
14 ก.ค. 54
ิ้ สว่ นอะไหล่ยานยนต์
กลุม
่ อุตสาหกรรมยานยนต์และชน
ึ ษา
เทคโนโลยี คุณภาพการศก
ความร่วมมือ
เพิม
่ ผลิตภาพ
และพ ัฒนาแรงงาน
อย่างยง่ ั ยืน
ั้ ง รายได้/
แรงงานฝี มือชนสู
โอกาส/ลดปัญหาขาดแคลน
ความสามารถ
ระหว่างหน่วยงาน
ในการแข่งข ัน
ภาคร ัฐ/เอกชน
ความเป็น
เอกภาพในการ
การบูรณาการ
ข ับเคลือ
่ นการ
การดาเนินงาน
พ ัฒนา
แรงงาน
ของประเทศ
รองร ับ AEC และ
การแข่งข ันในตลาดโลก
พ ัฒนากาล ังคน
โอกาส/
อุปสรรค
แรงงาน/
ผูป
้ ระกอบ
ทงระบบ
ั้
กิจการ)
เป้าหมายของการจ ัดทากรอบยุทธศาสตร์การพ ัฒนา
กาล ังแรงงานในกลุม
่ อุตสาหกรรมยานยนต์
5
5
กรอบแนวคิดการจ ัดทากรอบยุทธศาสตร์การพ ัฒนากาล ังแรงงาน
ิ้ สว
่ นอะไหล่ยานยนต์
ในกลุม
่ อุตสาหกรรมยานยนต์และชน
เป้ าหมายของการจัดทา
กรอบยุทธศาสตร์การพัฒนา
กาลังแรงงานในกลุ่ม
อุตสาหกรรมยานยนต์
แต่งตงคณะ
ั้
อนุกรรมการ
(ดาเนินการแล้ว)
คณะกรรมการ
พัฒนาแรงงาน
และประสานงาน
การฝึ กอาชีพ
แห่งชาติ
(กพร.ปช.)
เพิม
่ ผลิตภาพ/พ ัฒนา
แรงงานอย่างยงยื
่ั น
การบูรณาการ
รองร ับAECและ
การดาเนินงาน
การแข่งข ันในตลาดโลก
จ ัดทา/ยกร่างกรอบ
ยุทธศาสตร์
(อยูร่ ะหว่าง
นาเสนอ)
การทาวิจยั เชิง
คุณภาพ
/สังเคราะห์ผลการ
สัมมนา/การรวมรวม
และสังเคราะห์ข้อมูล
การสัมภาษณ์ ฯลฯ
การจ ัดทาร่าง
แผนงานปี 25562563
การจ ัดทาประชา
พิจารณ์
และเสนอต่อ
คณะกรรมการ
กพร.ปช
ขอความ
เห็นชอบ
คณะร ัฐมนตรี
/ข้อสง่ ั การ
ี (Stakeholders) & Supply Chain
ผูส
้ ว่ นมีได้เสย
สภาหอการค้าฯ
ผูป
้ ระกอบกิจการ
สภาอุตสาหกรรมฯ
สถาบ ันคุณวุฒ ิ
ี
วิชาชพ
สถาบ ันพ ัฒนาฝี มือฯ
ึ ษา
สถาบ ันอุดมศก
ึ ษา
สถาบ ันอาชวี ศก
BOI
ก.แรงงาน
...
…
…
6
6
กรอบแนวคิดการจ ัดทากรอบยุทธศาสตร์ (Conceptual Framework)
นโยบายภาครัฐ
(Supply Side)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมแห่งชาติ
ฉบับที่ 11
กรอบยุทธศาสตร์
พัฒนาแรงงาน
และประสานงาน
การฝึ กอาชีพแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์กระทรวง/กรม
แผนงาน/โครงการ
ที่เกี่ยวข้อง
ั
ผลการสมมนา
24 ก.ค. 54 ข้อมูลการ
คาดการณ์แรงงาน โครงสร้างกาล ังแรงงาน
สถานการณ์ จานวนแรงงาน Value Chain
แผนยุทธศาสตร์และข้อเสนอแนะจากกลุม
่
อุตสาหกรรมฯ (Data &Information)
(Demand & Supply Side)
การวิจัยเชิงคุณภาพ
(Qualitative Research)
การสัมภาษณ์ /คาถาม
Informal/ In-depth interview
PROBES /key informant/
Using Questionnaires
Synthesis /Content Analysis/Risk
ั
สงเคราะห์
ผล/กาหนดเป้าหมาย
การเก็บข้อมูล/ผลการศึกษา
/งานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง
/Existing Theories Observation
Conclusion of result (Mission)
Innovate(Strategic Framework)
7
7
ภารกิจการพัฒนากาลังแรงงานในอุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วนอะไหล่ยานยนต์
ยกระดับความสามารถ ทักษะ
ฝี มือ ของแรงงานไทย
– จัดทายุทธศาสตร์การพัฒนากาลัง
แรงงาน
– สร ้างเครือข่ายพัฒนาแรงงาน เพือ
่
ขับเคลือ
่ นการฝึ กยกระดับ ทักษะฝี มือ
แรงงาน เพิม
่ สมรรถนะ ให ้แรงงานได ้
ตรงตามกลุม
่ เป้ าหมาย และตลาดแรงงาน
ี มาตรฐานฝี มือ
– พัฒนามาตรฐานวิชาชพ
แรงงานรองรับการพัฒนากาลังแรงงาน
สอดคล ้องความต ้องการของลาดแรงงาน
– พัฒนาระบบฐานข ้อมูล ทีร่ วบรวม ความ
ต ้องการพัฒนาฝี มือแรงงาน (Demand)
ของนายจ ้าง/ลูกจ ้าง และข ้อมูลน่วยงาน
ฝึ กอบรม หลักสูตร โครงการ ทีเ่ ปิ ด
ฝึ กอบรม (Supply)
– สนับสนุนระบบรับรองความสามารถ เพือ
่
ิ ธิ
สร ้างโอกาส เพิม
่ รายได ้และสท
ประโยชน์ของลูกจ ้างและเพิม
่
ิ ธิภาพของนายจ ้าง
ประสท
กาหนดทิศทางการพัฒนาแรงงาน
ไทย ให้สอดคล้องกับการเปิดเสรี
การค้า AEC
-
-
จัดทาแผนการพัฒนากาลัง
แรงงาน เสริมทักษะสมรรถนะ
หลัก และด ้านภาษาให ้กาลัง
แรงงานในกลุม
่ อุตสาหกรรมยาน
ยนต์ เพือ
่ ยกระดับฝี มือแรงงาน
รองรับการเปิ ดเสรีการค ้า ตาม
กรอบ AEC
กาหนดแนวทางการปรับปรุงและ
พัฒนามาตรฐานกาลังแรงงาน
ไทยในกลุม
่ อุตสาหกรรมยานยนต์
สร ้างและพัฒนาองค์กร/
หน่วยงานด ้านพัฒนาทรัพยากร
มนุษย์ (HRD)
พัฒนาบุคลากรระดับสูง
ี่ วชาญนักวิจัย ด ้านยานยนต์
ผู ้เชย
ิ้ สว่ นอะไหล่ยานยนต์
และชน
สร้างองค์กรเพื่อการพัฒนา
แรงงานไทย รองรับการแข่ขนั
ของโลกในอนาคต
ึ ษา วิจัย การพัฒนากาลัง
- ศก
แรงงานในระยะยาวเพือ
่
รองรับการแข่งขันในระดับ
โลก
- สง่ เสริมการสร ้างองค์กร
พัฒนาทรัพยากรมนุษย์
(HRD) เพือ
่ เพิม
่ ผลิตภาพ
ั ้ สูง ใน
แรงงาน บุคลากรชน
กลุม
่ อุตสาหกรรมยานยนต์
เพือ
่ เพิม
่ ขีดความสามารถ
รองรับการแข่งขันระดับโลก
ในอนาคต
8
8
ึ ษาเบือ
้ งต้น
ผลการศก
ระยะที่ 1 จ ัดทากรอบยุทธศาสตร์ (Strategic Framework)
(ระยะเวลา 2 เดือน)



ผลการวิเคราะห์ SWOT จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค
ภาพรวมระบบการพัฒนากาลังแรงงานของประเทศในอุตสาหกรรมยานยนต์
ิ้ สว่ นยานยนต์
และชน
ิ้ สว่ น
กรอบยุทธศาสตร์การพัฒนากาลังแรงงานในอุตสาหกรรมยานยนต์และชน
ยานยนต์
9
9
จุดเด่น
 อุตสาหกรรมยานยนต์ไทยมีโครงสร ้างพืน
้ ฐานทีม
่ ั่นคงและมี
ิ ธิภาพต่อนือ
การดาเนินการอย่างมีประสท
่ งมากกว่า 30 ปี
 ประเทศไทยมีตาแหน่งเชงิ ภูมศ
ิ าสตร์ทเี่ หมาะสมกับการเป็ น
จุดอ่อน
 ความไม่มั่นคง ไม่แน่นอนทางการเมือง
ี่ วชาญเฉพาะทางในอุตสาหกรรมยานยนต์
 ขาดแคลนผู ้เชย
 ขาดแคลนบุคลากรทีม
่ ท
ี ักษะสูง ด ้านการวิจัย พัฒนา และการออกแบบ
ึ ษาทีใ่ ห ้ความสาคัญกับปริญญามากกว่าความรู ้/ทักษะใน
 ค่านิยมของนักศก
ศูนย์กลางการผลิต
 เป็ นตลาดทีใ่ หญ่และมีสมดุลระหว่างยอดจาหน่ายในประเทศ
และสง่ ออก (คาดว่ามากกว่า 2.1 ล ้านคันในปี 2556)
 มีขด
ี ความสามารถสูงในการผลิตยานยนต์เคยสูงถึงลาดับที่
10 ของโลกและมีแนวโน ้มสูงขึน
้ ได ้อีกมาก
 เป็ นฐานการผลิตและสง่ ออกรถกระบะ 1 ตันของโลก
ิ้ สว่ นอะไหล่ยานยนต์มามากกว่า 40 ปี
 เป็ นฐานการผลิตชน
และมีขด
ี ความสามารถในการแข่งขันสูง
 มีแรงงานทีม
่ ท
ี ักษะคุณภาพสูง
ี ทาให ้เกิดการขาดแคลนระดับกลาง (ระหว่าง ม.ปลาย
การประกอบอาชพ
ึ ษา) อย่างรุนแรง
สายเทคนิค ถึงอุดมศก
ึ ษามีความรู ้ทฤษฎีแต่ขาดทักษะด ้านปฏิบัต ิ ไม่สามารถทางาน
 ผู ้จบการศก
ได ้ทันที ทาให ้นายจ ้างต ้องฝึ กอบรมพนักงานก่อนปฏิบัตงิ านซงึ่ ทาให ้มี
ต ้นทุนเพิม
่ ขึน
้ (ขาดความคิดเชงิ วิเคราะห์)
 มีความรู ้พืน
้ ฐานด ้านภาษาอังกฤษและภาษาต่างประเทศน ้อยมาก
 ขาดศูนย์รวมในการบริหารจัดการแรงงานในภาพรวมทัง้ หมด (ต่างคนต่างทา)
 การพัฒนากาลังคนในเชงิ ปริมาณและคุณภาพทีไ่ ม่สอดคล ้องกับทิศ
ทางการพัฒนาอุตสาหกรรมทาให ้เกิดการขาดแคลนแรงงานอย่างรุนแรง
โอกาส
 นโยบายของรัฐให ้การสนับสนุนอุตสาหกรรมยานยนต์
ั เจน
 มีนโยบายมุง่ เน ้นการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ทช
ี่ ด
 ASEAN Free Flow เปิ ดโอกาสให ้แรงงานไทยทีม
่ ศ
ี ักยภาพ
สามารถเข ้าถึงการจ ้างงานได ้มากขึน
้ และมีทางเลือกมากขึน
้
อุปสรรค
 การเคลือ
่ นย ้ายแรงงานไร ้ฝี มอ
ื จากประเทศเพือ
่ นบ ้านทีม
่ ป
ี ริมาณสูงขึน
้ ทาให ้
้
มีแรงงานราคาถูกให ้ใชจนท
าให ้การปรับเปลีย
่ นเทคโนโลยีลา่ ชา้
 ภาษีนาเข ้าปั จจัยการผลิตของไทยปั จจุบันยังมีอัตราสูง ทาให ้นั กลงทุน
่ อินโดนีเซย
ี
สนใจทีจ
่ ะตัง้ ฐานการผลิตไนประเทศเพือ
่ นบ ้าน เชน
่ ญีป
 ความสนใจของประเทศเป้ าหมาย เชน
่ น
ุ่ เข ้ามาลงทุนใน  การสง่ เสริมการลงทุน (BOI) มีข ้อจากัดด ้านระเบียบ ข ้อบังคับ สง่ ผลต่อ
ประเทศไทย (Long Term Partnership) สง่ ผลให ้เกิดการ
จ ้างงานเพิม
่ ขึน
้ อย่างต่อเนือ
่ ง
การขยายตัวของการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ
 การทีร่ าคาของพลังงานเกีย
่ วข ้องกับธุรกิจยานยนตร์มรี าคาสูงขึน
้ อย่าง
10
ต่อเนือ
่ ง
จุดเด่น
 แรงงานไทยมีฝีมอ
ื ดี สามารถทางานได ้ละเอียดประณีต เป็ น
จุดอ่อน

ทีต
่ ้องการของนายจ ้าง
อุตสาหกรรมไทยจะมีการเพิม
่ ขึน
้ ของค่าจ ้างอย่างรวดเร็วทาให ้ต ้องแข่งขัน
ด ้านต ้นทุนและคุณภาพมากกว่าแต่กอ
่ นมาก
 แรงงานไทยมีความเข ้าใจในการปฏิบัตงิ าน ขยัน อดทน
 แรงงานไทยมีอัธยาศัยดี ปรับตัวได ้ง่าย สามารถเรียนรู ้และ
ถ่ายทอดความรู ้ได ้
 แรงงานไทยมีอัตราค่าจ ้างแรงงานถูกกว่าหลายประเทศ
 มีภาคเอกชนทีเ่ ข ้มแข็งและได ้รับการสนับสนุนจากผู ้รวม
ลงทุนด ้านเทคโนโลยีจากต่างปประเทศอย่างต่อเนือ
่ ง
โอกาส

การรวมกลุม
่ บริการทางเศรษฐกิจทีท
่ ยอยให ้ต่างชาติเข ้ามา
อุปสรรค

การแข่งขันสูงจากประเทศคูแ
่ ข่งทางการผลิตและการค ้าการใช ้ Labor
่ งทางให ้คนต่าว
ลงทุนได ้ถึง 70% ภายใต ้ AEC ทาให ้มีช
่ อ
Saving Technology มาชว่ ยในการลดต ้นทุนเพิม
่ ผลิตภาพและ
ชาติเข ้ามาทางานได ้มากขึน
้
ิ ธิภาพถ ้าปรับตัวได ้ชาอาจสู
้
ี ขีดความสามารถในการแข่งขัน
ประสท
ญเสย
 ประเทศไทยมี Land-link กับประเทศ CLMV ซงึ่ มีประชากร
วัยแรงงานมากกว่า 100 ล ้านคนทาให ้มีโอกาสขยายตัวทาง
เศรษฐกิจเกีย
่ วกับยานยนต์ได ้อีกมาก
ิ้ สว่ นยานยนต์ทด
 ไทยเป็ นศูนย์รวมการผลิตชน
ี่ แ
ี ละมีความ
หลากหลายและใกล ้แหล่งวัตถุดบ
ิ
11
ภาพรวมสถานการณ์ดา้ นแรงงานในอุตสาหกรรม
ิ้ สว
่ นอะไหล่ยานยนต์
ยานยนต์และชน
-
โครงสร้างกาล ังแรงงานในอุตสาหกรรมยานยนต์
-
ิ้ สว่ นอะไหล่ยาน
สถานการณ์ดา้ นแรงงานในอุตสาหกรรมยานยนต์และชน
ยนต์
ึ ษา
จานวนการจ้างแรงงานตามระด ับการศก
-
่ ณ
ห่วงโซค
ุ ค่า(Value Chain) ของอุตสาหกรรม
-
การคาดการณ์ความต้องการแรงงาน 2555 – 2563
-
ภาพความต้องการแรงงานในอนาคตและการขาดแคลนแรงงาน
ิ้ สว่ นอะไหล่ยานยนต์
แผนยุทธศาสตร์สมาคมผูผ
้ ลิตชน
-
-
ข้อเสนอแนะสาค ัญๆ
ึ ษาโครงการเตรียมความพร้อมการพ ัฒนากาล ังคนรองร ับการ
ผลการศก
ิ ค้า 9 สาขา ตามกรอบประชาคมเศรษฐกิจอาเซย
ี น
เปิ ดเสรีดา้ นการค้าสน
12
12
ิ้ สว
่ นของไทย
ทิศทางอุตสาหกรรมยานยนต์และชน
(2)
13
ทีม
่ า: ธนวัฒน์ คุ ้มสิน “อนาคตอุตสาหกรรมยานยนต์ไทยกับนโยบายภาษี และพลังงาน”, สมาคมอุตสาหกรรมยานยนต์ไทย, เมษายน 2555.
