เอกสารประกอบการบรรยาย zooplankton

Download Report

Transcript เอกสารประกอบการบรรยาย zooplankton

แพลงก ์ตอนสัตว ์
(Zooplankton)
ขวัญเรือน ศรีนุ้ย
สถาบันวิทยาศาสตร ์ทางทะเล
มหาวิทยาลัยบู รพา
การศึกษาแพลงก ์ตอนใน
ประเทศไทย
่ การศึกษาแพลงก ์ตอนในอ่าวไทยปี
• เริมมี
ค.ศ. 1899 โดย Johannes Schmidt
• ได้รายงานไว้ใน “The Flora of Koh
Chang”
• ในปี 1928-30 ได้มกี ารสารวจรอบโลก
“The Oceanographical Expedition
of the Carberg round the world
1928-30”
• 23 เมษายน 1929 ได้สารวจบริเวณเกาะ
• ในปี ค.ศ.1959-61 มีการสารวจโครงการพยา
นาค (NAGA)
• สารวจในอ่าวไทยทางด้าน ชีววิทยา เคมี และ
ฟิ สิกส ์ และตีพม
ิ พ ์ผลงานใน NAGA Report
• ศึกษาอนุ กรมวิธานของ Siphonophora,
Medusae, Euphausids, Copepoda,
Decapods, Mollusca, และ Tunicate
• Sudara, 1973a และ 1973b
แพลงก ์ตอนสัตว ์คืออะไร
่ องลอยไป
แพลงก ์ตอนสัตว ์ หมายถึง สัตว ์ทีล่
ตามกระแสน้ า ไม่สามารถสังเคราะห ์แสงได้ตอ
้ ง
่
กินแพลงก ์ตอนพืชและสารแขวนลอยอืนเป็
น
อาหาร โดยการกรองด้วยเหงือก หรืออวัยวะ
่ เซลล ์
สาหร ับการกรองประกอบด้วยสัตว ์ทีมี
่ ขนาดใหญ่
ขนาดเล็ก จนถึงสัตว ์หลายเซลล ์ทีมี
่ วนใหญ่เป็ นสัตว ์ไม่มก
้ ่
ซึงส่
ี ระดูกสันหลัง พบทังที
่
เป็
นแพลงก
์ตอนช
วคราวและแพลงก
ั
์ตอนถาวร
แบ่งตามลักษณะการ
(สุนีย ์, 2527)
ดารงชีวต
ิ
• แพลงก ์ตอนถาวร
(Holoplankton)
่ั
• แพลงก ์ตอนชวคราว
การแบ่งแพลงก ์ตอนตามการแพร่กระจายตาม
ความลึก
่
• พลู สตอน หมายถึงสัตว ์ทีอาศ
ัยอยู ่ผวิ หน้าน้ า
่ ชวี ต
่
• นู สตอน หมายถึงสิงมี
ิ ทีอาศ
ัยอยู ่ผวิ หน้าน้ าไม่
•
•
•
•
เกิน 10 มิลลิเมตร
่ ชวี ต
เอพิเพลาจิค หมายถึงสิงมี
ิ อาศ ัยอยู ่บริเวณน้ า
้
ตืนไม่
เกิน 300 ม.
่
เมโซเพลาจิค หมายถึงสัตว ์ทีอาศ
ัยอยู ่ทความลึ
ี่
ก
ระหว่าง 300-1000 ม.
่
แบทีเพลาจิค หมายถึงสัตว ์ทีอาศ
ัยอยู ่ทความลึ
ี่
ก
ระหว่าง 1,000-4,000 ม.
่
อะบิสโซเพลาจิค หมายถึงสัตว ์ทีอาศ
ัยอยู ่ในเขตน้ า
ลึก 3,000-4,000 ม.
