การกำหนดอัตราค่าจ้างขั้นต่ำของประเทศไทย โดย ดร.อำมร เชาวลิต ผู้อำนวย

Download Report

Transcript การกำหนดอัตราค่าจ้างขั้นต่ำของประเทศไทย โดย ดร.อำมร เชาวลิต ผู้อำนวย

การกาหนดอัตราค่ าจ้ างขั้นต่าของประเทศไทย
โดย ดร.อามร เชาวลิต
ผู้อานวยการสานักตรวจและประเมินผล
รักษาการในตาแหน่ งที่ปรึกษาวิชาการแรงงาน
ปฏิบัตหิ น้ าที่ผ้อู านวยการสานักเศรษฐกิจการแรงงาน
4 กันยายน 2554
1. การกาหนดค่ าจ้ างขั้นต่าในประเทศไทย
1. ปี พ.ศ. 2499 ออกกฎหมายเรื่องการกาหนดอัตราค่ าจ้ างขั้นตา่ และ
มีการตั้งสหภาพแรงงาน และมีการเจรจาต่ อรอง
2. ปี พ.ศ. 2515 ประกาศของคณะปฏิวตั ิ ฉบับที่ 103 ลงวันที่ 16
มีนาคม พ.ศ. 2515 ให้ อานาจ
- ออกประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การกาหนดค่ าจ้ าง
ขั้นตา่ การจ่ ายค่ าจ้ าง ค่ าล่ วงเวลา ค่ าทางานในวันหยุด ค่ าจ้ าง วันลา
- แต่ งตั้งคณะกรรมการค่ าจ้ าง
- อัตราค่ าจ้ างขั้นต่ามีผลบังคับใช้ ครั้งแรก เมือ่ 14 ก.พ. 2516
ใน 4 จังหวัด คือ กรุ งเทพมหานคร สมุทรปราการ นนทบุรี และ
ปทุมธานี ลูกจ้ างได้ รับประโยชน์ ประมาณ 100,000 คน
1. การกาหนดค่ าจ้ างขั้นต่าในประเทศไทย
3. ปี พ.ศ. 2517 กาหนดนโยบายแรงงานในแผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และสั งคมแห่ งชาติ
4. ปี พ.ศ. 2518 กาหนดกฎหมายเกีย่ วกับแรงงานสั มพันธ์ และ
กาหนดเป็ นนโยบายว่ ารัฐบาลจะให้ ความคุ้มครองให้ ลูกจ้ างได้ รับ
ความเป็ นธรรมและค่ าจ้ างทีด่ ีขึน้
2. ความเป็ นมา
องค์ การแรงงานระหว่ างประเทศหรือ ILO (International Labor
Organisation) ได้ ตราอนุสัญญาฉบับที่ 131 ว่ าด้ วยการกาหนดค่ าจ้ างขั้นต่า
( Minimum Wage Fixing Convention No. 131 )
-
ประเทศสมาชิกทีใ่ ห้ สัตยาบันอนุสัญญาฉบับนี้ จะต้ องกาหนดระบบค่ าจ้ างขั้นต่า
ขึน้ มาใช้ สาหรับผู้ประกอบอาชีพทีม่ รี ายได้ กลุ่มต่ าง ๆ ตามทีเ่ ห็นสมควร โดยต้ อง
คานึงถึงความจาเป็ นขั้นพืน้ ฐานของลูกจ้ างแลครอบครัว ความสามารถในการจ่ ายของ
นายจ้ าง มาตรฐานความเป็ นอยู่ในส่ วนอืน่ ของระบบเศรษฐกิจ และระดับการพัฒนา
เศรษฐกิจ ฯลฯ ซึ่งต้ องเป็ นไปตามสภาพและความเหมาะสมในด้ านเศรษฐกิจและสั งคม
ของแต่ ละประเทศ ทั้งนี้ เพือ่ มิให้ มีผลกระทบต่ อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ
2. ความเป็ นมา
ประเทศไทย ถึงแม้ จะไม่ ได้ รับรองอนุสัญญาก็ได้ นาหลักการ