ิ้ สว
่ นของไทย
ทิศทางอุตสาหกรรมยานยนต์และชน
(3)
ทีม
่ า: ธนวัฒน์ คุ ้มสิน “อนาคตอุตสาหกรรมยานยนต์ไทยกับนโยบายภาษี และพลังงาน”, สมาคมอุตสาหกรรมยานยนต์ไทย, เมษายน 2555.
14
ิ้ สว
่ นของไทย
ทิศทางอุตสาหกรรมยานยนต์และชน
(4)
15
ทีม
่ า: ธนวัฒน์ คุ ้มสิน “อนาคตอุตสาหกรรมยานยนต์ไทยกับนโยบายภาษี และพลังงาน”, สมาคมอุตสาหกรรมยานยนต์ไทย, เมษายน 2555.
16
ทีม
่ า: วัชรัศมิ์ ลีละวัฒน์ “การค ้าและการลงทุนกับประเทศเพือ
่ นบ ้านภายใต ้กรอบอาเซียน”, สถาบันระหว่างประเทศเพือ
่ การค ้าและการพัฒนา (ITD),
2 เมษายน 2555.
โครงสร้างกาล ังแรงงานในกลุม
่ อุตสาหกรรมยานยนต์
(Labor Structure expectation)
ผูผ้ ลิต/ประกอบยานยนต์ (Manufacturer)
(16 บริษทั ผูผ้ ลิตรถยนต์, 7 บริ ษทั ผูผ้ ลิตรถจักรยานยนต์ )
กำลังแรงงำน/คน 100,000 workers
ผูผ้ ลิตชิ้นส่วน Tier 1
( 635 บริษทั )
275,000 workers
ผูผ้ ลิตชิ้นส่วน Tier 2,3
(2,000 บริษทั )
250,000 workers
Foreign
J/V
Foreign
Pure
Thai
Majority Majority Thai
23 %
30 %
47 %
Local
Suppliers
LSEs
วิสาหกิจ
ขนาดใหญ่
SMEs
วิสาหกิจขนาด
กลางและ
ขนาดย่อม
Total 700,000 workers
ผูผ้ ลิตชิ้นส่วนลาดับหนึ่ ง ( 1st tier)
เช่น เครื่องยนต์ เบรค ล้อรถยนต์ ระบบ
อิเล็กทรอนิ กส์ เป็ นต้น
ผูผ้ ลิตชิ้นส่วนลาดับสองและรองลงมา (2nd tier & lower tiers)
ผลิตภัณฑ์เครื่องจักรกลและโลหะการ พลาสติก ยาง เหล็ก
อิเล็กทรอนิ กส์ แก้วและกระจกเป็ นต้น
ข้อมูลจากสภาอุตสาหกรรมยานยนต์ฯ การ
17
สัมมนา เมื่อวันที่ 24 ก.ค.54
จานวนแรงงานของอุตสาหกรรมยานยนต์ และชิน
้ ส่ วน จาแนกตามระดับการศึกษา
จานวน (คน)
การผลิต
ยานยนต์
การผลิต
การผลิต
รถจักรยานย
ส่ วนประกอบ
นต์
2544
ต่ากว่ าประถมศึกษา
6,538
7,488
769
ประถมศึกษา
2,559
11,128
3,858
มัธยมต้ น
8,709
13,438
8,807
มัธยมปลาย
8,128
10,499
2,001
ปวช.
2,987
4,729
1,589
ปวส.หรื ออนุปริ ญญา
6,135
6,457
1,021
ตัง้ แต่ ปริ ญญาตรี ขน
ึ ้ ไป
3,789
8,250
862
ไม่ ทราบ
1,835
รวม
38,845
63,824
18,907
2553
ต่ากว่ าประถมศึกษา
1,463
8,619
2,552
ประถมศึกษา
2,084
11,266
2,768
มัธยมต้ น
7,775
35,616
3,968
มัธยมปลาย
7,158
55,412
4,207
ปวช.
6,828
23,003
1,139
ปวส.หรื ออนุปริ ญญา
6,291
21,221
ตัง้ แต่ ปริ ญญาตรี ขน
ึ ้ ไป
10,470
27,412
1,467
ไม่ ทราบ
472
499
509
รวม
42,541
183,048
16,610
ที่มา: ข้ อมูลการสารวจภาวะการทางานของประชากร ไตรมาส 3
ร้ อยละของสัดส่ วน
รวม
การผลิต
ยานยนต์
16.83
6.59
22.42
20.92
7.69
15.79
9.75
การผลิต
การผลิต
รถจักรยานย
ส่ วนประกอบ
นต์
14,795
17,545
30,954
20,628
9,305
13,613
12,901
1,835
121,576
100.00
11.73
17.44
21.05
16.45
7.41
10.12
12.93
2.88
100.00
12,634
16,118
47,359
66,777
30,970
27,512
39,349
1,480
242,199
3.44
4.90
18.28
16.83
16.05
14.79
24.61
1.11
100.00
4.71
6.15
19.46
30.27
12.57
11.59
14.98
0.27
100.00
4.07
20.41
46.58
10.58
8.40
5.40
4.56
100.00
15.36
16.66
23.89
25.33
6.86
8.83
3.06
100.00
รวม
12.17
14.43
25.46
16.97
7.65
11.20
10.61
1.51
100.00
5.22
6.65
19.55
27.57
12.79
11.36
16.25
0.61
18
100.00
โครงการการทบทวนการประยุกต์ใช้รปู แบบแผนการพัฒนากาลังคน
เพื่อรองรับความต้องการกาลังคนภาคอุตสาหกรรม
Value Chain ของอุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วน
19
ทีม่ ำ : สถำบันวิจยั เพือ่ กำรพัฒนำประเทศไทย (2549)
สถานการณ์แรงงานอุตสาหกรรมยานยนต์ในอนาคต
จากปัจจัยเรื่องการผลิตเพิ่มขึน้ ภาวะแรงงานขาดแคลน รวมทัง้ เหตุการณ์ สึนามิ
ทาให้บริษทั ในญี่ปนย้
ุ่ ายฐานการผลิตมายังภูมิภาคนี้ ซึ่งมีผลกับแรงงาน
1. Unskilled labor  Automatic machine (Automation)
2. Skilled labor  Automotive Industry มากขึ้น
3. ไทยเป็ นฐานการผลิตในภูมิภาค การเคลื่อนย้ายแรงงานเสรีในอนาคต unskilled labor
เคลื่อนย้ายมากกว่า
4. ความต้องการแรงงานประกอบจะเปลี่ยนเป็ นแรงงานด้านเทคนิ ค เช่น การบารุงรักษาเครื่องจักร,
การเขียนและปรับ Program, การปรับปรุงเครื่องจักรให้เหมาะสมกับงาน (ปัจจุบนั ขาดแคลน)
20
โดย สภาอุตสาหกรรมยานยนต์แห่งประเทศไทย (เพียงใจ แก้วสุวรรณ์ จากการสัมมนา 14 ก.ค.54)
คาดการณ์ แรงงานในอุตสาหกรรมชิน้ ส่ วนยานยนต์
ิ้ สว่ นอะไหล่
ข้อมูลจากสมาคมผูผ
้ ลิตชน
ั
ยานยนต์ จากการสมมนา
เมือ
่ ว ันที่ 14
ก.ค.54
ปี
จานวนผลิต
(ล้านค ัน)
จานวนคน
ทีต
่ อ
้ งใชใ้ น
การผลิต
Productivity
ในการผลิต
(ค ัน/คน/ปี )
2551
1.39
400,000
3.5
TOYOTA IMV
2553
1.6
457,000
3.5
ECO Car, Nissan, Ford Fiesta
2554
1.7
472,200
3.6
Eco Car : Honda
หมายเหตุ
2555
1.9
513,500
3.7
Ford เน ้นการผลิตเพือ
่ สง่ ออก
Eco Car : Mitsubishi, Suzuki
GM สง่ ออกรถ P/U
2556
2.10
552,600
3.8
Eco Car : Toyota
2557
2.20
564,100
3.9
Export > 1.3 Unit
2558
2.30
575,000
4.0
เปิ ดเสรีแรงงาน AEC
2563
>2.50
>600,000
~4.5
องค์ ประกอบสัดส่ วน
ของวุฒทิ ่ จี บการศึกษา
เป้ าหมายอยูใ่ นอันดับ Top 5
ของประเทศ (สง่ ออก)
ประกอบด้ วย 4 กล่ มย่ อย..... (1) ม 3, ม 6 = 50%, (2) ปวช. = 15%,
(3) ปวส = 15% และ (4) ปริญญาตรี = 10% {วิศวกร 7%, บัญชี/ธุรการ 2%, อื่นๆ 1%}
21
การขาดแคลนกาล ังคน
ข้อมูลจากสมาคมผูผ้ ลิตชิ้นส่วนอะไหล่ยานยนต์
จากการสัมมนา เมื่อวันที่ 14 ก.ค.54
เชงิ ปริมาณ
1. นักเรียน ปวช. เรียนต่อ ปวส. และต่อระดับมหาวิทยาลัยมากกว่า 70% ต่อปี ทาให ้เกิดการขาดแคลนแรงงานฝี มือ
2. ภาคอุตสาหกรรมขาดแคลนแรงงานทัง้ ในระดับกลางและสูง ซงึ่ จากการสารวจความต ้องการ
กาลังคนของ สอท. กลุม
่ อุตสาหกรรม 6 กลุม
่ มีความต ้องการกาลังคน ในระยะ 5 ปี ข ้างหน ้า (2554-2558) ซงึ่ เป็ น
ความต ้องการกาลังคนในระดับ ม3, ม 6 ร ้อยละ 52.89 ปวช. ปวส. ร ้อยละ 36 ปริญญาตรีเพียง 11%
ป.ตรี
รวมแรง
งานที่
ต้องการ
ใน 5 ปี
รวมแรง
งานทงั้
หมด
29,550
11,820
118,200
575,200
4,823
4,823
4,823
48,233
415,294
92,863
22,553
34,373
16,643
166,433
990,494
215,575
19,830
2,833
2,833
2,833
28,328
243,903
้
เครือ
่ งใชไฟฟ้
าและ
เครือ
่ งปรับอากาศ
252,573
18,935
12,443
14,607
8,115
54,101
306,674
รวม
468,148
38,765
15,276
17,440
10,948
82,429
550,577
ิ้
รวมทงส
ั้ น
1,292,209
131,628
37,829
51,813
27,591
248,862
1,541,071
ร้อยละ
-
52.89
15.2
20.82
11.09
100
ม.3, ม.6
ปวช.
ปวส.
ิ้ สว่ นฯ
ยานยนต์/ชน
457,000
59,100
17,730
เครือ
่ งจักรกลโลหะ
การ, จักรกล
การเกษตร, แม่พม
ิ พ์
,
367,061
33,763
รวม
824,061
อิเล็คทรอนิคส ์
Cluster
ยานยนต์
อุตสาหกรรม
Cluster
ไฟฟ้า
ความต้องการแรงงานรวม
5 ปี (2554-2558)
จานวน
แรงงาน
ปี 2553
22
-
ิ้ สว่ นอะไหล่ยานยนต์
แผนยุทธศาสตร์สมาคมผูผ
้ ลิตชน
ปี 2010 – 2020 (10 ปี ) กรอบระยะเวลาการดาเนิน
นโยบาย
Statement
แผนระยะสั้น (1-3 ปี )
2553-2555
ิ้ สว่ นอะไหล่
ข้อมูลจากสมาคมผูผ
้ ลิตชน
ั
ยานยนต์ จากการสมมนา
เมือ
่ ว ันที่ 14
ก.ค.54
แผนระยะกลาง (4-6 ปี ) แผนระยะยาว (7-10 ปี )
2555-2558
2559-2561
• เจ ้าหน ้าที่
พึ่งพาตนเอง
•กรรมการ
ั สว่ นการเข ้าร่วมกิจกรรม
• เพิม
่ สด
• Corporate Governance
• สร ้างเครือข่าย
เทคโนโลยีและนวัตกรรม
พัฒนาบุคลากร
• Standard & Lab test
• Process design
• มาตรฐานฝี มอ
ื แรงงาน
• การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานกาลังคน
• รับรองสมรรถนะฝี มอ
ื แรงงาน
(สถาบันคุณวุฒวิ ช
ิ าชีพ)
้ ส่วนยานยนต์
•
ศู
น
ย์
ว
จ
ิ
ย
ั
&
พั
ฒ
นาชิ
น
• สร ้างบุคลากรทางวิศวกร
• Training Center
• Product design, R&D
ให ้มีคณ
ุ ภาพ
การแข่งขันระดับโลก
• ภาษีวต
ั ถุดบ
ิ
พัฒนาผูป้ ระกอบการ
• Centralize procurement
• พีช
่ ว่ ยน ้อง
ส่งเสริมตลาดส่งออก
• TAPA
• MOU
• Mission ต่างประเทศ
• เข ้าร่วมประชุมนานาชาติ
• พัฒนาอุตสาหกรรมต ้นน้ า
• โครงสร ้างภาษีอต
ุ สาหกรรมยานยนต์
• Management
• Cluster
System Improvement
23
23
นโยบายภาครัฐเพื่อสนับสนุนอุตสาหกรรมยานยนต์
กระทรวงอุตสาหกรรม
- โครงการพัฒนาบุคลากรในอุตสาหกรรมยานยนต์ส่คู วามยังยื
่ น
พ.ศ. 2555-2564 (ระยะเวลา 10 ปี ) กรอบวงเงินรวม 2,167 ล้านบาท
- โครงการพัฒนาศูนย์ทดสอบยานยนต์ พ.ศ. 2555-2557 (ระยะเวลา 3 ปี )
กรอบวงเงินรวม 1,249.40 ล้านบาท
รวมทัง้ สิ้น 3,416.40 ล้านบาท
หมายเหตุ โครงการพมนาบุคลากรยานยนต์ฯ ได้รบั ความเห็นชอบจาก ครม. แล้ว
แต่ในปี พ.ศ.2555 ได้รบั การสนับสนุนงบประมาณเพียง 15 ล้านบาท จากที่ขอไว้ 80 กว่าล้านบาท
โครงการ Productivity ปี 2551-2555
วัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพและผลิตภาพของภาคอุตสาหกรรม
24
ข้อเสนอแนะสาค ัญ
ประเด็นสาคัญ การเพิ่ม Productivity ปี ละ 3% ติดต่อกัน 5 ปี = 15.7%
่ การใช ้ Robot, Up-grade
1. เพิม
่ การใช ้ Technology และเครือ
่ งจ ักรอ ัตโนม ัติ เชน
ิ ธิภาพการผลิตด ้วย Production
เครือ
่ งจักรเดิมให ้เป็ นระบบอัตโนมัตเิ พิม
่ ขึน
้ , เน ้นเพิม
่ ประสท
Control & Planning
้ รงงานระด ับล่างลดลง 20% เพิม
2. ลดการใชแ
่ เป็ นระดับ ปวช. และ ปวส. ปริญญาตรี
ึ ษาให้ยกระด ับสูงขึน
้ ด้านท ักษะและการเพิม
3. ต้องพ ัฒนาการอาชวี ศก
่ ความสามารถ (ทาง
ชา่ งฝี มอ
ื )
ึ ษาให ้เป็ นแนวทางของผู ้ผลิตชน
ิ้ สว่ น
3.1 ปรับปรุงหลักสูตรอาชวี ศก
ื่ มโลหะ
3.2 เพิม
่ นักเรียนอาชวี ะทางด ้านชา่ งเครือ
่ งมือกล, ชา่ งเครือ
่ งกลชา่ งแม่พม
ิ พ์, ชา่ งเชอ
อย่างน ้อยเพิม
่ ขึน
้ 2 เท่าภายใน 5 ปี
ั ้ สูง)
4. เพิม
่ คุณภาพในระด ับปริญญาตรี (บุคลากรด ้านเทคนิคชน
4.1 Creative Industry (new application, innovation)
4.2 Analyze & Design & Development (Value Creation)
4.3 Product & Process Design (Productivity - Up)
ทีม
่ า: กลุม
่ อุตสาหกรรมยานยนต์
25
ข้อเสนอแนะสาค ัญ (ต่อ)
5.