การแบ่งกลุ่มแพลงก ์ตอนโดยการจาแนกตาม
ขนาด(Dussart,1965)
Group
1. Ultrananoplankton
2. Nanoplankton
Size
limits
2 m
2-20 m
Major organisms
Free bacteria
Fungi, small flagellates, small
diatoms
3. Microzooplankton
20-200 m Most phytoplanktonspecies,
4. Mesoplankton
20 m -2 Cladocerans, copepods,
Larvaceans
mm
2 mm- 20 Pteropods, copepods,
euphausiids, chaetognaths
mm
2 mm- 200 Cephalopods, euphausiids,
sergestids, myctophids
mm
5. Macroplankton
6. Micronekton
foraminiferans, ciliates,
rotifers, copepod nauplii
ความสาค ัญของแพลงก ์ตอนในระบบนิ เวศ
ของแหล่งน้ า
จัดอยู ่ในลาด ับฑุตย
ิ ภู มข
ิ องห่วงโซ่อาหาร
เป็ นอาหารของสัตว ์น้ าและมนุ ษย ์
้
ดมสมบู รณ์ของแหล่งทา
เป็ นตัวชีวัดความอุ
้ ณภาพน้ า
การประมงและเป็ นต ัวบ่งชีคุ
เป็ นตัวกลางในการถ่ายทอดสารมลพิษไปตาม
สายใยอาหาร
้
เป็ นข้อมู ลพืนฐานในการศึ
กษาทางด้าน
นิ เวศวิทยา
ห่วงโซ่อาหาร
(food chain)
่
สรุปไฟลัมของแพลงก ์ตอนสัตว ์ทีพบ
เสมอ 14 ไฟลัมได ้แก่
• Phylum
•
•
•
•
Ectoprocta
Phylum Cnidaria
Phylum
Ctenophora
Phylum
Nemertinea
Phylum
Nematoda
• Phylum Arthropoda
• Phylum
•
•
•
•
Chaetognatha
Phylum Tentaculata
Phylum Mollusca
Phylum
Echinodermata
Phylum Chordata
1.Phylum
Ectoprocta
• ตัวอ่อนของ ectoproct หรือ bryozoan
่ั
•จะดารงชีวต
ิ แบบแพลงก ์ตอนชวคราว
•ต ัวอ่อนว่ายน้ าอิสระ เรียกว่า cyphonautes
larva
2. ไฟลัมโปรโตซ ัว
(Phylum
Protozoa)
2.1 ฟอแรมมินิเฟอราน (foraminiteran)
• จ ัดอยู ่ในคลาส ซาโคดินา (Class Sarcodina)
้
• ส่วนใหญ่เป็ นสัตว ์หน้าดินพบชุกชุมทังหมด
28 ชนิ ด โดยพบใน
่
เขตร ้อนและกึงเขต
่
้
ร ้อนถึง 22 ชนิ ด ทีเหลื
อพบในเขตหนาวและแถบขัวโลก
่ แสงส่องถึง (euphotic
• ชีวติ ส่วนใหญ่ในช่วงแรกอยู ่ในเขตทีมี
่ นโต
zone) และเมือมั
่
เต็มทีจะอาศ
ัยอยู ่ลก
ึ ลงไปแต่ส่วนใหญ่พบอยู ่เหนื อระดบ
ั 200 เมตร
้ เปลือกหุม
่ ขนาดและสีทแตกต่
• พวกนี มี
้ เซลล ์ทีมี
ี่
างกันส่วนใหญ่ม ี
ขนาดเส้นผ่าน
ศู นย ์กลางหรือมีความยาวน้อยกว่า 1 มิลลิเมตร แต่กม
็ บ
ี างชนิ ดที่
มีขนาดหลาย
•มีขาเทียมแบบไรโซโปเดีย (rhizopodia) ใช้จบั อาหารซึง่
่ และคร ัสเตเชียน
เป็ นพวกโปรโตซ ัวอืนๆ
่ ่ตามพืนท้
้ องทะเลกินสาหร่าย
ขนาดเล็กๆ ส่วนพวกทีอยู
และไดอะตอมเป็ นอาหาร
