Phylum Phoronida (Phoronids)

Download Report

Transcript Phylum Phoronida (Phoronids)

เอกสารประกอบการบรรยาย
วิชาแพลงก์ตอนวิทยา
Phylum Phoronida, Ectoprocta, Brachiopoda
Mollusca, Echinodermata, Hemichordata and Chordata
อ.จรุ งจิต กรุ ดพันธ์
โครงการจัดตั้งภาควิชาประมง
คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
Phylum Phoronida
(Phoronids)
Phoronids เป็ นแพลงก์ ตอนชั่วคราว ตัวอ่ อน เรี ยกว่ า actinotrocha larva
Phylum Ectoprocta (Bryozoa)
(Moss Animals)
ตัวอ่ อนของ ectoproct จะดารงชีวติ แบบแพลงก์ ตอนชั่วคราว ตัวอ่ อนว่ ายนา้
เป็ นอิสระเรี ยกว่ า cyphonautes larva
Phylum Brachiopoda
(Lamp shells)
ตัวอ่ อนของหอยตะเกียงเป็ นแพลงก์ ตอนชั่วคราว (meroplankton)
ตัวอ่ อนของหอยตะเกียงที่พบบ่ อย ได้ แก่ Lingula และ Pelagodiscus
Lingula larva - ลาตัวเป็ นรู ปครึ่งวงกลม หรื อรู ปไข่ ตัวอ่ อนมีสีเหลืองอ่ อน
ยาวประมาณ 0.3-1.5 มิลลิเมตร
Pelagodiscus larva – มีรูปร่ างคล้ าย Lingula larva แต่ ขนาดเล็กกว่ า ลาตัว
ยาวประมาณ 0.4-0.7 มิลลิเมตร และมี tentacle หรื อ setae ยื่นออกมาจากฝา
Phylum Mollusca
(Mollusks)
กลุ่มแพลงก็ตอนถาวร ได้ แก่
pelagic mollusk ส่ วนใหญ่ เป็ นหอยฝาเดียว ใน Class Gastropoda , Subclass
Opistobranchia และ Subclass Prosobranchia
กลุ่มแพลงก์ ตอนชั่วคราว ได้ แก่
ตัวอ่ อนของหอยฝาเดียว และตัวอ่ อนของหอย 2 ฝา ใน Class Bivalvia
(Pelocypoda) และตัวอ่ อนปลาหมึกใน Class Cephalopoda
Holoplankton
แพลงก์ ตอนถาวรใน Phylum Mollusca แบ่ งออกได้ 2 Subclasses ดังนี ้
Subclass 1 Opistobranchia (Pteropods)
ลักษณะทั่วไป
1. หัว (head)
หอยใน Order Thecosomata (shelled pteropod) มีหัวแยกจาก
ลาตัวไม่ ชัดเจน แต่ Order Gymnostomata (naked pteropods หรื อ sea
butterflies) ส่ วนหัวจะแยกจากลาตัวชัดเจน บนหัวมี tentacle 1 คู่ ตาขนาด
เล็กหรื อไม่ มีตา
(ต่อ)
2. เท้ า (foot)
หอยใน Class Opistobranchia มี foot ประกอบด้ วย
posterior lobe 1 แผ่ น และ parapodium (fin) 1 คู่ เพื่อใช้ ว่ายนา้
บางชนิด fin จะมี tentacular lobe หรื อมีจุดสี โดยทั่วไปหอยใน
Order Thecosomata มี foot อยู่ด้านบนสุดของลาตัว ส่ วน Order
Gymnosomata ที่ตงั ้ ของ fin และ foot จะอยู่ต่ากว่ าหัว
3. แมนเทิล (mantle)
โดยทั่วไปแมนเทิลจะยาวจรดขอบด้ านหลังของ visceral
mass และบางครั ง้ มีขนาดใหญ่ จนคลุม visceral mass ได้ มดิ
ช่ องว่ างระหว่ าง mantle และ vesceral mass เรี ยกว่ า mantle cavity
รู ก้นและช่ องขับถ่ ายของเสียอยู่ด้านหลังลาตัว เหนือ mantle