กระทรวงแรงงาน (กรมพ ัฒนาฝี มือแรงงาน)
- เพิม
่ การฝึ กอบรมให้พน ักงานระด ับล่าง
- เพิม
่ งบประมาณการฝึ กอบรม
ิ้ สว่ นภายใน 5 ปี
- จ ัดทามาตรฐานฝี มือแรงงานให้ครบทุกสาขาของผูผ
้ ลิตชน
่ เสริมโครงการศูนย์ฝึกอบรมภายในบริษ ัทให้เป็นรูปธรรม
- ให้การสน ับสนุนสง
ิ้ สว่ นฯ
- งบอบรมระด ับห ัวหน้างานและผูจ
้ ัดการของผูผ
้ ลิตชน
ิ้ สว่ น 25,000 คนในปี
- ลงทะเบียนแรงงานต่างด้าวเข้าทางานในอุตสาหกรรมชน
2558
6. กระทรวงอุตสาหกรรม
ิ้ สว่ นฯ
- เพิม
่ งบการพ ัฒนา Productivity ให้ก ับผูผ
้ ลิตชน
่ เสริม BOI ด้านเครือ
- ให้การสง
่ งจ ักรอ ัตโนม ัติ, ปร ับ Package สาหร ับผูผ
้ ลิต
้ รงงานต่างด้าว
ิ้ สว่ นฯ SMEs, การห้ามใชแ
ชน
ทีม
่ า: กลุม
่ อุตสาหกรรมยานยนต์
26
ข้อเสนอแนะที่สาคัญ (ต่อ)
ึ ษาให้ตรงเป้าหมาย
7) Skill labor จะต้องได้ร ับการพ ัฒนาเริม
่ ตงแต่
ั้
การศก
8) สร้างระบบมาตรฐานแรงงานฝี มือสอดคล้องก ับค่าตอบแทนเพือ
่ สร้าง
ึ ษาแบบเดิม
แรงจูงใจ แทนการยึดถือวุฒก
ิ ารศก
่ AHRDP
9) แผน HRD ต้องทาโดยต่อเนือ
่ ง เชน
10) สร้างสถาบ ันพ ัฒนาบุคลากรยานยนต์เพือ
่ รองร ับ/สร้าง skill labor
ี
11) ควรผล ักด ันให้มรี ะบบผลตอบแทนทีอ
่ งิ สมรรถนะ เพือ
่ เป็นหล ักประก ันอาชพ
ให้แรงงานมีฝีมือ
* เสมือน (หรือแทนการ) มีคา่ จ้างขนต
ั้ า่ และร ักษาบุคลากรกลุม
่ นีไ้ ว้ ไม่ให้
้ ักษะทางชา
่ ง ด ังนนจึ
ไปทางานทางบริหารทีไ่ ม่ใชท
ั้ งต้องมีรายได้ท ี่
เทียบเคียงก ับงานด้านบริหาร
่ กรมพ ัฒนาฝี มือ
12) พยายามใช ้ resource ทีม
่ ใี นปัจจุบ ันให้มป
ี ระโยชน์ เชน
่ าน ักงาน
แรงงานร ับผิดชอบเรือ
่ งการสอบและเป็นข้อมูลย้อนกล ับไปสูส
ึ ษาในการพ ัฒนาหล ักสูตร
อาชวี ศก
ทีม
่ า: เพียงใจ แก้วสุวรรณ นายกสมาคมอุตสาหกรรมยานยนต์ไทย, เสนอในสัมมนา 14 กรกฎาคม 2554 (7-10)
และยงยุทธ แฉล้มวงษ์และคณะโครงการการทบทวนการประยุกต์ใช้รูปแบบแผนการพัฒนากาลังคนเพือ่ รองรับความต้องการ
กาลังคนภาคอุตสาหกรรม (11-12)
27
ข้อเสนอแนะที่สาคัญ
13) จาเป็นต้องมีหน่วยงานกลางทาหน้าที่ accredit บุคลากร เพือ
่ ประสาน
ความร่วมมือระด ับทวิภาคี (ซงึ่ ปัจจุบ ันมีความร่วมมือสูงอยูแ
่ ล้ว)
่ ง ขณะทีใ่ น
14) การ Accredit ในระยะแรก อาจมีเฉพาะเรือ
่ งท ักษะทางชา
ระยะยาวต้องมีเรือ
่ งท ักษะการบริหารด้วย
15) การกาหนดอ ัตราผลตอบแทนให้แรงงานมีฝีมือ ควรสูงกว่าผูท
้ จ
ี่ บจาก
่ งแรกของชวี ต
้ ี่
ปริญญาตรีในชว
ิ การทางาน เพือ
่ ดึงดูดบุคลากรด้านนีท
้ สูร่ ะด ับบริหารได้ โดยไม่
ขาดแคลน และควรเปิ ดโอกาสให้สามารถขึน
ึ ษาระด ับปริญญาตรีขน
้ึ ไปเท่านน
จาเป็นต้องจบการศก
ั้
16) ควรให้สถาบ ันยานยนต์ทาหน้าทีเ่ ป็นหน่วยงานกลาง accredit เนือ
่ งจาก
มีความร่วมมือก ับทุกภาคสว่ น และมีความพร้อมอยูแ
่ ล้ว
ที่มา : ดร. ยงยุทธ แฉล้มวงษ์ และคณะโครงการการทบทวนการประยุกต์ใช้รูปแบบแผนการพัฒนากาลังคนเพื่อรองรับความ
28
ต้องการกาลังคนภาคอุตสาหกรรม
ข้อเสนอแนะที่สาคัญ (ต่อ)
17) ฐานข้อมูลความต้องการแรงงานในประเทศไทยต้องมีความแม่นยา
และท ันสม ัย เพือ
่ นาข้อมูลไปปร ับใชใ้ นการวางแผนพ ัฒนากาล ังคน
ิ ธิภาพ
ของอุตสาหกรรมยานยนต์ได้อย่างมีประสท
้ รงงานทีม
18) แรงงานในอุตสาหกรรมยานยนต์ตอ
้ งใชแ
่ ท
ี ักษะเฉพาะด้าน
ี่ วชาญสูง ด ังนน
และมีความเชย
ั้ ควรพ ัฒนาหล ักสูตรการฝึ กงาน โดย
ึ ษาควรทาความร่วมมือในการสง
่ น ักศก
ึ ษาฝึ กงานก ับ
สถาบ ันการศก
ผูป
้ ระกอบการทีม
่ ค
ี วามต้องการแรงงาน นอกจากการเปิ ดอบรมระยะ
ั้ ควรมีการฝึ กงานและการอบรมเชงิ ลึกให้ก ับสถานศก
ึ ษามากขึน
้
สน
ั ันธ์ในเรือ
19) การประชาสมพ
่ งของการเตรียมกาล ังแรงงานรองร ับ AEC
ั ันธ์ในเรือ
ย ังมีไม่มากน ัก เนือ
่ งจากการประชาสมพ
่ งของสว่ นได้สว่ น
ี ประโยชน์ และอุตสาหกรรมจะได้อะไรจากการเปิ ดเสรีการค้าย ัง
เสย
ั
ั ันธ์ให้มากกว่านี้
ไม่ชดเจน
ภาคร ัฐควรเพิม
่ การประชาสมพ
ทีม
่ า: กรมพ ัฒนาฝี มือแรงงานและสถาบ ันวิจ ัยเพือ
่ การพ ัฒนาประเทศไทย
29
กรอบยุทธศาสตร์การพ ัฒนากาล ังแรงงาน
ิ้ สว่ นอะไหล่ยานยนต์
ในอุตสาหกรรมยานยนต์และชน
30
30
บริบทการพ ัฒนากาล ังแรงงาน
การผลิ ตคนและพัฒนาแรงงาน
ระดับ
หลักสูตรการผลิ ตและพัฒนาแรงงาน
ระยะ
ยาว
ระยะ
สัน้
มาตรฐาน/การฝึ ก
ระดับอุดมศึกษำ มำตรฐำน/หลักสูตร
ระดับอุดมศึกษำ
กรอบมำตรฐำน
คุณวุฒ ิ
ระดับอุดมศึกษำ
แห่งชำติ (TQF)
มำตรฐำนวิชำชีพ
(ตำมสมำคมวิชำชีพ)/
มำตรฐำนฝีมอื แรงงำน
ระดับสูง
Professional
กำรพัฒนำ
ฝีมอื แรงงำน
มำตรฐำน/
หลักสูตร
ฝึกอบรม
ทดสอบ
รับรองมำตรฐำน
 นำยจ้ำง สถำน
 นำยจ้ำง สถำน
แรงงำนฝีมอื
Skilled
Workforce
 นำยจ้ำง สถำน


กำลังแรงงำน
ควำมต้องกำร
พัฒนำฝีมอื
ปริมำณ/คุณภำพ
 นำยจ้ำง สถำน


กำลังแรงงำน
ควำมต้องกำร
พัฒนำฝีมอื
ปริมำณ/คุณภำพ
 นำยจ้ำง สถำน
ประกอบกิจกำร
ประกอบกิจกำร
ประกอบกิจกำร
 แรงงำน
 แรงงำน
 แรงงำน


กำลังแรงงำน
ควำมต้องกำร
พัฒนำฝีมอื
ปริมำณ/คุณภำพ
 นำยจ้ำง สถำน
แรงงำนกึง่ ฝีมอื
Semi-skilled
Workforce
 นำยจ้ำง สถำน
ประกอบกิจกำร
ประกอบกิจกำร
ประกอบกิจกำร
 แรงงำน
 แรงงำน
 แรงงำน
- กำลังแรงงำน
- ควำมต้องกำร
พัฒนำฝีมอื
ปริมำณ/คุณภำพ
ระดับอำชีวะศึกษำ มำตรฐำน/หลักสูตร
อำชีวศึกษำ
คุณวุฒวิ ชิ ำชีพ (Thai
Vocational
Qualifications)
กลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์
กลุ่มผูป้ ระกอบ กลุ่มชิ้ นส่วนยาน กลุ่มศูนย์บริ การ
ยานยนต์
ซ่อมบารุง
ยนต์


กำลังแรงงำน
ควำมต้องกำร
พัฒนำฝีมอื
ปริมำณ/คุณภำพ
 นำยจ้ำง สถำน


กำลังแรงงำน
ควำมต้องกำร
พัฒนำฝีมอื
ปริมำณ/คุณภำพ
 นำยจ้ำง สถำน
ประกอบกิจกำร
ประกอบกิจกำร
ประกอบกิจกำร
 แรงงำน
 แรงงำน
 แรงงำน


กำลังแรงงำน
ควำมต้องกำร
พัฒนำฝีมอื
ปริมำณ/คุณภำพ


กำลังแรงงำน
ควำมต้องกำร
พัฒนำฝีมอื
ปริมำณ/คุณภำพ


กำลังแรงงำน
ควำมต้องกำร
พัมนำฝีมอื
ปริมำณ/คุ31ณภำพ
หล ักการสาค ัญในการจ ัดทาแผนฯ
หลักการสาคัญในการกาหนด “กรอบยุทธศาสตร์การพ ัฒนากาล ังแรงงานใน
ิ้ สว่ นอะไหล่ยานยนต์” เพือ
อุตสาหกรรมยานยนต์และชน
่ ให ้เกิดผล ดังนี้
1) การพ ัฒนาแรงงานและทร ัพยากรมนุษย์ กลุม
่ อุตสาหกรรมยานยนต์
ิ้ สว
่ นอะไหล่ยานยนต์ ให ้ตรงความความต ้องการของตลาด ผู ้ใชแรงงาน
้
และชน
นายจ ้าง
2) กาหนดแนวทาง/แผนระยะยาวเพือ
่ รองร ับปัญหาขาดแคลนแรงงานและเพิม
่
ผลิตภาพแรงงาน สาขายานยนต์อย่างเป็นระบบในอนาคต
3) สร้างความมน
่ ั ใจให้ก ับภาคเอกชน น ักลงทุน ในการขยายการดาเนินธุรกิจ
และ การลงทุนใหม่
4) สน ับสนุนนโยบายภาคร ัฐในการพ ัฒนากาล ังแรงงานของประเทศ เพือ
่
รองร ับการเป็นฐานการผลิตยานยนต์ และการแข่งข ันด้านอุตสาหกรรม
ยานยนต์โลกในอนาคต
5) สอดคล้องก ับนโยบายของร ัฐและกรอบยุทธศาสตร์การพ ัฒนาแรงงานและ
ี แห่งชาติ โดยคณะกรรมการการพ ัฒนาแรงงาน
ประสานงานการฝึ กอาชพ
ี แห่งชาติ (กพร.ปช.)