ในการกาหนดอัตราค่ าจ้ างขั้นต่าขององค์การแรงงานระหว่ างประเทศ
(ILO) มาปรับใช้ ให้ สอดคล้อง
3. แนวคิดในการกาหนดอัตราค่ าจ้ างขั้นตา่ ของประเทศไทย เมื่อปี 2516
• ตลาดแรงงานไทยเป็ นตลาดแข่ งขันไม่ สมบูรณ์
• ไม่ ก่อให้ เกิดผลกระทบต่ อการว่ างงาน อัตราเงินเฟ้ อ และการ
เจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
• ทาให้ แรงงานไร้ ฝีมือส่ วนใหญ่ ได้ รับค่ าจ้ างไม่ ตา่ กว่ าอัตราค่ าจ้ างขั้นต่า
เป็ นองค์ การไตรภาคี จานวน 15 คน ประกอบด้ วย ผู้แทนฝ่ ายรัฐบาล
ผู้แทนฝ่ ายนายจ้ าง และผู้แทนฝ่ ายลูกจ้ าง ปลัดกระทรวงแรงงาน
เป็ นประธานกรรมการ
แต่ งตั้งตาม พ.ร.บ.คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 ซึ่งแก้ไขเพิม่ เติมโดย
พ.ร.บ.คุ้มครองแรงงาน (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2551
มีอานาจหน้ าทีก่ าหนดอัตราค่ าจ้ างขั้นต่าทีล่ ูกจ้ างควรได้ รับตามความ
เหมาะสมแก่สภาพเศรษฐกิจและสั งคม
คณะกรรมการค่ าจ้ าง แต่ งตั้งคณะอนุกรรมการ
เพือ่ ช่ วยเหลือการปฏิบัติงาน คือ
- คณะอนุกรรมการพิจารณาอัตราค่าจ้ างขั้นตา่ จังหวัด
จานวน 76 คณะ เพือ่ ทาหน้ าทีพ่ จิ ารณาเสนอขอปรับอัตราค่ าจ้ างขั้นต่า
ของจังหวัด
- คณะอนุกรรมการวิชาการและกลัน่ กรอง ทาหน้ าที่
พิจารณากลัน่ กรองข้ อเสนอจังหวัดและเสนอความเห็นต่ อคณะกรรมการ
ค่ าจ้ าง
5. แนวคิดอัตราค่ าจ้ างขั้นตา่ ของคณะกรรรมการค่ าจ้ างชุดที่ 18
อัตราค่ าจ้ างขั้นต่า หมายถึง อัตราค่าจ้างทีเ่ พียงพอสาหรับ
แรงงานเพือ่ พัฒนาฝี มือ (แรงงานไร้ ฝีมือ) 1 คน ให้ สามารถดารงชีพอยู่
ได้ ตามสมควรแก่สภาพเศรษฐกิจและสั งคม โดยมีมาตรฐานการครอง
ชีพทีเ่ หมาะสมตามความสามารถของธุรกิจในท้ องถิน่ นั้น
6. แนวทางการพิจารณาอัตราค่ าจ้ างขั้นต่า
คณะกรรมการค่ าจ้ าง ศึกษาและพิจารณาข้ อเท็จจริงตาม
หลักเกณฑ์ ที่กาหนดในมาตรา 87 แห่ งพ.ร.บ.คุ้มครองแรงงาน
พ.ศ. 2551 ซึ่งแก้ ไขเพิม่ เติมโดย พ.ร.บ.คุ้มครองแรงงาน
(ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2551 แบ่ งเป็ นหลักเกณฑ์ 3 กลุ่ม คือ
6. แนวทางการพิจารณาอัตราค่ าจ้ างขั้นต่า
1) ด้ านความจาเป็ นในการครองชีพของลูกจ้ าง (ดัชนีค่าครองชีพ
อัตราเงินเฟ้อ มาตรฐานการครองชีพ และราคาของสิ นค้ า)
2) ด้ านความสามารถในการจ่ ายของนายจ้ าง (ต้ นทุนการผลิต
ความสามารถของธุรกิจ และผลิตภาพแรงงาน)
3) ด้ านเศรษฐกิจและสั งคมโดยรวม (ผลิตภัณฑ์ มวลรวมของประเทศ
และสภาพเศรษฐกิจและสั งคม)
