KM สไลด์

Download Report

Transcript KM สไลด์

ภาษีการค้ า
และ
ภาษีสรรพสามิต
ดร.บัญชร ส่ งสั มพันธ์
25 สิ งหาคม 2557
1
Outline
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
10.
ความหมายของภาษีการค้าหรือภาษีการขาย
รูปแบบของภาษีการขาย
ภาษีการค้ าและภาษีสรรพสามิต
ข้ อพิจารณาเกีย่ วกับการเลือกฐานของภาษีการค้ า
การเลือกใช้ อตั ราของภาษีการค้า
ผลกระทบจากการเปลีย่ นฐานภาษี
INCOTERMS
Free on board
CIF
เอกสารเกีย่ วกับการขนส่ งสิ นค้ า
2
1. ความหมายของภาษีการค้ าหรือภาษีการขาย
ภาษีการค้ ามักจะเรียกว่ า “sales taxes” หรือ “ภาษี
การขาย” แต่ ในประเทศไทยภาษีการขายที่กรมสรรพากร
จัดเก็บอยู่น้ันเรียกว่ า “ภาษีการค้ า” หรือ “business tax”
ในปี 2535 ได้ เ ปลี่ ย นภาษี ก ารค้ า มาเก็ บ ในรู ป
ภาษีมูลค่ าเพิ่ม ดังนั้น เพื่อให้ เข้ ากับบริบทของไทยจะเรียก
“ภาษีการค้ า” แทนคาว่ า “sales taxes”
3
1. ความหมายของภาษีการค้ าหรือภาษีการขาย
“ภาษีการขาย คือ ภาษีที่เก็บจากการซื้อขายสิ นค้ า
หรื อบริ การต่ างๆ หรื อเก็บจากองค์ ประกอบของการ
ซื้อขายดังกล่ าว เช่ น เก็บจากรายรับของการขายหรือ
เก็บจากรายจ่ ายของการซื้อเป็ นต้ น”
J.F. Due, Sales Taxation (London : Routledge, 1957
4
2. รู ปแบบของภาษีการขาย
ภาษีการขายที่จัดเก็บ ในประเทศต่ างๆ มีรูปแบบหรื อ
ลักษณะที่แตกต่ างกันจาแนกตาม “ขั้นตอน” ของการ
จัดเก็บภาษี โดยดูว่าควรจะจัดเก็บภาษีการขายนั้นจาก
การซื้อขายในทอดใดบ้ าง ซึ่งแบ่ งได้ 2 ประเภท คือ
5
2. รู ปแบบของภาษีการขาย
1. การจัดเก็บภาษีการขายเพียงขั้นตอนเดียว (single-stage sales taxes)
• รัฐบาลจะเลือกเก็บในช่วงหนึ่งของการขายหรื อการผลิต สิ นค้าที่ถกู เก็บ
ภาษีการค้าแล้วจะไม่ถกู เก็บภาษีการค้าซ้ าอีก
2. การจัดเก็บภาษีการขายในหลายขั้นตอน (multiple-stages sales taxes)
• สิ นค้าที่ถกู เก็บภาษีการค้าแล้วครั้งหนึ่งอาจจะถูกเรี ยกเก็บซ้ าถ้ามีการซื้ อ
ขายเปลี่ยนมือกัน
6
2. รู ปแบบของภาษีการขาย
การจัดเก็บภาษีการขายเพียง
ทอดเดียว (single stage)
การจัดเก็บภาษีการขายหลาย
ขั้นตอน (multiple stages)
• 1. ภาษีการขายทีเ่ ก็บในขั้นตอนของ
การขายปลีก (retail sale tax)
• 2. ภาษีการขายทีเ่ ก็บในขั้นตอนของ
การขายส่ ง (wholesale sale tax)
• 3. ภาษีการขายที่เก็บในขั้นตอนของ
โรงงานอุตสาหกรรม (manufacture