และประสานงานการฝึ กอาชพ
32
ข้อเสนอแนะเพิม
่ เติม (Guideline for implementation) การพ ัฒนากาล ัง
ี น ฐานการผลิตและการแข่งข ันด้าน
แรงงานรองร ับการเป็นประชาคมอาเซย
อุตสาหกรรมยานยนต์ของโลก
1.การกาหนดแนวทางการพัฒนากาลังแรงงานในกลุม
่ อุตสาหกรรม
ิ้ สว่ นอะไหล่ยานยนต์
ยานยนต์และชน
2. การวิเคราะห์เพือ
่ กาหนดความต ้องการผลิตและพัฒนาแรงงานเชงิ
ปริมาณ และ คุณภาพ ตามเป้ าหมายการผลิตของอุตสาหกรรมยาน
ยนต์
ึ ษาและรวบรวมข ้อมูลความต ้องการพัฒนาแรงงาน โดย
3. การศก
จาแนกประเภทความต ้องการพัฒนาแรงงานให ้ตรงความต ้องการของ
้
ตลาด ผู ้ประกอบกิจการ โรงงาน ผู ้ใชแรงงาน
(Demand side)
จาแนกความต ้องการพัฒนาแรงงานตามประเภทงาน ตาแหน่งงาน
ตามฤดูกาล ตามขนาดของกิจการ และความต ้องการพัฒนาแรงงาน
ประเภทอืน
่
33
ข้อเสนอแนะเพิม
่ เติม (Guideline for implementation )
ี น ฐานการ
การพ ัฒนากาล ังแรงงานรองร ับการเป็นประชาคมอาเซย
ผลิตและการแข่งข ันด้านอุตสาหกรรมยานยนต์ของโลก (ต่อ)
4. การปร ับปรุงและพ ัฒนาฐานข้อมูลความต้องการพ ัฒนาแรงงาน เพือ
่ เป็นข้อมูลให้
้ ระโยชน์ได้ ด ังนี้
หน่วยงานต่างๆ สามารถใชป
ึ ษา : สามารถกาหนดแนวทางในการผลิตคนให้มท
1) หน่วยงานภาคการศก
ี ักษะ
ตรงตามความต้องการของตลาด
2) หน่วยงานพ ัฒนาแรงงาน : สามารถกาหนดแนวทางการพ ัฒนาท ักษะ ยกระด ับ
ฝี มือแรงงาน ตามเกณฑ์มาตรฐานฝี มือแรงงาน
ี : กาหนดคุณภาพ หรือระด ับมาตรฐานของแรงงาน เพือ
3) สมาคม/สภาวิชาชพ
่ ใช ้
ในการพ ัฒนาแรงงาน
4) หน่วยงานภาคร ัฐ (กระทรวงแรงงาน) : วิเคราะห์ขอ
้ มูลประกอบการกาหนด
นโยบายการพ ัฒนาแรงงานอุตสาหกรรมยานยนต์ในภาพรวม
5) ภาคเอกชน : 1 มีขอ
้ มูลหน่วยฝึ กอบรมและพ ัฒนาทร ัพยากรมนุษย์ (HR) โดย
การสน ับสนุนจากเครือข่าย
2 แรงงานได้ร ับการพ ัฒนา ท ักษะ เพือ
่ เพิม
่ ผลิตภาพแรงงาน และ
ผลผลิตให้นายจ้าง สถานประกอบกิจการ
34
ข้อเสนอแนะเพิม
่ เติม (Guideline for implementation )
ี น ฐานการ
การพ ัฒนากาล ังแรงงานรองร ับการเป็นประชาคมอาเซย
ผลิตและการแข่งข ันด้านอุตสาหกรรมยานยนต์ของโลก (ต่อ)
5. การพ ัฒนาเครือข่ายพ ัฒนาแรงงานในกลุม
่ อุตสาหกรรม
ยานยนต์ : ประกอบด้วย 2 หน่วยงานหล ัก ได้แก่
1) หน่วยงานภาคผลิตและพ ัฒนากาล ังคนของ
ภาคร ัฐและเอกชน (Supply Side)
2) สถานประกอบกิจการ SME และ SelfEmployment (Demand Side) เพือ
่ บูรณาการความร่วมมือ
ในการพ ัฒนาแรงงานให้มท
ี ักษะตามความต้องการของ
ตลาดแรงงาน
6. การปรับเปลีย
่ นบทบาทของภาครัฐ เพือ
่ เป็ นผู ้สนับสนุน กากับ ดูแล
การพัฒนากาลังแรงงานรองรับการเปลีย
่ นแปลงและการแข่งขันใน
ระดับโลก โดยเฉพาะการเคลือ
่ นย ้ายแรงงานมีฝีมืออย่างเสรีใน
ภูมภ
ิ าค ASEAN
35
ั ัศน์และพ ันธกิจ
วิสยท
ั ัศน์
วิสยท
“ พ ัฒนากาล ังแรงงานด้านยานยนต์ไทยให้มม
ี าตรฐาน
สมรรถนะในระด ับโลก ”
พ ันธกิจ
1) เพิม
่ ผลิตภาพและพ ัฒนากาล ังแรงงานไทยในกลุม
่ อุตสาหกรรมยาน
ยนต์ให้ได้มาตรฐานสมรรถนะ
2) บูรณาการการผลิตและพ ัฒนากาล ังแรงงานในอุตสาหกรรมยาน
ยนต์ให้มเี อกภาพและให้เพียงพอ
ิ ธิภาพ
3) พ ัฒนาฐานข้อมูลและสร้างเครือข่ายพ ัฒนาแรงงานทีม
่ ป
ี ระสท
รองร ับการขยายต ัวของอุตสาหกรรมยานยนต์ไทย
4) พ ัฒนาทร ัพยากรมนุษย์และกาล ังแรงงานรองร ับการเป็นประชาคม
ี นและการแข่งข ันด้านอุตสาหกรรมยานยนต์ของโลก
เศรษฐกิจอาเซย
ในอนาคต
36
เป้าประสงค์เชงิ นโยบาย
ึ ษา ยกระด ับกาล ังแรงงานในตลาดแรงงานเพือ
1. พ ัฒนาทร ัพย์กรมนุษย์ในระบบการศก
่
ิ ธิภาพในสถานประกอบกิจการ โดย มุง
เพิม
่ ผลิตภาพแรงงานและประสท
่ เน้นการ
ิ้ สว่ นอะไหล่
พ ัฒนาตาม กลุม
่ เป้าหมายหล ัก 1)กลุม
่ ผูป
้ ระกอบยานยนต์ 2)กลุม
่ ชน
่ มบารุง
ยานยนต์ 3)กลุม
่ ศูนย์บริการซอ
2. สร้างเครือข่ายการผลิตและพ ัฒนาแรงงาน โดยภาคร ัฐ เอกชน กลุม
่ ยานยนต์อย่าง
เป็นระบบ เพือ
่ รองร ับการขยายต ัวของอุตสาหกรรมยานยนต์ของประเทศไทยใน
อนาคต จ ัดทาแผนพ ัฒนาเครือข่ายในระยะยาว รวมทงประเมิ
ั้
นผลการพ ัฒนากาล ัง
้ ที่ ทงเช
แรงงานในพืน
ั้
งิ ปริมาณ/คุณภาพ
ี /มาตรฐานฝี มือแรงงาน ยกระด ับสมรรถนะแรงงานไทย
3. เพือ
่ พ ัฒนามาตรฐานวิชาชพ
ให้ได้มาตรฐานสากล เพือ
่ เพิม
่ โอกาสในการสร้างรายได้และความมน
่ ั คงให้แก่
ิ ธิภาพให้แก่ผป
ลูกจ้าง และเพิม
่ ประสท
ู ้ ระกอบการไปพร้อมๆก ัน
ื่ มโยงข้อมูลตลาดแรงงาน ข้อมูลความต้องการ
4. เพือ
่ พ ัฒนาระบบฐานข้อมูลเพือ
่ เชอ
พ ัฒนาท ักษะฝี มือแรงงานในกลุม
่ ยานยนต์ และเครือข่ายพ ัฒนากาล ังแรงงาน
5. สร้างสถาบ ันพ ัฒนาบุคลากรยานยนต์ (HRD) เพือ
่ เป็นศูนย์กลางพ ัฒนาระบบบริหาร
่ เสริมการพ ัฒนาบุคลากรระด ับสูง ผูเ้ ชย
ี่ วชาญ
จ ัดการ การพ ัฒนากาล ังคน สง
น ักวิจ ัย และน ักออกแบบ
37
ั ัศน์ “ พ ัฒนากาล ังแรงงานด้านยานยนต์ไทยให้มม
วิสยท
ี าตรฐานสมรรถนะในระด ับโลก ”
พ ันธกิจที่ 1: เพิม
่
ผลิตภาพและพ ัฒนา
กาล ังแรงงานไทยใน
อุตสาหกรรมยาน
ยนต์
เป้าประสงค์ 1.
พ ัฒนาทร ัพย์กร
มนุษย์ในระบบ
ึ ษาและนอก
การศก
ึ ษา
ระบบการศก
ยุทธศาสตร์ 1
ผลิตและพ ัฒนากาล ัง
แรงงานให้มส
ี มรรถนะ
ในระด ับมาตรฐานสา
กล
พ ันธกิจที่ 2 : บูรณาการการ
ผลิตและพ ัฒนากาล ังแรงงาน
ในอุตสาหกรรมยานยนต์
อย่างเป็นเอกภาพและให้
เพียงพอ
เป้าประสงค์ 2.
สร้างเครือข่าย
พ ัฒนาแรงงาน
ภาคร ัฐ เอกชน กลุม
่
ยานยนต์อย่างเป็น
ระบบ
ยุทธศาสตร์ 2
พ ัฒนาเครือข่าย
เพือ
่ บูรณาการผลิต
และพ ัฒนากาล ัง
แรงงานให้เพียงพอ
พ ันธกิจที่ 3: พ ัฒนาฐานข้อมูล
พ ันธกิจที่ 4: พ ัฒนาทร ัพยากร
และสร้างเครือข่ายพ ัฒนา
มนุษย์และกาล ังแรงงานรองร ับ AEC
แรงงานรองร ับการขยายต ัว
และการแข่งข ันด้านอุตสาหกรรม
ของอุตสาหกรรม
ยานยนต์ของโลกในอนาคต
เป้าประสงค์ 3.
เพือ
่ พ ัฒนามาตรฐาน
ี /มาตรฐาน
วิชาชพ
ฝี มือแรงงาน ยกระด ับ
สมรรถนะแรงงานไทย
ยุทธศาสตร์ 3
พ ัฒนามาตรฐาน
ี มาตรฐาน
วิชาชพ
ฝี มือแรงงานและ
มาตรฐานสมรรถนะ
เป้าประสงค์ 4. เพือ
่
พ ัฒนาระบบฐานข้อมูล
ื่ มโยงข้อมูล
เพือ
่ เชอ
ความต้องการพ ัฒนา
ท ักษะฝี มือแรงงาน
ยุทธศาสตร์ 4
พ ัฒนาระบบฐานข้อมูล
ื่ มต่อตลาด
เพือ
่ เชอ
แรงงานและความ
ต้องการพ ัฒนา
ท ักษะฝี มือแรงงาน
เป้าประสงค์ 5
สร้างสถาบ ันพ ัฒนา
บุคลากร (HRD) ยาน
ยนต์เพือ
่ พ ัฒนา
ทร ัพยากรมนุษย์ดา้ น
ต่างๆ
ยุทธศาสตร์ 5
พ ัฒนาระบบพ ัฒนา
กาล ังคนเพือ
่ รองร ับ
AECและรองร ับการ
แข่งข ันในเวทีโลก
38
กรอบยุทธศาสตร์การพ ัฒนากาล ังแรงงาน
ิ้ สว
่ นอะไหล่ยานยนต์
ในอุตสาหกรรมยานยนต์และชน
พ ัฒนาระบบบริหารจ ัดการ
การพ ัฒนากาล ังคน สร้าง
สถาบ ันพ ัฒนาบุคลากรยาน
่ เสริมการพ ัฒนา
ยนต์ HR สง
ี่ ชาญ
บุคลากรระด ับสูง ผูเ้ ชย
น ักวิจ ัย
1)สร้างเครือข่ายการ
ผลิตและพ ัฒนาแรงงาน
ภาคร ัฐ เอกชน กลุม
่ ยาน
ยนต์
2)พ ัฒนาและยกระด ับ
เครือข่ายพ ัฒนาแรงงาน
เพือ
่ รองร ับการขยายต ัว
ของอุตสาหกรรม
3)จ ัดทาแผนพ ัฒนา
เครือข่ายในระยะยาว
4)ประเมินผลการพ ัฒนา
้ ที่ เชงิ
กาล ังแรงงานในพืน
ปริมาณ/คุณภาพ
ยุทธศาสตร์ 5
พ ัฒนาระบบพ ัฒนา
กาล ังคน รองร ับ AEC
และการแข่งข ันใน
ตลาดโลก
ยุทธศาสตร์ 2
พ ัฒนาเครือข่าย
เพือ
่ บูรณาการ
ผลิตและพ ัฒนา
กาล ังแรงงานให้
เพียงพอทงั้
ปริมาณและ
คุณภาพ
ยุทธศาสตร์ 3
ี /
พ ัฒนามาตรฐานวิชาชพ
มาตรฐานฝี มือแรงงาน/
มาตรฐานสมรรถนะ
การพ ัฒนา
กาล ัง
แรงงาน
ี /
พ ัฒนามาตรฐานวิชาชพ
มาตรฐานฝี มือแรงงาน และ
มาตรฐานสมรรถนะเพือ
่ ยกระด ับ
ฝี มือแรงงานไทยและเพิม
่ โอกาส
ในการสร้างรายได้ ให้แก่ลก
ู จ้าง
และเพิม
่ ผลผลิตให้แก่
ผูป
้ ระกอบการ
ยุทธศาสตร์ 4
พ ัฒนาระบบฐานข้อมูล
่ มต่อตลาด
เพือ
่ เชือ
แรงงานและความ
ต้องการพ ัฒนา
ท ักษะฝี มือแรงงาน
พัฒนาระบบฐานข ้อมูลเพือ
่
ื่ ม ต่อตลาดแรงงานและ
เชอ
ความต ้องการพัฒนาทักษะ
้
ฝี มอ
ื แรงงานเพือ
่ ใชประกอบ
เป็ นข ้อมูลในการบริหารจัดการ
ผลิตและพ ัฒนาฝี มือแรง
งาน
ยุทธศาสตร์ 1
ผลิตและพ ัฒนากาล ังแรงงานให้มส
ี มรรถนะ
ในระด ับมาตรฐานสากล
ึ ษา กาล ังแรงงานใน
พ ัฒนาทร ัพย์กรมนุษย์ในและนอกระบบการศก
ตลาด แรงงาน เพือ
่ เพิม
่ ผลิตภาพแรงงานในสถานประกอบกิจการโดย
มุง
่ เน้นการพ ัฒนา ตามกลุม
่ เป้าหมายหล ัก 1)กลุม
่ ผูป
้ ระกอบยานยนต์
ิ้ สว่ นอะไหล่ยานยนต์ 3)กลุม
่ มบารุง
2)กลุม
่ ชน
่ ศูนย์บริการซอ
39
1
ยุทธศาสตร์ท ี่ 1 ผลิตและพ ัฒนากาล ังแรงงาน
ให้มส
ี มรรถนะในระด ับมาตรฐานสากล
ึ ษา
เป้าประสงค์ 1. เพือ
่ พ ัฒนาทร ัพย์กรมนุษย์ในระบบการศก
ึ ษาให้สามารถตอบสนอง
และนอกระบบการศก
ิ้ สว่ น
ความต้องการของกลุม
่ ยานยนต์และชน
อะไหล่ยานยนต์
40
เป้าประสงค์ ยุทธศาสตร์ท ี่ 1
1) หน่ วยงานภาคกำรศึกษำและพัฒนำแรงงำน สำมำรถผลิตคน ฝึ กอาชีพ และพัฒนาฝี มือแรงงานในกลุ่ม
อุตสาหกรรมยานยนต์ ได้ตรงกับความต้องการของตลาดแรงงาน ผูใ้ ช้แรงงาน นายจ้าง สถาน
ประกอบกิจการ โรงงาน
2) เพื่อให้ภาคีต่างๆได้รบั ประโยชน์ ดงั นี้
1 แรงงานในกลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์ แรงงำนในสถำนประกอบกิจกำร ผูใ้ ช้แรงงำน ได้รบั
กำรพัฒนำทักษะฝีมอื ทัง้ ในเชิงปริมำณและคุณภำพ มีแรงงำนมีฝีมอื ไหลเข้ำสูต่ ลำดแรงงำน ตรงตำม
ควำมต้องกำรของนำยจ้ำงและสถำนประกอบกิจกำร
2 หน่ วยงานภาคการศึกษาและพัฒนาแรงงานภาครัฐและเอกชน
1) สำมำรถผลิตคนในเชิงปริมำณและเชิงคุณภำพสอดคล้องกับควำมต้องกำรของตลำด
2) สำมำรถประสำนควำมร่วมมือกับหน่วยงำนภำคกำรศึกษำ พัฒนำฝีมอื แรงงำนในกำรผลิตและพัฒนำ
