ความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับสันติวิธี

Download Report

Transcript ความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับสันติวิธี

ความขัดแย้งกับสิ ทธิมนุษยชน
ประเด็นสาคัญ
•
•
•
•
•
สิ ทธิมนุษยชนการขยายตัวของความขัดแย้งไปสู่ความรุ นแรง
สิ ทธิมนุษยชนในระหว่างการสูร้ บ
สิ ทธิมนุษยชนรากเหง้าความขัดแย้ง
สิ ทธิมนุษยชนสันติวิธี
สิ ทธิมนุษยชนการแปลงเปลี่ยนความขัดแย้ง
ปั ญหาสิ ทธิ มนุษชน กับ การขยายตัวของความขัดแย้ง และ
ความรุ นแรง
แนวการวิเคราะห์ความขัดแย้ง
องค์ประกอบสองส่ วนคือ ส่ วนที่เป็ นวัตถุวิสยั และ อัตวิสยั
เป็ นวัฐจักร
มีพลวัต เคลื่อนไหวและเปลี่ยนแปลงไปตามปฏิกิริยาของคู่ขดั แย้ง
ความขัดแย้งที่แก้ไขไม่ถูกต้อง กลับมาได้อีก และ ขยายตัวออกไปได้
ความรุ นแรงเกิดขึ้นเมื่อความขัดแย้งเคลื่อนไปสู่ การแยกขั้ว การคิดแบบ
เหมารวม และ ประเด็นเคลื่อนจากปัญหามาสู่บุคคล
• คู่ขดั แย้งติดกับดักทางจิตวิทยาของความขัดแย้ง
•
•
•
•
•
การพิจารณาองค์ประกอบของความขัดแย้ง
สามเหลี่ยมความขัดแย้ง ของ โยฮัน กัลตุง
สถานการณ์ปัญหา
ทัศนคติ
พฤติกรรม
วงจรของความขัดแย้ง
ประเด็นความขัดแย้ง
เรื่องใหม่
ยุติ
ความตึงเครี ยดสูง
ความหมาย (Galtung, 2005:23)
1.
Violence is present when human beings are being influenced so
that their actual somatic and mental realizations are below their
potential realizations. ความรุ นแรงเกิดขึ้นเมื่อมนุษย์อยูใ่ ต้อิทธิ พลที่ทาลาย
ศักยภาพของเขา หรื อ ทาให้เขาไม่สามารถดารงความเป็ นตัวเขาอย่างทีควรจะ
เป็ นได้
2.
Violence is here defined as the cause of the difference between
the potential and the actual, between what could have been and
what is. ความรุ นแรงคือเงื่อนไขหรื อต้นเหตุที่ทาให้คนไม่สามารถมีชีวิตตามควร
แก่อตั ภาพ
3.
Violence is that which increases the distance between the potential
and the actual, and that which impedes the decrease of this
distance. ความรุ นแรงคือสิ งที่ทาให้เกิดความแตกต่างระหว่างความสามารถที่จะมี
ชีวิที่ควรจะเป็ นกับที่เขาเป็ นอยู่ หรื อ สิ่ งที่ไปจากัดเงื่อนไขที่จะลดความแตกต่างนั้น
http://www.google.co.th/imgres?hl=en&sa=X&rlz=1D2GGLD_thTH427TH427&biw=1206&bih=635&tbm=isch&prmd=im
vns&tbnid=yhMBlY9jdtkzPM:&imgrefurl=http://marriagecoaches.wordpress.com/helpful-articles/&docid=DIrrD2nfqv3iM&imgurl=http://marriagecoaches.files.wordpress.com/2011/09/conflict-escalation-and-deescalationcurve.jpg&w=800&h=566&ei=lPlnUMTvHs6IrAfLl4HQBw&zoom=1&iact=hc&vpx=766&vpy=149&dur=236&hovh=189&h
ovw=267&tx=126&ty=89&sig=104482923673079099146&page=1&tbnh=128&tbnw=164&start=0&ndsp=18&ved=1t:429
,r:4,s:0,i:82
ลาดับความเข้มข้น ขยายตัวของความขัดแย้ง
สิ ทธิมนุษยชนในระหว่ างการต่ อสู้
สิ ทธิมนุษยชน กับ รากเหง้ าความขัดแย้ ง
ที่มา ของ ความขัดแย้ งที่ยืดเยือ้
ปัจจัยภายนอก อิทธิพลประเทศ
จ้าวอาณานิคม
โลกภิวตั น์ ฯ