แนวทางในการพิจารณากาหนดอัตราค่ าจ้ างขั้นต่าไว้ดงั นี้
1) ความสอดคล้องเหมาะสมของข้ อเสนออัตราค่ าจ้ างขั้นต่าของจังหวัดกับข้ อมูลต่ าง ๆ
2) ได้ นาข้ อมูลเศรษฐกิจ สั งคม และแรงงานในภาพรวมทั้งประเทศ และต่ างประเทศ มา
ใช้ ประกอบการพิจารณาข้ อเสนออัตราค่ าจ้ างขั้นต่าของจังหวัด โดยให้ ความสาคัญกับ
ข้ อมูลตามลาดับ ดังนี้
- อัตราเงินเฟ้ อของประเทศ
- อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศ
- อัตราการว่ างงานของประเทศ
- ผลกระทบของการปรับอัตราค่ าจ้ างขั้นต่าในภาพเฉลี่ยรวมที่มีต่อด้ านแรงงาน
ด้ านผู้ประกอบการ ด้ านเศรษฐกิจและสั งคมโดยรวมของประเทศ
- ปัจจัยเสี่ ยงจากภาวะเศรษฐกิจและการเมืองโลก
- ปัจจัยอื่น ๆ ที่คณะกรรมการค่ าจ้ างเห็นสมควร
7. สถิตกิ ารปรับอัตราค่ าจ้ างขั้นต่ากับอัตราเงินเฟ้อย้ อนหลัง 10 ปี (ปี พ.ศ. 2545 - 2554 (ก.ค.))
ปี พ.ศ.
อัตราค่ าจ้ างขั้นต่า
เฉลีย่ ทั้งประเทศ
(บาท)
อัตราการเปลีย่ นแปลง
ของอัตราค่ าจ้ างขั้นต่า
(ร้ อยละ)
อัตราเงินเฟ้ อ
(ร้ อยละ)
2545
137.0
0.2
0.7
2546
138.3
0.9
1.8
2547
139.7
1.0
2.7
2548
148.1
6.0
4.5
2549
149.4
0.9
4.7
2550
154.0
3.1
2.3
2551
162.1
5.3
5.5
2552
162.1
0.0
-0.9
2553
165.3
2.0
3.3
175.8
6.4
3.6
รวม (2545 - 2554)
25.7
28.2
เฉลีย่ ต่ อปี
2.57
2.82
2554
(ม.ค - ก.ค.)
การเตรียมการของกระทรวงแรงงานในการดาเนินการนโยบายรายได้
ไม่ ต่ากว่าวันละ 300 บาท
1) สารวจข้ อมูลค่ าใช้ จ่ายที่จาเป็ นของแรงงานเพือ่ พัฒนาฝี มือ
(แรงงานทั่วไปแรกเข้ าทางาน) ในภาคอุตสาหกรรมทั่วประเทศ
ใน 21 ประเภทอุตสาหกรรม
- ครั้งที่ 1 ในช่ วงเดือน เมษายน – มิถุนายน 2554 จานวน 37,189 ตัวอย่ าง
ผลการศึกษา พบว่ า ลูกจ้ างมีค่าใช้ จ่ายตามอัตภาพสู งขึน้ ร้ อยละ 11.2
และค่ าใช้ จ่ายตามคุณภาพสู งขึน้ ร้ อยละ 20.4
- ครั้งที่ 2 เพือ่ รับฟังความคิดเห็นจากทุกฝ่ ายกระทรวงแรงงานจึงได้
มอบหมายให้ ดาเนินการสารวจค่ าใช้ จ่ายที่จาเป็ นของแรงงานเพื่อพัฒนา
ฝี มือ จังหวัดละ 200 ตัวอย่ าง
การเตรียมการของกระทรวงแรงงานในการดาเนินการนโยบายรายได้
ไม่ ต่ากว่าวันละ 300 บาท
2) ปี 2554 สาหรับแรงงานทีม่ ีฝีมือซึ่งมีประสบการณ์ ในการทางาน
คณะกรรมการค่ าจ้ างได้ ออกประกาศกาหนดอัตราค่าจ้ างตาม
มาตรฐานฝี มือใน 6 กลุ่ม 22 สาขาอาชีพ ไม่ ต่ากว่ าวันละ 250 – 690
บาทต่ อวัน โดยแตกต่ างกันในแต่ ละสาขาอาชีพและระดับ ซึ่งใน