กำลังคนในช่วงเวลำทีเ่ หมำะสม ป้องกันกำรผลิตทีซ่ ้ำซ้อนและเกินควำมต้องกำรของตลำด หรือกำร
ผลิต/พัฒนำแรงงำนทีไ่ ม่ได้คุณภำพตำมควำมต้องกำรของตลำดแรงงำน
3 กรมพัฒนาฝี มือแรงงาน พัฒนำ ยกระดับฝีมอื แรงงำน ในพืน้ ที่ และในสถำนประกอบกิจกำร ได้ตรง
ตำมควำมต้องกำรของกลุม่ อุตสำหกรรมยำนยนต์ ได้แก่ 1) กลุม่ ผูป้ ระกอบยำนยนต์ 2) กลุม่ ชิน้ ส่วนและ
41
อะไหล่ยำนยนต์ 3) กลุม่ ศูนย์บริกำรและซ่อมบำรุง
รูปแบบการพ ัฒนาท ักษะฝี มือแรงงาน
ด้านอุปสงค์
้
โดยทั่วไปผู ้ใชแรงงานและลู
กจ ้างทีต
่ ้องการพัฒนาฝี มือแรงงานให ้ตนเอง จะเน ้นการพัฒนาทักษะ
ฝี มือแรงงานโดย เดินเข ้าไปในหน่วยฝึ กอบรมและพัฒนาฝี มือแรงงานของภาครัฐ และเอกชน สถาน
ฝึ กอบรมต่างๆ ด ้วยตนเอง จึงแตกต่างจากความต ้องการพัฒนาทักษะฝี มือแรงงานของฝ่ ายนายจ ้าง ที่
มุง่ เน ้นการพัฒนาฝึ กอบรมตามความเหมาะสมของสถานประกอบการ ซงึ่ ความต ้องการพัฒนาแรงงานของ
นายจ ้างมีรป
ู แบบทีห
่ ลากหลายแตกต่างกันไปตามความต ้องการพัฒนาทักษะฝี มือในเชงิ คุณภาพและ
ปริมาณ หรือตามประเภทของพนักงาน ตาแหน่งงาน (Job) ชว่ งระยะเวลาทีเ่ หมาะสม (Season) การ
ฝึ กอบรมตาม พรบ.สง่ เสริมการพัฒนาฝี มือแรงงาน เป็ นต ้น
ด้านอุปทาน
้ จาก
หน่วยงานพ ัฒนาฝี มือแรงงานจึงควรจะควรมีแผนพ ัฒนาทร ัพยากรมนุษย์ ทีจ
่ ัดทาขึน
ความต้องการ (Demand) ของนายจ้างหรือสถานประกอบกิจการซงึ่ อาจกาหนดได้ด ังนี้
1 แผนการฝึ กเชงิ คุณภาพ/ปริมาณ ตามกลุม
่ เป้ าหมาย ได ้แก่ 1) กลุม
่ ผู ้ประกอบยานยนต์
ิ้ สว่ นยานยนต์ 3) กลุม
่ มบารุง โดยเน ้นการฝึ กเพิม
2) กลุม
่ ชน
่ ศูนย์บริการซอ
่ สมรรถนะ
่ จาแนกตามประเภทหลักสูตร เทคนิค เครือ
เฉพาะด ้านทีจ
่ าเป็ นต่อการทางาน เชน
่ งจักร เป็ นต ้น
่ ระดับชา่ งเทคนิค หัวหน ้างาน
2 แผนการฝึ กจาแนกตามระดับทักษะ ฝี มอ
ื ตาแหน่งงาน เชน
ผู ้ชานาญการ
่ นิคมอุตสาหกรรม โรงงาน พืน
3 แผนการฝึ กจาแนกตามพืน
้ ที่ เชน
้ ทีภ
่ าค/จังหวัดทีม
่ ค
ี วาม
ต ้องการพัฒนาแรงงาน (เครือข่ายพัฒนากาลังแรงงานเป็ นกลไกหลักในการฝึ ก)
4 แผนการฝึ กจาแนกตามขนาดของสถานประกอบกิจการ วิสาหกิจขนาดใหญ่ กลาง และ SME
5 แผนการฝึ กจาแนกตามชว่ งเวลาหรือฤดูกาล ตามความเหมาะสมของสถานประกอบกิจการ
42
6 แผนการฝึ กตามคาร ้องขอของนายจ ้าง โดยหลายๆบริษัทอาจรวมกลุม
่ เพือ
่ ขอให ้ภาครัฐเปิ ด
ฝึ กอบรมรุน
่ พิเศษให ้พนักงานของตน
ยุทธศาสตร์ท ี่ 1 ผลิตและพ ัฒนากาล ังแรงงานให้มส
ี มรรถนะในระด ับ
มาตรฐานสากล
ึ ษา ยกระด ับ
เป้าหมาย : พ ัฒนาทร ัพย์กรมนุษย์ทงในและนอกระบบการศ
ั้
ก
ฝี มือเพิม
่ ท ักษะให้กาล ังแรงงานในตลาดแรงงานให้ได้มาตรฐาน
สอดคล้องก ับความต้องการ และเพิม
่ ผลิตภาพแรงงานในสถานประกอบ
กิจการ
กลยุทธ์/แผนงาน:
1.การพัฒนากาลังคนทีส
่ อดคล ้องกับความต ้องการของตลาดแรงงาน(Demand side)
2.กลยุทธ์การเพิม
่ ผลิตภาพแรงงาน
43
ยุทธศาสตร์ท ี่ 1 ผลิตและพ ัฒนากาล ังแรงงานให้มส
ี มรรถนะในระด ับ
มาตรฐานสากล
กลยุทธ์/แผนงาน: การพัฒนากาลังคนทีส
่ อดคล ้องกับความต ้องการของ
ตลาดแรงงาน(Demand side)
ข้อเสนอแนะเชงิ กลยุทธ์
ึ ษา (ภาคร ัฐ/เอกชน)
1. หน่วยงานการศก
ึ ษา การศก
ึ ษาตามอัธยาศย
ั ร่วมมือกับภาคเอกชน สมาคมฯ เพือ
1) อาชวี ศก
่ จัดทาโครงการโรงเรียนในโรงงาน
ื่ ม เพิม
2) จัดทาแผนการผลิตชา่ งเทคนิค ชา่ งยนต์ ชา่ งกลึงโลหะ ชา่ งเครือ
่ งกล และชา่ งเชอ
่ ขึน
้ 30% ภายใน 5 ปี
ึ ษา
3) สง่ เสริมให ้นักเรียนหญิง เข ้าสูร่ ะบบการเรียนอาชวี ศก
ึ ษา เพิม
ี่ วชาญด ้านวิศวกรรมยานยนต์ชน
ั ้ สูง
4) อุดมศก
่ เป้ าการผลิต นักออกแบบ วิจัย ผู ้เชย
2. การพ ัฒนาท ักษะฝี มือแรงงาน
5) จัดทาแผนพัฒนาฝี มือแรงงานตามความต ้องการ (Demand) พัฒนาทักษะฝี มือแรงงานของนายจ ้าง สถานประกอบ
้
ิ้ สว่ นอะไหล่ยานยนต์
กิจการ และผู ้ใชแรงงานที
ต
่ ้องการเพิม
่ ทักษะฝี มือด ้านยานยนต์ และชน
6) ฝึ กยกระดับทักษะฝี มือแรงงานและเพิม
่ การอบรม 9 พฤติกรรม 9 ความสาเร็จ ในสถานประกอบกิจการ (โรงเรียนใน
โรงงาน) โดยเครือข่ายพัฒนาฝี มือแรงงาน
ี แรงงาน เพือ
ื่ ม
7) มุง่ เน ้นการฝึ กเปลีย
่ นสาขาอาชพ
่ เพิม
่ ปริมาณ ชา่ งเทคนิค ชา่ งยนต์ ชา่ งเครือ
่ งกลโรงงาน และชา่ งเชอ
8) เพิม
่ การทดสอบมาตรฐานฝี มือแรงงาน ในสถานประกอบกิจการ โรงงาน ในเครือข่าย
9) สง่ เสริม สนับสนุน การทดสอบและรับรองมาตรฐานฝี มือแรงงาน ในสถานประกอบกิจการ โรงงาน
10) เพิม
่ การฝึ กยกระดับฝี มือแรงงานระดับสูง ในสถานประกอบกิจการ ให ้มีทักษะสูงอย่างต่อเนือ
่ ง
44
กลยุทธ์/แผนงาน: การพ ัฒนากาล ังคนทีส
่ อดคล้องก ับความต้องการของ
ตลาดแรงงาน(Demand side)
(ร่าง) กิจกรรม/ โครงการ
1.
การพ ัฒนาหล ักสูตรด้านยานยนต์ให้มค
ี วามท ันสม ัย
1) พัฒนาหลักสูตรการฝึ กยกระดับฝี มอ
ื แรงงานระดับสูง และทบทวน/ปรับปรุงหลักสูตรทุก 1 หรือ 2 ปี
2) จัดทาหลักสูตรสนทนาภาษาอังกฤษในโรงงานสาขายานยนต์
ื่ การฝึ กด ้านยานยนต์ ภาษาอังกฤษ และภาษาอาเซย
ี น ไว ้ในฐานข ้อมูลเครือข่ายพัฒนา
3) พัฒนาสอ
แรงงาน ด ้านยานยนต์
2. ยกระด ับฝี มือแรงงาน
1) ฝึ กยกระดับ ทดสอบ รับรองมาตรฐานฝี มอ
ื แรงงานระดับสูง High - Multi skill ในสถานประกอบ
กิจการ
ั ้ สูง จากภาคเอกชน
2) ฝึ กอบรม ความรู ้ด ้านเทคโนโลยี นวัตกรรมยานยนต์สมัยใหม่ โดยวิทยากรชน
และต่างประเทศ
3) ฝึ กยกระดับด ้านภาษา โดยมุง่ เน ้นให ้พนักงานออฟฟิ ศ เจ ้าหน ้าทีใ่ นโรงงาน สนทนาภาษาอังกฤษ
ั ดาห์ (เชน
่ โครงการ Saturday English สนทนา
ในระหว่างการปฏิบัตงิ านจริงอย่างน ้อย 1 วัน/สป
่ ภาษาญีป
ภาษาอังกฤษเฉพาะ วันศุกร์-เสาร์) และฝึ กภาษาอืน
่ เชน
่ น
ุ่ ภาษาเกาหลีเพิม
่ เติม
ั อุตสาหกรรม
4) ฝึ กอบรม 9 พฤติกรรม 9 ความสาเร็จ ในสถานประกอบกิจการโรงงาน เพือ
่ สร ้างนิสย
45
กลยุทธ์/แผนงาน: การพัฒนากาลังคนทีส
่ อดคล ้องกับความต ้องการของ
ตลาดแรงงาน (Demand side)
(ร่าง) กิจกรรม/ โครงการ
ี่ วชาญ
3. การพ ัฒนาผูป
้ ฏิบ ัติงานในสถานประกอบกิจการให้เป็นบุคลากรผูช
้ านาญงานและผูเ้ ชย
โดยระบบร ับรองความสามารถ
3.1 ฝึ กยกระดับผู ้ปฏิบัตงิ านในโรงงาน ให ้ได ้มาตรฐานฝี มอ
ื แรงงานเทียบเท่าชา่ งเทคนิคระดับสูง
ี่ วชาญ
3.2 ฝึ กยกระดับหัวหน ้าชา่ งในโรงงาน ให ้ได ้มาตรฐานฝี มอ
ื แรงงานเทียบเท่าผู ้เชย
3.3 ฝึ กยกระดับหัวหน ้าชา่ งในโรงงาน ให ้เป็ นวิทยากร ผู ้ฝึ กสอน ผู ้ถ่ายทอด Expert และทดสอบ/
ี มาตรฐานฝี มอ
รับรอง มาตรฐานโดยระบบรับรองความสามารถ คุณวุฒวิ ช
ิ าชพ
ื แรงงาน
่ เสริมการพ ัฒนาฝี มือแรงงาน
4. การสง
4.1 จัดตัง้ คณะอนุกรรมการพัฒนากรอบยุทธศาสตร์พัฒนากาลังแรงงานในอุตสาหกรรมยานยนต์และ
ิ้ สว่ นอะไหล่ยานยนต์ เพือ
ชน
่ จัดทาข ้อเสนอแนะประจาปี ด ้านการพัฒนาฝี มอ
ื แรงงานจาก
ผู ้ประกอบการกลุม
่ ยานยนต์ ลูกจ ้าง หน่วยงานทีเ่ กีย
่ วข ้อง เพือ
่ นาข ้อเสนอแนะเสนอต่อ
ี แห่งชาติ (กพร.ปช.) (ดาเนินการแล ้ว)
คณะกรรมการพัฒนาแรงงานและประสานงานการฝึ กอาชพ
ิ ธิประโยชน์ให ้เข ้มข ้นมากกว่าเดิม (TAX Intensive) ลดภาษี
4.2 สนับสนุนมาตรการด ้านภาษี และสท
้
เครือ
่ งจักร เครือ
่ งมือทีใ่ ชในการพั
ฒนาฝี มอ
ื แรงงานให ้สถานประกอบกิจการทีม
่ ก
ี ารพัฒนาฝี มือ
แรงงาน จัดฝึ กอบรม นายจ ้าง ลูกจ ้าง
4.3 ปรับปรุงหลักเกณฑ์การใชจ่้ ายเงินกองทุนพัฒนาฝี มอ
ื แรงงาน ให ้สามารถนาไปใชจ่้ ายในกิจกรรม
โครงการต่างๆ เพือ
่ เป็ นการสนับสนุนการพัฒนาฝี มอ
ื แรงงานให ้ครอบคลุมและทั่วถึง
ผูร้ ับผิดชอบหล ัก กรมพ ัฒนาฝี มือแรงงาน
46
กลยุทธ์/แผนงาน: การพัฒนากาลังคนทีส
่ อดคล ้องกับความต ้องการของ
ตลาดแรงงาน (Demand side)
(ร่าง) กิจกรรม/ โครงการ
ึ ษา
5. การพ ัฒนาทร ัพยากรมนุษย์ภาคการศก
ึ ษา ทีม
5.1 จัดทาแผนการพัฒนาการผลิตทรัพยากรมนุษย์ภาคการศก
่ เี ป้ าหมายสอดคล ้องกับ
ความต ้องการแรงงานของตลาด ระยะ 5 ปี
5.2 เพิม
่ ทักษะความรู ้ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ให ้ผู ้เรียน ระดับ ปวช. คิดวิเคราะห์
ึ ษา คิด
เบือ
้ งต ้นได ้ ระดับ ปวส. คิดวิเคราะห์และคิดเชงิ สร ้างสรรค์ได ้ ระดับอุดมศก
สร ้างสรรค์ สร ้างนวัตกรรม และวางแผนงานได ้
ื่ การสอน ด ้านยานยนต์และเทคโนโลยีชน
ั ้ สูง ภาษาไทย/
5.3 พัฒนาหลักสูตร และสอ
ี น และทบทวน/ปรับปรุงทุก 1 หรือ 2 ปี
อังกฤษ /อาเซย
ี การเทียบโอนประสบการณ์ ทดสอบ รับรอง คุณวุฒวิ ช
ี
5.4 พัฒนาระบบคุณวุฒวิ ช
ิ าชพ
ิ าชพ
เพือ
่ สร ้างโอกาสและรายได ้ให ้แก่ลก
ู จ ้าง/แรงงาน
ผูร้ ับผิดชอบหล ัก
ึ ษาธิการ
กระทรวงศก
47
กลยุทธ์/แผนงาน: . กลยุทธ์การเพิม
่ ผลิตภาพแรงงาน
(ร่าง) กิจกรรม/โครงการ
1. โครงการพัฒนาบุคลากรในอุตสาหกรรมยานยนต์สค
ู่ วามยัง่ ยืน
(โดยสานักเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม)
2. ฝึ กอบรมพัฒนาบุคลากรด ้านบริหารจัดการ หัวหน ้างาน ด ้วย
หลักสูตรการพัฒนาและปรับปรุงงาน
3. จัดทาโครงการวิเคราะห์และพัฒนาองค์ประกอบ SQCDME
ของการเพิม
่ ผลิตภาพแรงงานในสถานประกอบกิจการ ด ้านยานยนต์
้ นแนวทางการเพิม
เพือ
่ ใชเป็
่ ผลิตภาพให ้ภาครัฐ เอกชน และ
หน่วยงานอืน
่ ๆ (S=Safety Q=Quality C=Cost D=Delivery
M=Management E=Engineer)
ผูร้ ับผิดชอบหล ัก
สถาบ ันเพิม
่ ผลผลิตแห่งชาติและกระทรวง
อุตสาหกรรม
48
2
ยุทธศาสตร์ท ี่ 2 พ ัฒนาเครือข่ายเพือ
่ บูรณาการ
ผลิตและพ ัฒนากาล ังแรงงานให้เพียงพอ
49