sale tax)
• 4. ภาษีการขายทีเ่ ก็บจากมูลค่ าเพิม่
(value-added tax)
• 5. ภาษีทเี่ ก็บทุกทอดของการซื้อขาย
(turnover tax)
7
2. รู ปแบบของภาษีการขาย
การจัดเก็บภาษีการขายแบบขั้นตอนเดียว
ข้ อดี
• ขจัดข้อเสี ยหายที่เกิดจากการรวมตัวของกิจการ
• ภาระของภาษีอาจจะกระจายอย่างทัว่ ถึงในหมู่ผบู ้ ริ โภค
• ยุติธรรมแก่สินค้าที่ผา่ นขั้นตอนการผลิตและการจาหน่าย
ที่แตกต่างกัน
• การบริ หารการจัดเก็บทาได้โดยง่าย
8
2. รู ปแบบของภาษีการขาย
การจัดเก็บภาษีการขายแบบขั้นตอนเดียว
ข้ อเสี ย
• ต้องใช้อตั ราภาษีที่สูงสาหรับรายได้ของภาษีจานวนเท่ากัน
• ภาระของภาษีอาจตกแก่ผขู ้ ายแต่ละกลุ่มไม่เท่ากัน
9
2. รู ปแบบของภาษีการขาย
การจัดเก็บภาษีการขายแบบหลายขั้นตอน
ข้ อดี
• ฐานของภาษีใหญ่ที่สุด
• อาจลดการหลีกเลี่ยงภาษีได้มาก
• ผลการกระทบกระเทือนจากการจัดเก็บภาษีจะกระจายแก่
ผูผ้ ลิตและผูข้ ายในกลุ่มต่างๆ
10
2. รู ปแบบของภาษีการขาย
การจัดเก็บภาษีการขายแบบหลายขั้นตอน
ข้ อเสี ย
• เกิดความไม่ยตุ ิธรรมในหมู่ผบู ้ ริ โภค
• เกิดความไม่ยตุ ิธรรมในหมู่ผขู ้ ายและผูผ้ ลิต
• ทาให้สินค้าที่ผลิตภายในประเทศอาจเสี ยเปรี ยบสิ นค้าที่
นาเข้าจากต่างประเทศ
• ข้อบกพร่ องในการบริ หารการจัดเก็บ
11
3. ภาษีการค้ าและภาษีสรรพสามิต
ภาษีการค้ า /ภาษีการขาย (sales taxes) และภาษี
สรรพสามิต (excise tax) มักถูกจาแนกเป็ นภาษีคนละ
ประเภทแต่ ใ นทางทฤษฎีแ ล้ ว ภาษี ท้ั ง สองประเภท
ดั ง กล่ า วจั ด อยู่ ใ นประเภทเดี ย วกั น โดยถื อ ว่ า ภาษี
สรรพสามิ ตเป็ นภาษีการขายเฉพาะอย่ าง (selective
sales tax)
12
3. ภาษีการค้ าและภาษีสรรพสามิต
ภาษีการค้ า
Single-stage
sale taxes
Multiple-stages
sales taxes
ภาษีสรรพสามิต
ภาษีมูลค่ าเพิม่
13
3. ภาษีการค้ าและภาษีสรรพสามิต
ภาษีมูลค่ าเพิม่
1. ผลกระทบกระเทือนของภาษี
แผ่กระจายแก่ผขู ้ ายทุกกลุม่
1. การผลักภาระของภาษีไปให้
ผูบ้ ริ โภคทายากกว่า
2. การยกเว้นภาษีแก่สินค้าทุน
ทาได้โดยง่าย
2. การยกเว้นสิ นค้าเพื่อการ
บริ โภคทาได้ยากกว่า
3. สะดวกในการตรวจตรา
3. จานวนผูเ้ สี ยภาษีมีมาก
14
VAT in OECD
15
VAT in ASEAN (+)
16
4. ข้ อพิจารณาเกีย่ วกับการเลือกฐานของภาษีการค้ า
1. ภาษีการขายอาจจะเก็บแต่ เฉพาะ
สิ นค้ าที่จัดว่ าเป็ นสิ นค้ าเพื่อการบริโภค
โดยทั่วไป ซึ่งจะไม่ มีการยกเว้ นการ