ความต้องการการยอมรับ- เป็ นปัจจัยด้าน
ความคิด/คุณค่าของสังคม เช่น การยอมรับ
เรื่ องอัตลักษณ์ วัฒนธรรม ค่านิยม และ สิ ทธิ
ดั้งเดิมต่างๆ
แบบแผนการเชื่อมต่อกับ
เศรษฐกิจโลก (พึ่งพา หรื อ
เป็ นอิสระแค่ไหน)
การเกิดเกิดขึ้น
และขยายตัวของ
สังคมที่
หลากหลาย แรงงานอพยพ
ความต้ องการเข้ าถึง – เป็ นปั จจัยด้ านโครงสร้ าง
การเมืองการปกครอง เช่น การมีสว่ นร่วมที่มี
ประสิทธิผลในทางการเมือง เศรษฐกิจ และ
กระบวนการตัดสินใจ
ปัจจัยภายในทาง
ประวัติศาสตร์
การก่อตัวของรัฐ
และสังคม
ความต้องการด้านความมัน่ คง- เป็ นปัจจัยโครงสร้าง
พื้นฐานต่าง ๆ เช่น ความมัน่ คงในชีวิตและทรัพย์สิน
อาหาร และ ที่อยูอ่ าศัย
(Edward E. Azar, The management of protracted social conflict: Theory and cases, Hampshire,
UK. : Dartmouth, 1990. P. 8 )
รัฐในฐานะที่เป็ นผู้
มีส่วนในการ
แก้ปัญหา (ความ
ขอบธรรม ศักยภาพ
และ การสังกัดกลุ่ม
ของรัฐ
แบบแผนทางการ
เมือง และ ความ
เชื่อมโยงกับ
ทหาร (อุปถัมภ์
หรื อ เป็ นอิสระ)
สภาพการถูก
ริ ดรอน หรื อ
การปฏิเสธ
ความต้องการ
ด้านต่าง ๆ ของ
มนุษย์
สิ ทธิมนุษยชน กับ สั นติวธิ ี
ความเชื่อเกี่ยวกับสันติวธิ ี
•
•
•
•
•
การยอมจานน อยูเ่ ฉย ๆ เป็ นสันติวิธี
สันติวิธีคือการไม่ใช้อาวุธเพราะไม่มีโอกาส
สันติวิธี เป็ นวิธีสาหรับคนขลาด
สันติวิธีสูอ้ าวุธไม่ได้
สันติวิธีตอ้ งชนะ หรื อฝ่ ายตรงข้ามแพ้ เสี ยหาย
ข้อพิจารณาหลักการพื้นฐานของสันติวธิ ี
• ความเข้าใจเรื่ องอานาจและความรุ นแรง – ทฤษฎีอานาจที่แตกต่าง
• วิธี กาหนด เป้ าหมาย (means justify ends)
• การยึดหลักความจริ ง และ การเปลี่ยนแปลงสถานภาพความสัมพันธ์ที่
เป็ นอยู่ -- การเปลี่ยนใจและเปลี่ยนพฤติกรรมฝ่ ายตรงข้าม โดยปราศจาก
อาวุธ และความเกลียดชัง
• เป้ าหมายเพื่อความยุติธรรม -- การคุม้ ครองสิ ทธิมนุษยชน
สันติวิธีแบบคานธี
สันติวิธีเป็ นเรื่ องจิตวิญญาณ ต้องมีศรัทธาเป็ นเครื่ องยึดเหนี่ยว
เป็ นศาสตร์ และ ศิลป์ ต้องการความรู ้ และ วิธีการ
สันติวิธีไม่ใช่เรื่ องปัจเจกเท่านั้น แต่ตอ้ งอาศัยพลังมวลชนที่ตื่นตัว
ผูป้ ฏิบตั ิการสันติวิธีตอ้ งอาศัยความเห็นอกเห็นใจผูเ้ สี ยเปรี ยบเป็ นพื้นฐาน
และต่อสู่ร่วมกับผูเ้ สี ยบเปรี ยบอย่างสร้างสรรค์
• กล้าหาญอย่างสร้างสรรค์ ปราศจากความกลัว สื่ อสัตย์
• วินยั และ การกากับตัวเอง อหิ งสาคือการไม่ใช้ความรุ นแรง กาย วาจา ใจ
• ยืนหยัดในความจริ ง สัตยาเคราะห์ (ปฏิบตั ิการท้าทายความถูกต้อง)
(จาก Glend Paige)
•
•
•
•
กลไกสาคัญของสันติวิธี
•
•
•
•
•
การเข้าถึงความจริ ง กระบวนการรวบรวมและวิเคราะห์ปัญหา
การสื่ อสารสองทาง
การสร้างเสริ มอานาจฝ่ ายเสี ยเปรี ยบหรื อ ด้อยโอกาส
จินตนาการ และ ความคิดสร้างสรรค์
มวลชน และ คนที่สาม (third party)
สั นติวธิ ีกบั การแปลงเปลีย่ นความขัดแย้ ง (CONFLICT
TRANSFORMATION)
สังคมสันติวิธี
•
•
•
•
•
•
•
พลเมืองไม่ถืออาวุธ
เคารพหลักนิติธรรม (กฎธรรมชาติ)
การควบคุมตนเอง ความใจกว้าง
การมีส่วนร่ วมในกระบวนการประชาธิปไตย
สถาปนาความยุติธรรม
วัฒนธรรมขัดแย้งที่สร้างสรรค์ (จาก Dieter Senghaas)
การเคารพสิ ทธิมนุษยชน