เศรษฐกิจในยุคโลกาภิวัตน์_Slice1

Download Report

Transcript เศรษฐกิจในยุคโลกาภิวัตน์_Slice1

มศว 364 เศรษฐกิจในกระแสโลกาภิว ัตน์
•เศรษฐกิจโลกปัจจุบ ัน
และแนวโน้มในอนาคต
•ปร ัชญาทางเศรษฐศาตร์
•นโยบายการค้าการลงทุน
การเงิน
•นโยบายทางเศรษฐกิจของประเทศต่างๆ
•การรวมกลุม
่ ทางเศรษฐกิจ
•วิกฤตเศรษฐกิจ
•ผลกระทบโลกาภิว ัตน์
แผนการประเมินผลการเรี ยนรู้

ภาคเนือ
้ หา
สอบครัง้ ที่ 1
สอบครัง้ ที่ 2
20%
20%

ั ้ เรียน
ภาคกิจกรรม กิจกรรมในชน
10%
รายงานการค ้นคว ้า 1 20%
รายงานการค ้นคว ้า 2 20%

ั ้ เรียน
ภาคการมีสว่ นร่วม การเข ้าชน
10%
Class Activity
โลกภิวัฒน์
คืออะไร ?
ความหมายโลกาภิวัตน์
 โลกาภิวต
ั น์ (Globalization) หมายถึง การ
แพร่กระจายข้อมูลข่าวสารกันทัว่ โลก โดย
เชือ่ มโยงผ่านระบบเทคโนโลยีอินเตอร์เนท
ประชาคมโลกทัว่ โลกไม่ว่าอยู่ที่ใด ก็จะสามารถ
รับรูข้ อ้ มูลข่าวสารทัว่ ถึงกัน ดังนัน้ ค่านิยม
วัฒนธรรม และสังคมในยุคโลกาภิวตั น์ จึงมีการ
เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว คลอบคลุมไปทัว่ โลก
ความหมายโลกาภิวัตน์
 โลกาภิวต
ั น์ (Globalization) หมายถึง สังคม
วัฒนธรรม เศรษฐกิจ ซึ่งถ ูกกาหนดด้วย
กระบวนการ และอิทธิพลจากระบบเศรษฐกิจ
ระหว่างประเทศ ทาให้ความสามารถในการ
จัดการของรัฐลดน้อยลง ทัง้ นี้บรรษัทข้าม
ชาติ (Multinational Corporation) จะเป็นตัว
หลักในการเคลื่อนย้ายท ุน และจัดการระบบ
เศรษฐกิจระหว่างประเทศ
ความหมายโลกาภิวัตน์
 โลกาภิวต
ั น์ (Globalization) จะเน้นการ
ขยายตัวของกิจกรรมข้ามพรมแดน (Cross
Border Activities) เช่น การข้ามพรมแดน
ของสินค้า แรงงาน ท ุน และเงิน
เศรษฐกิจในยุคโลกาภิวัตน์
โลกาภิวัตน์ ทางเศรษฐกิจ (Economic
Globalization) เป็ นปรากฏการณ์ สาคัญ
ของโลกในปั จจุบัน และส่ งผลกระทบอย่ าง
มหาศาลในทุกมิติ ไม่ ว่าจะเป็ นมิตทิ างเศรษฐกิจ
การเมือง สังคม วัฒนธรรม และเทคโนโลยี ทัง้
ในระดับปั จเจกบุคคล ประเทศ ภูมภิ าค และโลก
ลักษณะสาคัญ
 ใช้ คอมพิวเตอร์
 การไหล่ บ่าของข้ อมูลข่ าวสาร
 แรงงานด้ านข่ าวสารเพิ่มขึน้
 การวิจัยและพัฒนาเป็ นกลไกในการ
แสวงหา
ข้ อมูลข่ าวสาร เพื่อประโยชน์ ในการ
ตัดสินใจ
ลักษณะสาคัญ (ต่ อ)
 ระบบเศรษฐกิจประสานเป็ นหนึ่งเดียว
(Information-based Economy)
 ข่ าวสารเป็ นสินค้ าประเภทหนึ่ง
 มนุษย์ ใกล้ ชิดกันโดยเทคโนโลยี
 พฤติกรรมนักการเมืองเปลี่ยนจากการที่
เทคโนโลยีส่ ือสาร เข้ ามามีบทบาทต่ อระบบการเมือง
มากขึน้ (สื่อสารมวลชน)
ผลกระทบ
 ด้ านสังคม
 ด้ านเศรษฐกิจ
 ด้ านการเมือง
ผลกระทบของโลกาภิวัตน์
ด้ านสังคม
 การครอบโลกทางวัฒนธรรม เช่ น NeoWesternization
 หมู่บ้านโลก (Global Village) สังคมไร้ พรมแดน –
รับรู้กันทั่วโลก
 การแสวงหากาไรแบบใหม่ – การไร้ พรมแดน
ของเงินตรา
 การพัฒนาเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์ คมนาคม
สารสนเทศ
สังคมวัฒนธรรม
 ความหลากหลายทางวัฒนธรรม
 การครอบงาของชาติตะวันตก
– การไหลบ่ าทางวัฒนธรรม
– ลัทธิบริโภคนิยม (Consumerism)
เปลี่ยนแปลงวิถีชีวติ ความเป็ นอยู่
อาหาร
การกิน แต่ งกาย ฯลฯ
สังคมวัฒนธรรม (ต่ อ)
 เกิดขบวนการทางการเมือง เช่ น
สันติภาพ อนุรักษ์ ส่ งิ แวดล้ อม สตรี สิทธิ