จัดเก็บให้ แก่สินค้ าประเภทหนึ่ง
ประเภทใดโดยเฉพาะ
2. ภาษีการค้ าเก็บแต่ เฉพาะสิ นค้ าเพือ่
การบริโภคประเภทใดประเภทหนึ่ง
โดยเฉพาะ สิ นค้ าบางชนิดจะไม่ ถูกเก็บ
ภาษีการค้ า เช่ น อาหารหรือสิ นค้ า
จาเป็ นในการครองชีพ
ฐานของภาษี
3. ภาษีการขายทีเ่ ก็บทั้งสิ นค้ าเพือ่ การ
บริโภคและสิ นค้ าเพือ่ การลงทุน
ลักษณะฐานของภาษีเป็ นการเก็บจาก
รายได้ ประชาชาติ
4. ภาษีการขายเก็บจากสิ นค้ าทุก
ประเภททีม่ ีการซื้อขายแลกเปลีย่ นกัน
แต่ ละครั้ง โดยอาจจะถูกเก็บภาษีหลาย
ครั้งถ้ าหากสิ นค้ านั้นถูกซื้อขายเปลีย่ น
17
มือกันหลายครั้ง
5. การเลือกใช้ อตั ราของภาษีการค้ า
รัฐบาลจะต้ องพิจารณา
ปัญหาการเลือก
ลักษณะของภาษี
ปัญหาการเลือกใช้
หลักเกณฑ์ในการ
ประเมินอัตราภาษี
18
5. การเลือกใช้ อตั ราของภาษีการค้ า
ปัญหาการเลือกลักษณะของภาษี
อัตราภาษี
อัตราเดียว
อัตราภาษีที่
แตกต่างกัน
•
•
•
•
รายได้ของภาษีสูงเมื่อเทียบกับวิธีอื่น
การบริ หารการจัดเก็บทาได้โดยง่าย
ก่อให้เกิดหลักความเป็ นกลางของการจัดเก็บภาษี
การจัดเก็บภาษีก่อให้เกิดความไม่เป็ นธรรมในการเสี ยภาษี
• ช่วยให้การเสี ยภาษีการค้ามีความยุติธรรมมากขึ้น
• รัฐบาลสามารถใช้ภาษีการค้าเป็ นเครื่ องมือทางเศรษฐกิจ
• ข้อยุง่ ยากในการบริ หารการจัดเก็บภาษี
19
5. การเลือกใช้ อตั ราของภาษีการค้ า
ปัญหาการเลือกใช้ หลักเกณฑ์ ใน
การประเมินอัตราภาษี
อัตราภาษีทจี่ ัดเก็บตามมูลค่ าของสิ นค้ า
(ad-valorem tax)
อัตราภาษีทจี่ ัดเก็บตาม
หน่ วยของสิ นค้ า
20
6. ผลกระทบจากการเปลีย่ นฐานภาษี
ราคา ณ โรง
หรือ C.I.F
ราคาขายส่ ง
ช่ วงสุ ดท้ าย
ราคาขายปลีก
แนะนา
21
7. International rules for the Interpretation of Trade
Terms/ International Commercial Terms
• INCOTERMS∗ เป็ นความพยายามของนักนิ ติศาสตร์ และพ่อค้าที่จะกาหนด
ความหมายของคาเฉพาะทางการค้าเพื่อให้มีความเข้าใจอันตรงกัน ในเรื่ อง
หน้า ที่ ข องผู ้ซ้ื อ ผู ้ข าย และความเสี่ ย งภัย ในสิ น ค้า หอการค้า นานาชาติ
(International Chamber of Commerce : ICC) ซึ่ งหอการค้าของประเทศต่าง ๆ
เกื อบทัว่ โลกเข้าเป็ นสมาชิ กรวมทั้งหอการค้าแห่ งประเทศไทย จึ งได้จดั ทา
Incoterms ขึ้นเพื่อกาหนดความหมายของคาเฉพาะทางการค้าขึ้นใช้ในสัญญา
ซื้ อ ขายระหว่า งประเทศให้คู่กรณี เลื อกใช้โ ดยกาหนดในสัญญาตามความ