เป้ าประสงค์ ยุทธศาสตร์ที่ 2
พัฒนาเครือข่ายอย่างน้ อยประกอบด้วย ภาคเอกชน (Demand Side) และภาครัฐ (กระทรวงแรงงาน และ
กระทรวงศึกษาธิการ) (Supply Side)
่ ยให้แรงงานในสงั กัดได ้รับการพัฒนาฝี มือแรงงานทีม
1. นายจ้างภาคเอกชน: ชว
่ ค
ี ณ
ุ ภาพและมาตรฐานตรงตามที่
นายจ ้างต ้องการ เพิม
่ ผลิตภาพและผลิตผล สร ้างกาไรและลดค่าใชจ่้ าย ต ้นทุนแก่นายจ ้าง สถานประกอบกิจการ
ิ ธิประโยชน์
2. ลูกจ้างเอกชน : ได ้รับการพัฒนาทักษะฝี มือตามทีต
่ ้องการ เพือ
่ เพิม
่ โอกาสในการสร ้างรายได ้และได ้รับสท
ึ ษาและหน่วยงานพ ัฒนาแรงงาน (Supply side)
2) ภาคการศก
ิ้ สว่ นยานยนต์
1. เป็ นเครือข่ายหลักในการพัฒนากาลังแรงงานในอุตสาหกรรมยานยนต์และชน
2. จัดทา/ปรับปรุงหลักสูตรและกาหนดปริมาณการผลิตและพัฒนากาลังคนให ้สอดคล ้องกับความต ้องการของนายจ ้าง
ั เจนจากนายจ ้าง
เนือ
่ งจากมีข ้อมูลความต ้องการพัฒนากาลังคนทีช
่ ด
3. ผลิตและพัฒนากาลังคนตรงตามเป้ าหมาย สอดคล ้องกับความต ้องการพัฒนาแรงงานทัง้ ในเชงิ ปริมาณและคุณภาพ
ของแต่ละพืน
้ ที่ สามารถรองรับความต ้องการพัฒนาแรงงานในระยะยาว
4. สามารถประสานความร่วมมือกันระหว่างองค์กรในเครือข่าย เพือ
่ จัดบุคลากรไปฝึ กอบรม เพิม
่ ทักษะให ้แก่นายจ ้าง
ลูกจ ้าง สถานประกอบกิจการในเครือข่าย ทีร่ ้องขอและแจ ้งความต ้องการพัฒนาฝี มือแรงงาน
3) กรมพ ัฒนาฝี มือแรงงาน กระทรวงแรงงาน (Supply side)
1) ได ้รับข ้อมูลความต ้องการพัฒนาแรงงานของนายจ ้าง ลูกจ ้าง ในแต่ละพืน
้ ที่ ทีเ่ ป็ นประโยชน์ตอ
่ การพัฒนาหลักสูตรการ
พัฒนาฝี มือแรงงาน และจัดทาแผนการฝึ กในชว่ งเวลาทีเ่ หมาะสมได ้
2) พัฒนาฝี มือแรงงานได ้ตรงตามกลุม
่ เป้ าหมาย เป็ นไปตามความต ้องการนายจ ้าง ลูกจ ้าง สอดคล ้องกับนโยบายของรัฐ
และยุทธศาสตร์การพัฒนากาลังคนในพืน
้ ทีจ
่ ังหวัด
50
ิ้ สว่ นอะไหล่ยานยนต์อย่างเป็ นระบบและมีทศ
3) บริหารจัดการแรงงานต่างด ้าวในอุตสาหกรรมยานยนต์และชน
ิ ทางเดียวกัน
ยุทธศาสตร์ท ี่ 2 พ ัฒนาเครือข่ายเพือ
่ บูรณาการ ผลิตและพ ัฒนากาล ัง
แรงงานให้เพียงพอ (ทงเช
ั้ งิ ปริมาณและคุณภาพ)
เป้าหมาย :สร ้างเครือข่ายในการผลิตและพัฒนากาลังแรงงาน ประกอบด ้วย
ี สถานประกอบกิจการ
หน่วยงานพัฒนากาลังคน ภาครัฐและเอกชน สมาคมวิชาชพ
นายจ ้าง ลูกจ ้าง เพือ
่ พัฒนา ทักษะ ฝี มือ ทดสอบ รับรองความสามารถ รองรับการ
ขยายตัวของอุตสาหกรรม และขับเคลือ
่ นการพัฒนากาลังคนในกลุม
่ อุตสาหกรรม
ยานยนต์ในแต่ละพืน
้ ที่ ตามเป้ าหมาย
กลยุทธ์/แผนงาน
การพ ัฒนาเครือข่ายพ ัฒนากาล ังแรงงานในกลุม
่ อุตสาหกรรมยานยนต์
51
โครงสร้างเครือข่ายการพ ัฒนากาล ังคนในกลุม
่ อุตสาหกรรมยานยนต์
Demand Side
Supply Side
โรงงาน/
สถานประกอบกิจการ
สมาคมวิชาชีพ
หน่ วยงานฝึ ก
ภาคเอกชน
กระทรวงศึกษาธิการ
สมาคมยานยนต์และ
ิ้ สว่ น
ชน
อะไหล่ยานยนต์
ข้อมูลควำมต้องกำร
แรงงำน
กระทรวงแรงงาน
กระทรวงอุตสาหกรรม
สภา / หน่ วยงานอื่น
ที่เกี่ยวข้อง
สถานศึกษา/
หน่ วยฝึ กสังกัดอื่นๆ
52
52
ความร่วมมือในเครือข่ายการพ ัฒนากาล ังคนในกลุม
่ อุตสาหกรรมยานยนต์
สถานประกอบกิจการ
หน่วยฝึ กในเครือข่าย
กระทรวงศึกษาธิการ
ภาคเอกชน
นายจ้าง/
โรงงาน
สถาน
ประกอบ
กิจการ
ในเครือข่าย
้ รงงาน
ผูใ้ ชแ
/ลูกจ้าง
(walk in)
แจ ้งความ
ต ้องการ
พัฒนาฝี มือ
แรงงาน
/จานวนคน/รุน
่
/ประเภท
/หลักสูตร
เครือข่ายการ
ผลิตและพ ัฒนา
กาล ังคน
กลุม
่ อุตสาหกรรม
ยานยนต์
แจ้งความต้องการ
ให้หน่วยฝึ ก
ในเครือข่ายทราบ
(ระบบสารสนเทศ)
กระทรวงแรงงาน
ข้อมูลควำมต้องกำร
แรงงำน
กระทรวงอุตสาหกรรม
สถานศึกษา/
หน่ วยฝึ กสังกัดอื่นๆ
หน่วยฝึ กในเครือข่ายแจ ้ง แผน/ตางรางการฝึ ก หลักสูตรทีเ่ ปิ ดฝึ ก และข ้อมูลอืน
่ ให ้ภาคเอกชน นายจ ้างลูกจ ้างทีม
่ ค
ี วามต ้องการฝึ กทราบ
53
53
ยุทธศาสตร์ท ี่ 2 พ ัฒนาเครือข่ายเพือ
่ บูรณาการผลิตและพ ัฒนากาล ังแรงงานให้เพียงพอ
เป้าหมาย :สร ้างเครือข่ายพัฒนากาลังแรงงาน ประกอบด ้วยหน่วยงานพัฒนากาลังคน ภาครัฐและ
ี สถานประกอบกิจการ นายจ ้าง ลูกจ ้าง เพือ
เอกชน สมาคมวิชาชพ
่ พัฒนา ทักษะ ฝี มอ
ื ทดสอบ รับรอง
ความสามารถ รองรับการขยายตัวของอุตสาหกรรม และขับเคลือ
่ นการพัฒนากาลังคนในกลุม
่
อุตสาหกรรมยานยนต์ในแต่ละพืน
้ ที่ ตามเป้ าหมาย
กลยุทธ์/แผนงาน การพ ัฒนาเครือข่ายพ ัฒนากาล ังแรงงานในกลุม
่ อุตสาหกรรมยานยนต์
ข้อเสนอแนะเชงิ กลยุทธ์
1)
การสร้างเครือข่าย เพือ
่ เป็ นกลไกรองรับการพัฒนากาลังแรงงานในกลุม
่ อุตสาหกรรมยานยนต์และ
ิ้ สว่ นอะไหล่ยานยนต์ พัฒนาทักษะ สนองตอบความต ้องการพัฒนาฝี มอ
ชน
ื แรงงานของตลาดแรงงาน
นายจ ้าง ลูกจ ้างสถานประกอบกิจการ โรงงานในพืน
้ ที่ โดยจัดองค์ประกอบภายในเครือข่าย เพือ
่ ให ้
ั เจนในการติดต่อสอ
ื่ สารระหว่างกัน ผู ้ใชแรงงาน
้
ึ ษา หน่วยงาน
เกิดความชด
กับ หน่วยงานการศก
พัฒนาฝี มอ
ื แรงงาน และหน่วยอืน
่ ๆ ทีเ่ ปิ ดฝึ กอบรม เสริมทักษะด ้านยานยนต์ สถานประกอบกิจการ
นายจ ้าง วิสาหกิจในเครือข่าย
2)
ิ ธิภาพการ
สน ับสนุนและพ ัฒนาเครือข่าย ความร่วมมือระหว่างหน่วยงานในเครือข่าย เพือ
่ เพิม
่ ประสท
ดาเนินงานรองรับการพัฒนาฝี มอ
ื แรงงาน เสริมทักษะ ฝี มอ
ื ทดสอบ และการรับรองความสามารถให ้
กาลังแรงงาน ในสถานประกอบกิจการทีเ่ ข ้าร่วมเครือข่ายในพืน
้ ทีโ่ ดยจ ัดเก็บข้อมูลความต้องการ
ึ ษา แรงงานใหม่ สถานประกอบกิจการ นายจ ้าง
พ ัฒนาฝี มือแรงงานของเครือข่าย ผู ้สาเร็จการศก
้ นข ้อมูลสาหรับการพัฒนากาลังแรงงาน การวิเคราะห์ การ
โรงงาน และหน่วยงานอืน
่ ๆในพืน
้ ที่ เพือ
่ ใชเป็
ติดตามประเมินผลการพัฒนากาลังคน ให ้รอบรับความต ้องการพัฒนาฝี มอ
ื แรงงานของตลาดแรงงาน
54
กลยุทธ์/แผนงาน การพ ัฒนาเครือข่ายพ ัฒนากาล ังแรงงานในกลุม
่ อุตสาหกรรมยานยนต์
กิจกรรม/โครงการ
1) การสร้างเครือข่าย โดยการกาหนดองค์ประกอบ รูปแบบและวิธก
ี ารบริหารจัดการในพืน
้ ที่ เพือ
่ ให ้
ึ ษาและพัฒนาแรงงานในแต่ละพืน
หน่วยงานภาคการศก
้ ที/่ จังหวัด สามารถพัฒนาทักษะฝี มอ
ื แรงงาน
ทดสอบ รับรองตามความต ้องการของนายจ ้าง ลูกจ ้าง สถานประกอบกิจการ โรงงานในพืน
้ ทีเ่ หล่านั น
้
ั เจนในการติดต่อสอ
ื่ สารระหว่างหน่วยงาน
2) การจ ัดกลุม
่ หน่วยงานภายในเครือข่ายเพือ
่ ให ้เกิดความชด
ึ ษา
ในเครือข่าย ได ้แก่ 1) กลุม
่ สถานประกอบกิจการ นายจ ้าง ลูกจ ้าง ในเครือข่าย 2) กลุม
่ ภาคการศก
ึ ษา อุดมศก
ึ ษา อาชวี ศก
ึ ษา และหน่วยงานภาครัฐอืน
สถาบันการศก
่ ๆ ในพืน
้ ที่ 3) สถาบันพัฒนาฝี มอ
ื
แรงงาน/ศูนย์พัฒนาฝี มอ
ื แรงงาน และหน่วยงานฝึ กของภาครัฐและเอกชนในพืน
้ ที่
3) การบูรณาการความร่วมมือระหว่างหน่วยงานในเครือข่าย ประสานแผนการฝึ กระหว่างหน่วยงาน
ึ ษาและพัฒนาฝี มือแรงงานในพืน
ภาคการศก
้ ทีจ
่ ังหวัด เพือ
่ เพิม
่ ทักษะ ฝี มอ
ื ทดสอบ และรับรอง
มาตรฐาน ความสามารถ ให ้กาลังแรงงาน ในสถานประกอบกิจการทีเ่ ข ้าร่วมเครือข่าย
4) การจ ัดเก็บข้อมูลความต้องการพ ัฒนาฝี มือแรงงานของเครือข่าย เพือ
่ รวบรวมข ้อมูลความ
ึ ษา แรงงานใหม่ สถานประกอบกิจการ นายจ ้าง
ต ้องการพัฒนาฝี มอ
ื แรงงานของ ผู ้สาเร็จการศก
โรงงาน และหน่วยงานอืน
่ ๆในพืน
้ ที่
ั ันธ์ การประชาสม
ั พันธ์ข ้อมูล ข่าวสาร ความเคลือ
5) การประชาสมพ
่ นไหวของเครือข่ายสถานประกอบ
กิจการ โรงงาน SME และสง่ เสริมสนับสนุนการพัฒนาทักษะฝี มอ
ื แรงงานในพืน
้ ทีข
่ องเครือข่ายนั น
้ ๆ 55
กลยุทธ์/แผนงาน การพ ัฒนาเครือข่ายพ ัฒนากาล ังแรงงานในกลุม
่ อุตสาหกรรมยานยนต์
หน่ วยงานหลักที่สาคัญ
สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
สมาคมอุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วนอะไหล่ยานยนต์
ผูป้ ระกอบการยานยนต์ ชิ้นส่วนอะไหล่ยานยนต์ ศูนย์บารุงรักษารถยนต์
สมาคมวิชาชีพด้านยานยนต์
อาชีวศึกษาและอุดมศึกษาในพื้นที่จงั หวัด
อุตสาหกรรมจังหวัด
แรงงานจังหวัด จัดหางานจังหวัด
กรมพัฒนาฝี มือแรงงาน สถาบันพัฒนาฝี มือแรงงาน ศูนย์พฒั นาฝี มือแรงงาน
หน่ วยงาน สถาบัน ฝึ กอบรม ฝึ กอาชีพ ภาคเอกชนและภาครัฐ
56
3
ี /
ยุทธศาสตร์ท ี่ 3 พ ัฒนามาตรฐานวิชาชพ
มาตรฐานฝี มือแรงงาน/มาตรฐานสมรรถนะ
57
เป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์ท ี่ 3
ึ ษา จ ัดทาหล ักสูตรให้สอดคล้องก ับมาตรฐานสมรรถนะวิชาชพ
ี /มาตรฐานฝี มือแรงงาน ผู ้อยูใ่ นวัย
1. ภาคการศก
ึ ษา ได ้รับการศก
ึ ษา/ฝึ กอบรมให ้มีทก
ี /มาตรฐานฝี มือแรงงาน เป็ นทีต
ศก
ั ษะ ตรงตามมาตรฐานสมรรถนะวิชาชพ
่ ้องการ
ของนายจ ้างและตลาดแรงงาน
2. กรมพ ัฒนาฝี มือแรงงาน
้
ึ ษาในการจัดทา
2.1 พ ัฒนามาตรฐานฝี มือแรงงาน เพือ
่ ใชทดสอบและเป็
นแนวทางให ้กับภาคการศก
หลักสูตรการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
2.2 พ ัฒนาหล ักสูตรการพ ัฒนาฝี มือแรงงานให้สอดคล้องก ับมาตรฐานฝี มือแรงงาน ตรงตามความ
ิ้ สว่ นอะไหล่ยานยนต์
ต ้องการของกลุม
่ อุตสาหกรรมยานยนต์และชน
ั ยภาพและขีดความสามารถของประเทศ
2.3 ยกระด ับฝี มือแรงงานให้ได้มาตรฐาน เพือ
่ เพิม
่ ศก
ิ้ สว่ นอะไหล่ยานยนต์ มีแรงงานทีม
3. กลุม
่ อุตสาหกรรมยานยนต์และชน
่ ท
ี ักษะและความสามารถตามมาตรฐาน
ี และมาตรฐานฝี มือแรงงาน เพือ
สมรรถนะวิชาชพ
่ สนับสนุนการดาเนินธุรกิจในกลุม
่ อุตหสาหกรรมยานยนต์ ตาม
ิ้ สว่ นและอะไหล่ยานยนต์ 3) กลุม
่ ม
กลุม
่ เป้ าหมาย ได ้แก่ 1) กลุม