cavity เป็ นที่ตงั ้ ของ mantle gland 1 ต่ อม
(ต่อ)
4. เปลือก (shell)
Order Thecosomata มีเปลือก ประกอบด้ วยแคลเซียม
การเวียนของเปลือกเป็ นแบบเวียนซ้ าย (left handed) หรื อ
เปลือกตรงไม่ มีการเวียน บางชนิดเปลือกใส รู ปร่ างของเปลือก
แตกต่ างกัน
Subclass 2 Prosobranchia
พบในทะเลและนา้ จืด มีเหงือก และ mantle cavity อวัยวะภายใน
อยู่ด้านหน้ าของลาตัว มีเปลือกหุ้มตัว มี 1 auricle และไต 1 ข้ าง บางครั ง้ มี
operculum มี proboscis กลุ่มที่สาคัญคือ heteropod
Suborder Heteropoda
ลักษณะทัว่ ไป
1. หัว (Head) มีหัวใหญ่ อยู่ด้านบนสุดของลาตัว มี tentacle และตา
2. เท้ า (Foot) แบ่ งเป็ น 3 ส่ วน คือ anterior, median และ posterior anterior
และ median มักรวมกันเป็ นแผ่ นหรื อครี บใช้ ว่ายนา้ ด้ านท้ องของแผ่ นที่ว่าย
นา้ มี sucker posterior foot ยื่นยาวไปทางส่ วนท้ าย เป็ น caudal fin
3. แมนเทิล (Mantle) โดยทั่วไป mantle จะคลุมอวัยวะภายในจนมิดรู ก้นซึ่ง
เรี ยกว่ า nephridiopore รู ก้นและ genital pore เปิ ดออกที่ mantle cavity
4. เปลือก (shell) เปลือกบางและใส เปลือกเป็ นแบบเวียนขวา (righthanded spiral)
Meroplankton
ประกอบด้ วยตัวอ่ อนของหอย และตัวอ่ อนของปลาหมึก
ตัวอ่ อนของหอยเรี ยกว่ า trochophore larva เป็ นตัวอ่ อนระยะแรก พบ
ในหอยบางชนิด จะเจริญอยู่ภายในไข่ และฟั กออกมาเป็ นตัวอ่ อนระยะที่
เรี ยกว่ า เวลิเจอร์ (veliger larva) ซึ่งจะมีอวัยวะที่ช่วยว่ ายนา้ เรี ยกว่ า เวลัม
(velum) เป็ นพูขนาดใหญ่ รูปครึ่งวงกลม 2 พู และมีขอบที่มีขนยาว นอกจากนี ้
มี foot ตา และ tentacle เปลือกเริ่มมีตงั ้ แต่ ระยะ trochophore larva
ตัวอ่ อนปลาหมึกมีลักษณะคล้ ายตัวเต็มวัยแต่ มีขนาดเล็กกว่ า ส่ วน
ใหญ่ เป็ นตัวอ่ อนปลาหมึกพวก Cranchid squid
Phylum Echinodermata
(Spiny-Skinned Animals)
ตัวเต็มวัยเป็ นเบนโธสที่อยู่ในทะเล ลักษณะลาตัวสมมาตรแบบรั ศมี ผิว
ชัน้ นอกประกอบด้ วย calcareous ossicle ตัวอ่ อนของไฟลัมมีแขน (arms) ซึ่ง
มีร่องและขอบแขนมีขน แบ่ งได้ 3 class ดังนี ้
Class 1 Asteroidea (Star fish)
มีตัวอ่ อน 2 ระยะ คือ
ระยะแรก เรี ยกว่ า bipinnaria larva – มีวงแขน 1 วง โค้ งไปทางด้ านเหนือ
ปาก และอีกวง อยู่ด้านล่ างลาตัว
ตัวอ่ อนระยะที่ 2 เรี ยกว่ า brachiolaria larva – มีแขน 3 แขน
Class 2 Holothuroidea (Sea cucumbers)
มีตัวอ่ อน 2 ระยะ คือ
ระยะแรก เรี ยกว่ า auricularia larva – มีวงแขน 2 วง วงแรกอยู่เหนือปาก วงที่
2 อยู่ด้านล่ างลาตัว
ตัวอ่ อนระยะที่ 2 เรี ยกว่ า doliolaria larva – บางส่ วนของวงแขนทัง้ สองเสื่อม
หายไป มีการเรี ยงกันของวงแขนใหม่ โดยเกิดเป็ นวงตามขวางลาตัว 3-5 วง