ประสงค์ของตน Incoterms จัดพิมพ์ครั้งแรกปี 1936 ปรับปรุ งแก้ไขปี 1953,
1967, 1976, 1980, 1990 ฉบับปั จจุบนั คือ ปี 2010 โดยแสดงความรับผิดชอบ
ของผู ้ข ายและผู ้ซ้ื อ ในการจัด ส่ ง สิ น ค้า จากต้น ทางไปถึ ง ปลายทาง เรี ย ง
ตามลาดับโดยเริ่ มจากผูข้ ายมีหน้าที่นอ้ ยที่สุดและผูซ้ ้ือมีหน้าที่มากที่สุด
ที่มา: สุ นัย มโนมัยอุดม
22
8. FOB : Free on board
(named port of shipment)
• หมายถึงสัญญาซื้ อขายที่มีการกาหนดราคาสิ นค้ารวมค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ใน
การขนสิ นค้า นั้นขึ้นเรื อ ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ เกี่ ยวกับสิ นค้าจนกระทัง่ ขน
สิ นค้าขึ้นบนระวางเรื อ ซึ่ งรวมทั้งภาษีขาออกเป็ นของผูข้ าย ค่าใช้จ่ายทั้ง
ปวงหลังจากนั้นเป็ นของผูซ้ ้ื อ ผูซ้ ้ื อซึ่ งเป็ นผูจ้ ดั หาเรื อจึงต้องรับผิดชอบ
ในค่ า ระวางเรื อ ค่ า กรมธรรม์ป ระกัน ภัย ค่ า ขนถ่ า ยสิ น ค้า ลงจากเรื อ
รวมทั้งค่าใช้จ่ายต่าง ๆ และภาษีอากรในการนาสิ นค้าเข้า
23
9. CIF : Cost, Insurance and Freight
(named port of destination)
• หมายถึ ง สัญญาซื้ อขายที่ มีก ารก าหนดราคาสิ น ค้า โดยรวมค่าระวาง
ขนส่ งสิ นค้าและค่าเบี้ยประกันภัยไว้ดว้ ย สัญญา CIF เป็ นสัญญาซื้อขาย
ระหว่างประเทศซึ่ งเป็ นที่นิยมมากที่สุด ทั้งนี้ เพราะผูข้ ายสามารถขอรับ
ชาระค่าสิ นค้าได้ทนั ทีเมื่อขนส่ งสิ นค้าลงเรื อและรวบรวมเอกสารต่าง ๆ
ได้ครบถ้วนขณะเดียวกันผูซ้ ้ือเมื่อได้รับเอกสารจากผูข้ ายแล้วก็สามารถที่
จะขายสิ นค้านั้นต่อไปได้โดยทันทีเช่นกัน โดยไม่ตอ้ งรอให้สินค้ามาถึงผู ้
ซื้อก่อน
24
25
10. เอกสารเกีย่ วกับการขนส่ งสิ นค้ า
(Shipping Documents)
• ใบตราส่ ง (Bill of Lading) ซึ่งต้องไม่มีขอ้ แสดงความบกพร่ อง (clean)
กล่าวคือไม่มีขอ้ ความแสดงถึงความบกพร่ องของสิ นค้าหรื อหี บห่อที่ใช้
บรรจุสินค้านั้น หากมีขอ้ ความแสดงความบกพร่ อง (Unclean) ธนาคาร
อาจปฏิเสธไม่รับเอกสารกรณี ที่ตกลงชาระเงินโดยเลตเตอร์ออฟเครดิต
อย่างไรก็ตามกรณี น้ ีไม่ใช้กบั การขนส่ งโดยตูค้ อนเทนเนอร์ ยกเว้นผู ้
ขนส่ งเป็ นผูบ้ รรจุสินค้าเอง
• กรมธรรม์ประกันภัยทางทะเล (Marine Insurance policy) คุม้ ครองภัย
พิบตั ิตามปกติหรื อที่ได้ตกลงกันไว้เป็ นพิเศษ
• บัญชีสินค้า (Invoice) ตามแบบที่กาหนด.
26
Q&A
27
ขอบคุณ
28