ปัจจุบันเป็ นอัตราค่ าจ้ างทีส่ ู งกว่ าอัตราค่าจ้ างขั้นต่า (159 – 221บาท)
หากอัตราค่ าจ้ างขั้นต่าปรับขึน้ เป็ น 300 บาท ถึงแม้ ว่าจะไม่ ครบ
ทุกจังหวัด คณะกรรมการค่ าจ้ างจะได้ มีการพิจารณาทบทวน
อัตราค่ าจ้ างตามมาตรฐานฝี มืออีกครั้ง
การเตรียมการของกระทรวงแรงงานในการดาเนินการนโยบายรายได้
ไม่ ต่ากว่าวันละ 300 บาท
3) เร่ งส่ งเสริมการฝึ กทักษะพัฒนาอาชีพสาหรับแรงงาน
- ปรับปรุงศูนย์ และสถาบันพัฒนาฝี มือแรงงานทัว่ ประเทศ
- ปรับปรุงหลักสู ตรการฝึ กอบรมทักษะฝี มือแรงงานของแต่ ละ
ศูนย์ และสถาบันพัฒนาฝี มือแรงงานให้ สอดคล้องกับ
ตาแหน่ งงานในพืน้ ทีน่ ้ัน ๆ
การเตรียมการของกระทรวงแรงงานในการดาเนินการนโยบายรายได้
ไม่ ต่ากว่าวันละ 300 บาท
4) จากการศึกษาพบว่ าการปรับเพิม่ อัตราค่ าจ้ างขั้นต่าเพิ่มขึน้ ร้ อยละ 1
มีผลทาให้ อตั ราการว่ างงานเพิม่ ขึน้ ร้ อยละ 0.16
ขณะนีอ้ ตั ราการว่ างงานของไทยอยู่ในระดับตา่ มากเพียงร้ อยละ 0.7
และยังมีปัญหาการขาดแคลนแรงงานในหลายธุรกิจ ได้ มีแผน
การดาเนินจัดหางานให้ กบั ลูกจ้ าง โดยจัดตาแหน่ งงานและแนะแนว
อาชีพแก่ลูกจ้ าง
การเตรียมการของกระทรวงแรงงานในการดาเนินการนโยบายรายได้
ไม่ ต่ากว่าวันละ 300 บาท
ขณะนีก้ ระทรวงแรงงานอยู่ระหว่ างการศึกษาข้ อมูลและหารือร่ วมกัน
ระหว่ างกรม/สานักงานประกันสั งคม
รับฟังความคิดเห็นจากทุกภาคส่ วนไม่ ว่าจะเป็ นนักวิชาการ กรรมการไตรภาคี
องค์ กรเอกชน ต่ าง ๆ เพือ่ ดาเนินมาตรการต่ าง ๆ รองรับนโยบายดังกล่ าวเพิ่มเติม
ทางานร่ วมกับกระทรวงอืน่ ๆ เช่ น กระทรวงการคลัง กระทรวงพาณิชย์
และกระทรวงอุตสาหกรรม เพือ่ มีมาตรการอืน่ ๆ ตามภารกิจของหน่ วยงาน
มารองรับเพือ่ ช่ วยเหลือผู้ประกอบการให้ สามารถประกอบธุรกิจอยู่ได้ และ
มีผลกระทบต่ อประชาชนโดยทัว่ ไปน้ อยทีส่ ุ ด
ผลกระทบด้ านดีของการปรับอัตราค่ าจ้ างขั้นต่าวันละ 300 บาท
1) ช่ วยยกระดับคุณภาพชีวติ ของแรงงาน
2) ช่ วยลดภาวการณ์ ขาดแคลนแรงงาน
3) ช่ วยกระตุ้นเศรษฐกิจในภาพรวม
ผลกระทบด้ านลบหากมีการปรับอัตราค่ าจ้ างขั้นต่า
เป็ นวันละ 300 บาท
1) ส่ งผลกระทบต่ อเงินเฟ้อและค่ าครองชีพสู งขึน้
2) ขีดความสามารถในการแข่ งขันของประเทศ
โดยเฉพาะด้ านการส่ งออกมีแนวโน้ มลดลง
3) กระทบการลงทุนจากต่ างประเทศ
4) ต้ นทุนการผลิตสู งขึน้
5) กลุ่มเสี่ ยงในอุตสาหกรรมทีใ่ ช้ แรงงานเข้ มข้ น และ
ผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดย่ อม (SMEs)