Auricularia larva
Doliolaria larva
Class 3 Echinoidea (Sea urchins)
มีตัวอ่ อน 2 ระยะ คือ
ระยะแรก เรี ยกว่ า pluteus larva – ตัวอ่ อนมีลักษณะแบนและมีวงขน 1 วง
ขดอยู่รอบปาก
ระยะที่ 2 เรี ยกว่ า echinopluteus larva – จานวนแขนมี 5 คู่
และความยาวแขนเพิ่มขึน้ แขนของตัวอ่ อนมีโครงสร้ าง (skeleton) รองรั บ
Class 4 Ophiuroidea (Brittle stars, basket stars และ serpent stars)
ตัวอ่ อนเรี ยกว่ า ophiopluteus larva ตัวอ่ อนระยะแรกมีลักษณะ
คล้ ายกับ pluteus larva แต่ การแบ่ งตัวของไข่ ระยะ gastrula มีการพัฒนาวง
แขนอย่ างช้ าๆ แขนจึงเกิดช้ ากว่ า มีจานวนแขนเพียง 4 คู่ และแขนของตัว
อ่ อนมีโครงสร้ าง (skeleton) รองรั บ
Class 5 Crinoidea (Feather stare, sea lilies)
ตัวอ่ อนเรี ยกว่ า doliolaria larva – มีรูปร่ างคล้ ายถังเบียร์ หรือรู ปไข่
มีวงขน 3-5 วง ตามขวาง ด้ านบนสุดมีขนรั บความรู้ สกึ เรี ยกว่ า apical sensory
tuft
Phylum Hemichordata
(Acorn worms)
ตัวอ่ อนเรี ยกว่ า tonaria larva – มีรูปร่ างคล้ าย doliolaria larva ต่ างกัน
ที่ tonaria larva มีวงขนรอบรู ก้น เรี ยกว่ า telotroch
Phylum Chordata
(Chordates)
แบ่ งออกเป็ นแพลงก์ ตอนถาวร และแพลงก์ ตอนชั่วคราว
แพลงก์ ตอนถาวร (Holoplankton)
เป็ นสัตว์ ใน Subphylum Urochordata มี 2 Classes ได้ แก่ Class
Larvacea และ Thaliacea
ลักษณะทั่วไป
แพลงก์ ตอนถาวรใน Suphylum นีม้ ีช่ ือสามัญว่ า ทูนิเขท (tunicate)
หรื อ ยูโรคอร์ เดท (urochordates) ลาตัวหุ้มด้ วยโครงสร้ างคล้ ายถุงหรื อถัง
เบียร์ โครงสร้ างประกอบด้ วยทูนิซนิ (tunicin) มีองค์ ประกอบคล้ ายเซลลูโลส
ทูนิเขทระยะตัวอ่ อนมีลักษณะเหมือนสัตว์ มีกระดูกสันหลัง คือ มีโนโตคอร์ ดที่
ส่ วนหาง (ยกเว้ น Class Larvacea มีโนโตคอร์ ดทัง้ ตัวเต็มวัยและตัวอ่ อน) มีการ
หายใจหรื อแลกเปลี่ยนแก๊ สโดยผ่ านทางช่ องเหงือก (gill cleft) ไม่ มีอวัยวะรั บ
ความรู้ สกึ ระบบหมุนเวียน เป็ นแบบเปิ ด การสืบพันธุ์มีทงั ้ แบบมีเพศและไม่ มี
เพศ การเจริญเติบโตเป็ นแบบ metamorphosis ตัวอ่ อนมีรูปร่ างคล้ ายตัวอ่ อน
กบ ตัวอ่ อนมีช่ ือเรี ยกว่ า tadpole larva
แพลงก์ ตอนชั่วคราว (Meroplankton)
อยู่ใน Subphylum Vertebrata ประกอบด้ วยแพลงก์ ตอนปลา
(ichthyoplankton) ได้ แก่ ไข่ ปลา และตัวอ่ อนของปลา
ลักษณะที่นิยมนามาศึกษาในตัวอ่ อนปลาเพื่อจัดจาแนกกลุ่ม
1. รู ปร่ างของส่ วนต่ างๆ
2. ขนาดของหัว จะงอยปาก ตา และปาก เป็ นต้ น
3. ตาแหน่ ง ได้ แก่ ครี บ ปาก และรู ก้น
4. ลักษณะทางเดินอาหาร
5. จานวนส่ วนต่ างๆ ได้ แก่ มัดกล้ ามเนือ้ ก้ านครี บ ฯลฯ
6. สี