มนุษยชน ฯลฯ
ปั ญหาสังคม
 จานวนประชากรเพิ่มขึน้
 ปั ญหายาเสพติด
 ปั ญหาโรคเอดส์
 ปั ญหาสิ่งแวดล้ อม
 การละเมิดสิทธิมนุษยชน
Environmental problem ;
Extreme Natural Events
Environmental
Environmental
Problem
Problem
Air
Pollution
Environmental problem ;
Climate Change
ด้ านเศรษฐกิจ
 ปฏิรูประบบเศรษฐกิจแบบเสรี
 การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ – NAFTA AFTA
APEC ASEM EUฯลฯ
 เสรีการเงินและการค้ า – เก็งกาไร โอนย้ าย
เงินทุน
 ระบบการผลิตแบบอัตโนมัติ
ด้ านการเมือง
 ความเป็ นท้ องถิ่นนิยม (Localism) การรั บรู้
ข้ อมูล ทาให้ มีการตรวจสอบรัฐบาลกลาง ซึ่ง
อาจนาไปสู่การต่ อต้ านการรักหวงแหน
ทรัพยากรภายในท้ องถิ่นของตน
การปะทะทางวัฒนธรรม
โลกาภิวัตน์ v.s. ชาตินิยมระดับท้ องถิ่น (Localism)
อานาจรัฐในการจัดการกับปั ญหาต่ างๆ น้ อยลงจึงต้ องพึ่งพาอาศัย
กันมากขึน้ โดยมีองค์ การระหว่ างประเทศ เข้ ามามีต่อบทบาท
ทางการเมือง โดยเฉพาะ
ด้ านการเมือง (ต่ อ)
 เกิดกลุ่มการเมืองใหม่ ๆ ขึน้ มีการ
เรียกร้ อง และเคลื่อนไหวของกลุ่มอยู่
ตลอดเวลา
The Third Wave in “FUTURE SHOCK”
Alvin Tofler (1971) – การเปลี่ยนแปลงโครงสร้ าง
อานาจใหม่ ในโลก มีทิศทางเปลี่ยนโดยคลื่นลูกใหญ่
3 ครัง้
1. คลื่นลูกที่หนึ่ง – ปฏิวัตเิ กษตรกรรม C13-15-16
2. คลื่นลูกที่สอง – C17 เกิดการปฏิวัตอิ ุตสาหกรรม
3. คลื่นลูกที่สาม – C20 ยุคเครื อข่ ายครอบโลก
แบบไร้ พรมแดน
กระแสโลกาภิวัตน์ ทางเศรษฐกิจ
 กฎกติกาในทางเศรษฐศาสตร์
แบ่ งออกเป็ น 2
ประเภท
 Written / Formal Rules
 Unwritten / Informal Rules
 อุดมการณ์ (Ideology)
Class Activity
 โลกาภิวัตน์ เป็ นปรากฏการณ์ ใหม่ ?
แนวคิดเศรษฐกิจในยุคโลกาภิวัตน์ ท่ สี าคัญ
 เสรีนิยมคลาสสิก (Classical Liberalism)
 เสรีนิยมใหม่ (Neoliberalism)
 เศรษฐศาสตร์แบบเคนส์ (Keynesian
Economics)
ชุดของนโยบายเศรษฐกิจเสรี นิยมใหม่
 Economic
Liberalization
 Deregulation
 Privatization
 Price
Stabilization
การเปิ ดเสรีการเงินระหว่ างประเทศ
(Financial Liberalization)
 การทาให้ ธุรกรรมระหว่ างประเทศที่
เกี่ยวข้ องกับสินทรัพย์ ทางการเงิน เช่ น หุ้น
พันธบัตร เงินตราต่ างประเทศ เงินฝาก
เงินกู้ ตราสารอนุพนั ธ์ รวมถึงเงินลงทุน
เป็ นไปอย่ างเสรีตามกลไกตลาด
การเปิ ดเสรีการเงินระหว่ างประเทศ
(Financial Liberalization)
 ลดการกากับควบคุมโดยรั ฐ ยกเลิกข้ อจากัด
และกฎกติกาที่เป็ นอุปสรรคต่ อการเคลื่อนย้ าย
ทุนระหว่ างประเทศ
 รั ฐทาหน้ าที่เป็ นเพียงผู้ดแ
ู ลและรั กษากติกา
ของระบบ
ท้ าทายแนวคิดการเปิ ดเสรี การเงิน
 ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นไม่เป็นไปตามทฤษฎี
 การลงท ุนข้ามชาติ Foreign Direct Investment
(FDI)
 การกระจุกตัวของการลงท ุนของ FDI
 การลดลงของFDI ในภาคการลงท ุนระยะยาว
การไร้ เสถียรภาพ
 การไร้เสถียรภาพ
 การเคลื่อนย้ายของท ุนอย่างเสรี
 การต่อรองของแรงงานลดลง
ประโยชน์ ของการเปิ ดเสรี การเงินระหว่ างประเทศ
(Liberalization)

Allocative Efficiency

Financial markets Financial Institutions

Economic growth

Financial services

Policy Discipline