่ ผู ้ประกอบยานยนต์ 2) กลุม
่ ชน
่ ศูนย์บริการและซอ
บารุง
ี : ร่วมจ ัดทา และพ ัฒนามาตรฐานสมรรถนะวิชาชพ
ี ให้มค
4. สมาคมวิชาชพ
ี วามสามารถในระด ับนานาชาติเพือ
่
เพิม
่ ขีดความสามารถในการแข่งข ันของประเทศ
58
ี ะ/
ยุทธศาสตร์ท ี่ 3 การพ ัฒนาและยกระด ับมาตรฐานวิชาชพ
มาตรฐานฝี มือแรงงาน/มาตรฐานสมรรถนะ
ี /มาตรฐาน
เป้าหมาย : สน ับสนุนให้การพ ัฒนามาตรฐานสมรรถนะวิชาชพ
ฝี มือแรงงานให้เป็นเครือ
่ งมือในการยกระด ับสมรรถนะและฝี มือแรงงานเพือ
่
เพิม
่ โอกาสในการสร้างรายได้และความก้าวหน้าให้แก่ลก
ู จ้าง และเพิม
่
ผลผลิตให้แก่ผป
ู ้ ระกอบการ
ี /มาตรฐานฝี มือแรงงาน
กลยุทธ์ท ี่ 3.1 การพ ัฒนามาตรฐานวิชาชพ
ิ้ สว่ นอะไหล่ยานยนต์ ให้สอดคล้อง
กลุม
่ อุตสาหกรรมยานยนต์และชน
ก ับความต้องการของนายจ้างและตลาดแรงงาน
กลยุทธ์ท ี่ 3.2 ระบบร ับรองความสามารถตามมาตรฐานฝี มือแรงงาน
ี
และระบบร ับรองมาตรฐานคุณวุฒวิ ช
ิ าชพ
59
ี /มาตรฐานฝี มือแรงงาน
กลยุทธ์ท ี่ 3.1 การพ ัฒนามาตรฐานสมรรถนะวิชาชพ
ิ้ สว่ นอะไหล่ยานยนต์ ให้สอดคล้องก ับ
กลุม
่ อุตสาหกรรมยานยนต์และชน
ความต้องการของนายจ้างและตลาดแรงงาน
ข้อเสนอแนะเชงิ กลยุทธ์
ี /มาตรฐานฝี มือแรงงาน ในกลุม
1. รวบรวมมาตรฐานคุณวุฒวิ ช
ิ าชพ
่ อุตสาหกรรมยาน
ิ้ สว่ นอะไหล่ยานยนต์ ให ้ครบถ ้วนและเป็ นระบบ เพือ
ยนต์และชน
่ ให ้เกิดการจัดการ
ี และมาตรฐานฝี มอ
่ มาตรฐานทีพ
มาตรฐาน/วิชาชพ
ื แรงงานทัง้ ประเทศ เชน
่ ัฒนาโดยกรม
ี ทีพ
ี ต่างๆ และ
พัฒนาฝี มอ
ื แรงงาน และมาตรฐานวิชาชพ
่ ัฒนาโดยสภา/สมาคมวิชาชพ
ี
สถาบันคุณวุฒวิ ช
ิ าชพ
ี /มาตรฐานฝี มือแรงงาน ในทุกสาขา
2. ปร ับปรุงและจ ัดทามาตรฐานคุณวุฒวิ ช
ิ าชพ
ี ทีส
อาชพ
่ าคัญต่อการพัฒนาประเทศให ้ได ้มาตรฐานสามารถแข่งขันได ้ในระดับสากลและ
สอดคล ้องกับความต ้องการมาตรฐานฝี มอ
ื แรงงานฝี มอ
ื แรงงานของผู ้ประกอบการ
วิสาหกิจทัง้ ขนาดใหญ่ ขนาดกลางและเล็ก นายจ ้าง และลูกจ ้าง
่ เสริมการประสานงานระหว่างหน่วยงานภาคการศก
ึ ษาและพ ัฒนาฝี มือแรงงาน
3. สง
ี และมาตรฐานฝี มอ
เพือ
่ ให ้การปรับปรุงและจัดทามาตรฐานคุณวุฒวิ ช
ิ าชพ
ื แรงงานมีความ
สอดคล ้องกัน
ี /
4. จ ัดตงคณะท
ั้
างานเพือ
่ ติดตามประเมินผลการพ ัฒนามาตรฐานคุณวุฒวิ ช
ิ าชพ
ี /
มาตรฐานฝี มือแรงงาน เพือ
่ ติดตามประเมินผลการจัดทามาตรฐานคุณวุฒวิ ช
ิ าชพ
มาตรฐานฝี มือแรงงานให ้สาเร็จตามเป้ าหมายและทันต่อสถานการณ์การเปลีย
่ นแปลงของ
ิ้ สว่ นอะไหล่ยานยนต์
โลกในอุตสาหกรรมยานยนต์และชน
60
กลยุทธ์ท ี่ 3.2 ระบบร ับรองความสามารถตามมาตรฐานฝี มือแรงงาน และ
ี
ระบบร ับรองคุณวุฒวิ ช
ิ าชพ
ข้อเสนอแนะเชงิ กลยุทธ์
1. จ ัดทาระบบร ับรองความสามารถ
เพือ
่ รับรองความสามารถ ประสบการณ์ ทักษะฝี มือแรงงาน ของกาลังแรงงาน
้
ในกลุม
่ อุตสาหกรรมยานยนต์ ทีส
่ ามารถใชประโยชน์
จากผลการรับรอง
ความสามารถของกาลังแรงงาน เป็ นข ้อมูลในการปรับเกณฑ์รายได ้ การสร ้าง
โอกาสให ้แรงงานในการขอรับค่าแรงทีเ่ ป็ นธรรม
2. จ ัดทาระบบร ับรองมาตรฐานฝี มือแรงงาน และระบบร ับรองคุณวุฒ ิ
ี
วิชาชพ
เพือ
่ รับรองความสามารถ ทักษะฝี มือแรงงาน ของกาลังแรงงานในกลุม
่
้
อุตสาหกรรมยานยนต์ และใชประโยชน์
จากผลการรับรองความสามารถของ
กาลังแรงงาน เป็ นข ้อมูลในการปรับเกณฑ์รายได ้ การสร ้างโอกาสให ้แรงงาน
ในการขอรับค่าแรงทีเ่ ป็ นธรรม
61
ี /มาตรฐานฝี มือแรงงาน กลุม
กลยุทธ์ท ี่ 3.1 การพ ัฒนามาตรฐานคุณวุฒวิ ช
ิ าชพ
่ อุตสาหกรรม
ิ้ สว
่ นอะไหล่ยานยนต์ ให ้สอดคล ้องกับความต ้องการของนายจ ้างและตลาดแรงงาน
ยานยนต์และชน
กิจกรรม/โครงการ
ิ้ สว่ นอะไหล่ยานยนต์
1) การพ ัฒนามาตรฐานฝี มือแรงงาน ด ้านอุตสาหกรรมยานยนต์และชน
ี ด ้านอุตสาหกรรมยานยนต์และชน
ิ้ สว่ นอะไหล่
2) การจ ัดทามาตรฐานคุณวุฒวิ ช
ิ าชพ
ยานยนต์
ึ ษาและหล ักสูตรการพ ัฒนาฝี มือ
3) การปร ับปรุงมาตรฐานหล ักสูตรของภาคการศก
ี /มาตรฐานฝี มอ
แรงงาน ให ้สอดคล ้องกับมาตรฐานคุณวุฒวิ ช
ิ าชพ
ื แรงงานในภาพรวมของ
ประเทศ
ิ้ สว่ นอะไหล่ยานยนต์เฉพาะทาง ให ้สอดคล ้องกับ
4) จัดตัง้ คณะทางานพัฒนาหลักสูตรด ้านชน
ความต ้องการของนายจ ้างและลูกจ ้าง
หน่วยงานหล ัก
ี สถาบันยานยนต์ สถาบันคุณวุฒวิ ช
ี
* สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย สมาคมวิชาชพ
ิ าชพ
ึ ษาและการอุดมศก
ึ ษา
* สานั กงานคณะกรรมการการอาชวี ศก
* กรมพัฒนาฝี มอ
ื แรงงาน กระทรวงแรงงาน
62
กลยุทธ์ท ี่ 3.2 ระบบร ับรองความสามารถตามมาตรฐานฝี มือแรงงาน และ
ี
ระบบร ับรองคุณวุฒวิ ช
ิ าชพ
กิจกรรม/โครงการ
ิ้ สว่ นอะไหล่
1) จ ัดทาระบบร ับรองมาตรฐานสมรรถนะ ในอุตสาหกรรมยานยนต์และชน
ยานยนต์
ิ้ สว่ น
2) จ ัดทาระบบร ับรองมาตรฐานฝี มือแรงงาน ในอุตสาหกรรมยานยนต์และชน
อะไหล่ยานยนต์
ี ในอุตสาหกรรมยานยนต์และชน
ิ้ สว่ นอะไหล่ยานยนต์
3) จ ัดทาระบบร ับรองคุณวุฒวิ ช
ิ าชพ
หน่วยงานหล ัก
ี สถาบันยานยนต์ สถาบันคุณวุฒวิ ช
ี
* สภาอุตสาหกรรม สมาคมวิชาชพ
ิ าชพ
ึ ษาและการอุดมศก
ึ ษา
* สานั กงานคณะกรรมการการอาชวี ศก
* กรมพัฒนาฝี มอ
ื แรงงาน กระทรวงแรงงาน
63
4
ื่ มต่อ
ยุทธศาสตร์ท ี่ 4 พ ัฒนาระบบฐานข้อมูลเพือ
่ เชอ
ตลาดแรงงานและความต้องการพ ัฒนาท ักษะฝี มือ
แรงงาน
64
เป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์ท ี่ 4
พัฒนารูปแบบการเชื่อมโยงฐานข้อมูลที่มีอยู่แล้วให้สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลความต้องการพัฒนาทักษะ
ฝี มือแรงงานกับกลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์ให้เป็ นมาตรฐานเดียวกัน เพือ่ สนับสนุนกำรวิเครำะห์และวำงแผนกำร
พัฒนำฝีมอื แรงงำนและแผนกำรฝึกอำชีพ ได้ตรงกับควำมต้องกำรคุณวุฒวิ ชิ ำชีพและทักษะฝีมอื แรงงำนของตลำดแรงงำน
1. ผู้ใช้แรงงาน/กาลังแรงงาน : สามารถพัฒนาฝี มือแรงงานเพิ่มทักษะให้ตนเอง จำกระบบฐำนข้อมูลควำมต้องกำร
แรงงำนในกลุม่ อุตสำหกรรมยำนยนต์
2. หน่ วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถใช้ประโยชน์ จากฐานข้อมูล
1) รัฐบาล : กาหนดนโยบายการพัฒนาฝี มือแรงงาน ได้ตรงกับควำมต้องกำรพัฒนำฝีมอื แรงงำน ของ
ตลำดแรงงำนในกลุม่ อุตสำหกรรมยำนยนต์
2) กลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์ (Demand) : สามารถแจ้งความต้องการพัฒนาแรงงานให้กบั หน่ วยงาน
การศึกษาและพัฒนาฝี มือแรงงาน โดยเฉพำะควำมต้องกำรเชิงปริมำณ คุณภำพ และมำตรฐำนทีต่ อ้ งกำรใน
สำขำยำนยนต์ให้หน่วยงำนฝึกของภำครัฐและเอกชนเครือข่ำยในอุตสำหกรรมยำนยนต์ได้รบั ทรำบ
- มีชอ่ งทำงกำรส่งสัญญำณกำรปรับปรุงปริมำณกำรผลิตคนเข้ำสูต่ ลำดแรงงำน (แรงงำนใหม่)
- มีชอ่ งทำงกำรส่งสัญญำณกำรปรับปรุงหรือยกระดับมำตรฐำนแรงงำนของแต่ละหลักสูตร
- มีชอ่ งทำงกำรแจ้งควำมต้องกำรพัฒนำฝีมอื แรงงำนของผุป้ ระกอบกิจกำร เพือ่ ให้หน่วยงำนภำครัฐและเอกชน
เครือข่ำยพัฒนำแรงงำน ได้รบั ทรำบและเข้ำไปพัฒนำฝีมอื แรงงำนให้ภำคเอกชน ผูใ้ ช้แรงงำน ได้ตรงตำมควำม
ต้องกำร
3) ภาคการศึกษาและพัฒนาฝี มือแรงงาน : ส่งสัญญาณให้กลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์รบั รู้ถึงปริมาณผู้สาเร็จ
การศึกษา แรงงานใหม่ ที่จะเข้าสู่ตลาดแรงงาน เพือ่ ปรับปรุงกำรผลิตและพัฒนำฝีมอื แรงงำนให้ตรงกับควำม
65
ต้องกำรของตลำดในระยะต่อไป
ื่ มต่อตลาดแรงงานและ
ยุทธศาสตร์ท ี่ 4 พ ัฒนาระบบฐานข้อมูลเพือ
่ เชอ
ความต้องการพ ัฒนาท ักษะฝี มือแรงงาน
ื่ มต่อตลาดแรงงานและความ
เป้าหมาย : เพือ
่ พัฒนาระบบฐานข ้อมูลเพือ
่ เชอ
้
ต ้องการพัฒนาทักษะฝี มือแรงงานเพือ
่ ใชประกอบเป็
นข ้อมูลในการบริหารจัดการ
ผลิตและพ ัฒนาฝี มือแรงงาน
กลยุทธ์/แผนงาน
ื่ มโยงข้อมูลตลาดแรงงานและข้อมูล
เพือ
่ พ ัฒนาระบบฐานข้อมูลเพือ
่ เชอ
ความต้องการพ ัฒนาท ักษะฝี มือแรงงาน ก ับเครือข่ายการผลิตและ
ิ้ สว่ นอะไหล่
พ ัฒนากาล ังแรงงาน ในกลุม
่ อุตสาหกรรมยานยนต์และชน
ยานยนต์
66
ื่ มโยงข้อมูลด้านแรงงานในกลุม
ล ักษณะการเชอ
่ อุตสาหกรรมยานยนต์
ื่ มต่อข ้อมูลแบบใยแมงมุมเป็ นเครือข่าย (Network) ภายใน และการเชอ
ื่ มต่อเพือ
ข้อเสนอ: การเชอ
่
แลกเปลีย
่ นข ้อมูลกับหน่วยงานภายนอกทีจ
่ าเป็ นต่อการพัฒนาแรงงาน
หน่วยงำนภำครัฐ
หน่วยงำนภำคเอกชน
ข้อมูลหน่ วยงานฝึ ก
หน่ วยงานการศึกษาพืน้ ที่ต่างๆ
ข้อมูลความต้องการ
แรงงาน
ข้อมูลแรงงาน/ผู้จบการศึกษา
ผู้ผ่านการฝึ ก/ผ่านการทดสอบ
ระบบข้อมูลพัฒนากาลังคน
อุตสาหกรรมยานยนต์
ข้อมูลด้านแผนการ
พัฒนาฝี มือแรงงาน
สมำคมวิชำชีพ
ข้อมูลด้าน
มาตรฐานฝี มือแรงงาน/หลักสูตร/
สื่อการฝึ ก/แบบทดสอบ
Thai/English
ข้อมูลโรงงาน
สถานประกอบกิ จการ
By Area
หน่วยงำนอื่นๆที่
เกีย่ วข้อง
สมำคม
ยำนยนต์
และ
ชิน้ ส่วน
อะไหล่
ยำนยนต์
67
67
ื่ มโยงและแลกเปลีย
กลยุทธ์/แผนงาน พ ัฒนาระบบฐานข้อมูลเพือ
่ เชอ
่ นข้อมูลความ
ต้องการพ ัฒนาท ักษะฝี มือแรงงาน และ เครือข่ายพ ัฒนากาล ังแรงงานในกลุม
่
อุตสาหกรรมยานยนต์และเครือข่ายอืน
่ ๆ
ข้อเสนอแนะเชงิ กลยุทธ์
ื่ มโยง
4.1 กาหนดรูปแบบ/มาตรฐาน ข้อมูลความต้องการพ ัฒนาฝี มือแรงงาน ให ้สามารถเชอ
และแลกเปลีย
่ นกันระหว่างความต ้องการพัฒนาฝี มอ
ื แรงงานของกลุม
่ อุตสาหกรรมยานยนต์และ
ิ้ สว่ นอะไหล่ยานยนต์ การจัดฝึ กอบรม พัฒนาฝี มอ
ชน
ื แรงงานด ้านยานยนต์ของหน่วยงานต่างๆเพือ
่ ให ้เป็ น
กรอบในการจัดการข ้อมูลอุปสงค์ความต ้องการพัฒนาฝี มอ
ื แรงงานและและหน่วยงานทีใ่ ห ้บริการด ้านการ
พัฒนาฝี มอ
ื แรงงาน
4.2 จ ัดเก็บข้อมูลแรงงานทีผ
่ า
่ นการฝึ ก การพัฒนาฝี มอ
ื การอบรม เสริมทักษะในกลุม
่
ิ้ สว่ นอะไหล่ยานยนต์ได ้ไปทางานหรือไม่ ทางานทีใ่ ด ตาแหน่งงาน
อุตสาหกรรมยานยนต์และชน
้
ทีท
่ างาน ตรงกับทีไ่ ด ้รับการฝึ กหรือไม่ เพือ
่ นาข ้อมูลดังกล่าวใชในการวิ
เคราะห์การพัฒนาฝี มอ
ื
แรงงานของหน่วยงานต่างๆ ว่ามีคณ
ุ ภาพและปริมาณ ตรงกับความต ้องการของตลาดหรือไม่
4.3 การจ ัดทาระบบสารสนเทศเพือ
่ รองร ับข้อมูลการพ ัฒนาฝี มือแรงงาน ผู ้จบการฝึ ก ผู ้ผ่าน
การอบรม การเสริมทักษะ การพัฒนาฝี มอ
ื แรงงาน ข ้อมูลหลักสูตร มาตรฐาน และข ้อมูลอืน
่ ๆที่
เกีย
่ วข ้องและเป็ นประโยชน์ตอ
่ การพัฒนาฝี มอ
ื แรงงาน
4.4 ประสานความร่วมมือระหว่างหน่วยงานต่างๆ สถานประกอบกิจการ หน่วยงานภาครัฐและ
่ ระบบ LEED-Xplus ของสานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม 68
เอกชน และหน่วยฝึ กอบรมอืน
่ ๆเชน
เพือ
่ จัดทาเครือข่ายข ้อมูลความต ้องการพัฒนาฝี มอ
ื แรงงาน
ื่ มโยงและแลกเปลีย
กลยุทธ์/แผนงาน พ ัฒนาระบบฐานข้อมูลเพือ
่ เชอ
่ นข้อมูลความ
ต้องการพ ัฒนาท ักษะฝี มือแรงงาน และเครือข่ายการผลิตและพ ัฒนากาล ังแรงงาน
ในกลุม
่ อุตสาหกรรมยานยนต์
กิจกรรม/โครงการ
1) การจ ัดทาระบบฐานข้อมูลสารสนเทศ เพือ
่ รวบรวมจัดเก็บข ้อมูลความต ้องการพัฒนา
ทักษะฝี มอ
ื แรงงานของนายจ ้าง ลูกจ ้าง (Demand) สถานประกอบกิจการ โรงงาน เพือ
่
้ นข ้อมูลกลุม
ใชเป็
่ เป้ าหมายในการฝึ กของหน่วยงานพัฒนากาลังคน (ภาครัฐ/เอกชน)
ึ ษา/อุดมศก
ึ ษา)
(อาชวี ศก
หน่วยงานพัฒนาฝี มอ
ื แรงงาน และหน่วยฝึ กอืน
่ ๆในเครือข่ายพัฒนากาลังแรงงาน
2) การรวบรวมข้อมูลหล ักสูตรการฝึ กอบรมพ ัฒนาท ักษะฝี มือแรงงาน โครงการ
ฝึ กอบรมของหน่วยงานต่างๆ ประจาปี ข ้อมูลระยะเวลาการเปิ ดฝึ กอบรมตามชว่ งเวลาต่างๆ
โครงการพัฒนาชา่ งเทคนิค ผู ้ปฏิบต
ั งิ าน ด ้านยานยนต์ของสถาบันพัฒนาบุคลากรต่างๆ
และโครงการฝึ กอบรมพนั กงานของหน่วยงานในเครือข่ายพัฒนากาลังแรงงานเอกสาร
ตาราการฝึ กทีน
่ ่าสนใจ ในกลุม
่ อุตสาหกรรมยานยนต์
69
ื่ มโยงและแลกเปลีย
กลยุทธ์/แผนงาน พ ัฒนาระบบฐานข้อมูลเพือ
่ เชอ
่ นข้อมูลความ
ต้องการพ ัฒนาท ักษะฝี มือแรงงาน และเครือข่ายการผลิตและพ ัฒนากาล ังแรงงาน
ในกลุม
่ อุตสาหกรรมยานยนต์
กิจกรรม/โครงการ
3) การรวบรวม ข้อมูลสถานประกอบการในเครือข่าย (Demand)ข้อมูลหน่วยงาน
้
ภาคร ัฐและเอกชนในเครือข่าย(Supply) เพือ
่ เป็ นประโยชน์แก่ลก
ู จ ้าง ผู ้ใชแรงงาน
ึ ษาค ้นคว ้า หรือเป็ นประโยชน์ให ้หน่วยงาน
นายจ ้าง และผู ้ทีต
่ ้องการใชข้ ้อมูลในการศก
ต่างๆทัง้ ภาครัฐและเอกชนได ้รับทราบความเคลือ
่ นไหว ข่าวสาร ข ้อมูล เพือ
่ พัฒนา
เครือข่ายในระยะต่อไป
ี มาตรฐานฝี มือแรงงาน หลักสูตรการศก
ึ ษาและการพัฒนา
4) ข้อมูลมาตรฐานวิชาชพ
ั ้ (ระดับอุดมศก
ึ ษา อาชวี ศก
ึ ษาและการพัฒนา
แรงงาน ทัง้ ในระยะยาว ปานกลางและสน
้
ฝี มอ
ื แรงงาน) เพือ
่ ให ้ผู ้ใชแรงงาน
หรือหน่วยฝึ กอบรมของนายจ ้าง (HR) ดาวน์โหลดไป
้ ฒนาบุคลากรของตนเอง
ใชพั
5) การรวบรวมปริมาณแรงงานและติดตามประเมินผล ผู ้ทีเ่ ข ้ารับการเพิม
่ ทักษะ ฝี มอ
ื
สมรรถนะ ตาแหน่งงานในอุตสาหกรรมยานยนต์เพือ
่ ให ้ทราบปริมาณของแรงงานใน
้ นข ้อมูลในการกาหนดทิศทางการพัฒนากาลังแรงงาน
พืน
้ ทีท
่ ไี่ ด ้รับการพัฒนาและใชเป็
ต่อไป
70
ื่ มโยงและแลกเปลีย
เป้าหมาย : พ ัฒนาระบบฐานข้อมูลเพือ
่ เชอ
่ นข้อมูลความ
ต้องการพ ัฒนาท ักษะฝี มือแรงงาน และเครือข่ายการผลิตและพ ัฒนากาล ัง
แรงงาน ในกลุม
่ อุตสาหกรรมยานยนต์
กิจกรรม/โครงการ
่ งทางให ้ภาคเอกชน สถานประกอบกิจการ
6) การแจ้งข้อมูลความต้องการ เพือ
่ เป็ นชอ
โรงงานแจ ้งความต ้องการพัฒนาทักษะ ผ่านระบบ Manual และ IT
7) พ ัฒนารูปแบบซอฟต์แวร์ การแจ้งความต้องการพ ัฒนาฝี มือแรงงาน ระบุหลักสูตร
่ งทางการสะท ้อนปั ญหา
ตาแหน่งงาน จานวน รุน
่ ระยะเวลาทีต
่ ้องการฝึ ก สถานที่ และชอ
อุปสรรคและข ้อเสนอแนะ การพัฒนาแรงงาน
8) การพ ัฒนารูปแบบการรวบรวมข้อมูล ผู ้ผ่านการฝึ กฝี มอ
ื เพิม
่ ทักษะ สมรรถนะ จานวน
ผู ้ทดสอบมาตรฐานฝี มอ
ื แรงงาน จานวนรุน
่ จานวนสถานประกอบการในเครือข่ายทีม
่ ี
ลูกจ ้างในสงั กัดได ้รับการฝึ กอบรม
9) แผนการปร ับปรุงและพ ัฒนาระบบฐานข้อมูลและเครือข่ายพ ัฒนาฝี มือแรงงาน
้
เพือ
่ ใชประโยชน์
ในการวิเคราะห์ปริมาณและคุณภาพการผลิตและพัฒนาแรงงาน กับ
ิ้ สว่ นยานยนต์และอะไหล่ยานยนต์
ความต ้องการของตลาดแรงงานในชน
71
ื่ มโยงและแลกเปลีย
เป้าหมาย : พ ัฒนาระบบฐานข้อมูลเพือ
่ เชอ
่ นข้อมูลความต้องการ
พ ัฒนาท ักษะฝี มือแรงงาน และเครือข่ายการผลิตและพ ัฒนากาล ังแรงงาน ในกลุม
่
อุตสาหกรรมยานยนต์
หน่วยงานหล ัก
ึ ษาธิการ อาชวี ศก
ึ ษา อุดมศก
ึ ษา สถาบันคุณวุฒ ิ
- กระทรวงศก
ี
วิชาชพ
- สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
- สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม
ี /
- สานักงานสถิตแ
ิ ห่งชาติ สภา/สมาคมวิชาชพ
ิ้ สว่ นอะไหล่ยานยนต์
- สมาคมอุตสาหกรรมยานยนต์และชน
- กรมพัฒนาฝี มือแรงงาน สถาบันพัฒนาฝี มือแรงงานภาค หน่วยฝึ ก
ภาครัฐและเอกชนอืน
่ ๆ
72
5
ยุทธศาสตร์ท ี่ 5 พ ัฒนาระบบพ ัฒนากาล ังคนเพือ
่ รองร ับ
AEC และรองร ับการแข่งข ันในเวทีโลก
73
เป้าประสงค์ยท
ุ ธศาสตร์ท ี่ 5
ึ ษาและการพ ัฒนาฝี มือแรงงาน : สามารถปร ับปรุงหล ักสูตรให้
1) ภาคการศก
่ ารเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซย
ี น ASEAN เพือ
สอดคล้องก ับการเข้าสูก
่ ให ้
ึ ษา การฝึ กอบรม มีทักษะทีด
ผู ้สาเร็จการศก
่ ม
ี ค
ี ณ
ุ ภาพ เป็ นทีต
่ ้องการของนายจ ้าง
และตลาดแรงงาน
ี : วิเคราะห์และเสนอแนะการปร ับปรุงคุณภาพมาตรฐาน
2) สมาคมวิชาชพ
ี มาตรฐานฝี มือแรงงาน รองร ับการเป็นประชาคมเศรษฐกิจ
คุณวุฒวิ ช
ิ าชพ
ี น
อาเซย
3) ภาคเอกชน: มีความมน
่ ั ใจว่าการพ ัฒนากาล ังแรงงานไทย จะมีมาตรฐานทีด
่ ี
และคุม
้ ค่าต่อการจ้างงาน และมีแนวทางการเพิม
่ ผลิตภาพแรงงานในระยะ
ยาว รองร ับการเป็นฐานการผลิตยานยนต์และการข่งข ันในตลาดโลก
4)
กาล ังแรงงาน ได้ร ับการพ ัฒนาท ักษะและเพิม
่ โอกาสในการสร้างรายได้
74
ได ้รับค่าแรงงานทีค
่ ุ ้มค่า มีอนาคตและความเป็ นอยูท
่ ด
ี่ ี
ยุทธศาสตร์ท ี่ 5 พ ัฒนาระบบพ ัฒนากาล ังคนเพือ
่ รองร ับ AEC
และรองร ับการแข่งข ันในเวทีโลก
เป้าหมาย : การพ ัฒนาระบบ การพ ัฒนากาล ังแรงงานในระยะ
ยาว โดยมุง
่ เน้นการสร้างองค์กรพ ัฒนาทร ัพยากรมนุษย์
ั้ ง ในกลุม
(HRD) เพือ
่ เพิม
่ ผลิตภาพแรงงาน บุคลากรชนสู
่
อุตสาหกรรมยานยนต์
กลยุทธ์/แผนงาน การสร้างองค์กรพ ัฒนาทร ัพยากรมนุษย์
บุคลากรระด ับสูงในกลุม
่ อุตสาหกรรมยานยนต์
75
กลยุทธ์/แผนงาน การสร้างองค์กรพ ัฒนาทร ัพยากรมนุษย์ จ ัดทายุทธศาสตร์การผลิตและ
การพ ัฒนาบุคลากรโดยเฉพาะบุคลากรระด ับสูงในกลุม
่ อุตสาหกรรมยานยนต์
ข้อเสนอแนะเชงิ กลยุทธ์
ึ ษา เครือข่ายการศก
ึ ษา พ ัฒนากาล ังแรงงาน และ แผนการ
1) เร่งปร ับแผนพ ัฒนาการศก
ี น และฐาน
เพิม
่ ผลิตภาพแรงงานด้านยานยนต์ระยะยาว เพือ
่ รองรับการเป็ นประชาคมอาเซย
การผลิตของโลก
2) ประสานความร่วมมือระหว่างหน่วยงานภาคร ัฐและเอกชน ในการข ับเคลือ
่ น และพ ัฒนา
ิ้ สว
่ นอะไหล่ยานยนต์
ระบบร ับรองความสามารถหรือสมรรถนะบุคลากรด้านยานยนต์ และชน
ั้ ง เพือ
3) สร้างสถาบ ันพ ัฒนาบุคลากร ด้านวิศวกรรมยานยนต์ชนสู
่ ผลิตน ักออกแบบ น ักวิจ ัย
ั้ ง ให้มป
ี่ วชาญ ชา
่ งเทคนิคชนสู
ผูเ้ ชย
ี ริมาณคุณภาพเพียงพอ รองร ับการเป็นฐานการผลิต
ของ (กรุงเทพ สมุทรปราการ ระยอง)
ึ ษาสาหร ับบุคลากร
4) สร้างศูนย์ทดสอบ วิจ ัยพ ัฒนาด้านยานยนต์ระด ับสูง เพือ
่ ใชเ้ ป็นสถานศก
่ เสริมสน ับสนุนการพ ัฒนาด้านยานยนต์ในยะยะยาว ในจ ังหว ัดกรุงเทพ ระยอง
ระด ับสูง สง
ึ ษา ศพจ. สถานประกอบ
สมุทรปราการ ฉะเชงิ เทรา อยุธยา ชลบุร ี และยกระด ับ สถานศก
กิจการในจ ังหว ัดสมุทรปราการ ระยอง เป็นหน่วยทดสอบมาตรฐานฝี มือแรงงานสาขายาน
ยนต์ในระด ับสูง
76
กลยุทธ์/แผนงาน การสร้างองค์กรพ ัฒนาทร ัพยากรมนุษย์ จ ัดทายุทธศาสตร์การ
ผลิตและการพ ัฒนาบุคลากรโดยเฉพาะบุคลากรระด ับสูงในกลุม
่
อุตสาหกรรมยานยนต์
หน่วยงานหล ัก
ี กระทรวงศก
ึ ษาธิการ สานักงาน
สภาอุตสาหกรรม สมาคมวิชาชพ
ึ ษาและอุดมศก
ึ ษา กระทรวงอุตสาหกรรม
คณะกรรมการการอาชวี ศก
สถาบันยานยนต์
กรมพัฒนาฝี มือแรงงาน หน่วยงานฝึ กอบรมภาคเอกชนและภาครัฐ
กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงแรงงาน
77
การดาเนินงานในระยะต่อไป
จ ัดทา Road map (ร่าง) แผนงานการพ ัฒนากาล ังแรงงาน
ในกลุม
่ อุตสาหกรรมยานยนต์ ปี พ.ศ.2556-2563
ั้ ระยะกลาง ระยะยาว แบ่งเป็น
- แผนระยะสน
1)งานประจาของหน่วยงาน 2)งานทีต
่ อ
้ งทาใหม่
1.แผนงานด้านการพ ัฒนากาล ังคน/แรงงาน
2.แผนงานด้านการสร้างเครือข่าย
3.แผนงานด้านมาตรฐานฝี มือแรงงาน
4.แผนงานด้านการจ ัดทาระบบฐานข้อมูล
5.แผนงานด้านองค์กร HRD
- จ ัดทากรอบวงเงินงบประมาณตามยุทธศาสตร์
- ต ัวชวี้ ัด การติดตามประเมินผล
คณะอนุกรรมกำรประสำนกำรพัฒนำกำลังคน ภำยใต้แผนปฏิบตั กิ ำรไทยเข้มแข็ง ๒๕๕๕
78
จบการนาเสนอ
ขอขอบคุณ
ิ้ สว่ นอะไหล่ยานยนต์
คณะอนุกรรมการพัฒนากรอบยุทธศาสตร์การพัฒนากาลังแรงงานในอุตสาหกรรมยานยนต์และชน
คณะอนุกรรมกำรประสำนกำรพัฒนำกำลังคน ภำยใต้แผนปฏิบตั กิ ำรไทยเข้มแข็ง ๒๕๕๕
79
79