บางชนิ ดมีสาหร่ายซูแซน
เทลลี (Zooxanthellae ) อาศ ัยร่วมอยู ่
่
•เจริญเติบโตโดยการสร ้างช่องอืนๆ
ต่อไปช่องแต่ละช่อง
่
้ั
อกน
ั ทาให้มโี ป
รูหนึ่ งรู หรือหลายรู เชือมต่
จะมีผนังกนและมี
่ั
่
รโตพลาสซมเชื
อมตลอดทุ
กช่อง โดยมีชอ
่ งสุดท้ายเป็ น
ช่องเปิ ดขนาดใหญ่
•เปลือกเป็ นสารประกอบพวกแคลเซียมคาร ์บอเนตมี
ลักษณะเป็ นรู พรุนและแบ่งออกเป็ นช่องๆ (chamber) ซึง่
่ ั (proloculum)
ช่องเล็กสุดเรียกว่าโพรโรคู ลม
้ องทะเล
2.2 Globigerina เปลือกพบหนาแน่ นตามพืนท้
้ หลายตารางไมล
่
้
ครอบ คลุมพืนที
์ พวกนี เปลื
อกเป็ น
่
่ น
้
สารประกอบพวกแคลเซียมคาร ์บอเนต เมือสะสมที
พื
2.3 ทินทินนิ ด (tintinnid)
•จัดอยู ่ในคลาสซิลเิ อต้า (Class Ciliata) อ ันดับส
ไปโรตริชา (Order Spirotricha)
่ นสารประกอบ
•ทินทินนิ ดมีเปลือก (lorica) ซึงเป็
พวกไคตินและเปลือกมีรูปร่างแตกต่างกัน
• เปลือกมีรูปร่างคล้ายแจกันหรือโถแก้วบางชนิ ด
มีทรายอินทรีย ์สารหรือคอคโคลิทติดอยู ่ทผิ
ี่ วของ
เปลือกตัวของมันหดอยู ่ภายในเปลือก โดยมี
้ นตัวดึงให้ยด
ื หรือหดได้
กล้ามเนื อเป็
•บริเวณปากมีขนเรียงก ันเป็ นแผงประมาณ 16้
22 เส้น ช่วยในการกินอาหารพวกนี พบตาม
ชายฝั่ งทะเลโดย เฉพาะบริเวณปากแม่น้ า
3. ไฟลัมไนดา
เรีย
(Phylum
Cnidarian)
3.1 ไซโฟโนฟอร ์ (siphonophores)
้ ่ก ันเป็ นโคโลนี จัดเป็ นแพลงก ์ตอนถาวร
• พวกนี อยู
• เป็ นแพลงก ์ตอนสัตว ์ขนาดใหญ่
• จัดอยู ่ในคลาส ไฮโดรซ ัว (Class Hydrozoa)
่ แตกต่
่
• โดยแต่ละตัวจะมีรูปร่างและหน้าทีที
างก ัน เช่น
้ เข็ม
กินอาหาร ป้ องก ันตัวและลอยตัว เป็ นต้น พวกนี มี
พิษ (nematocyst) ใช้จบ
ั อาหารและป้ องกน
ั ตัวบาง
ชนิ ดพิษของมันรุนแรงมากทาให้มนุ ษย ์ถึงตายได้ถา้
ถูกบริเวณหนวด (tentacles) ของมันเช่น Physalia
่
3.2 ไซโฟโซน (scyphozoans) จัดอยู ่ในคลาส
ไซโฟซ ัว (Class Scyphozoa) เป็ นแมงกะพรุน
่ จริงพบ แพร่กระจายอยู ่ทวไปมี
่ั
ทีแท้
รูปร่าง
่
เหมือนร่มหรือระฆังทีประกอบไปด้
วยวุน
้ เป็ น
ส่วนใหญ่ กระเพาะอาหารมักแยกออกเป็ น 4
่ ั (velum) พวกนี ้
แฉก บริเวณขอบร่มไม่มวี ล
ี ม
่
มีเข็มพิษช่วยในการจับเหยือและป้
องกันตัว
เช่น Rhizostoma
4. ไฟลัมทีโนฟอรา
(Phylum
Ctenophora)
้ ประมาณ 90 ชนิ ด
• สมาชิกในกลุ่มนี มี
• ลาตัวเป็ นวุน
้ และมีสมมาตรแบบร ัศมี จึงทาให้ม ี
•
•
ลักษณะคล้ายเมดู ซามากแต่ไม่มเี ข็มพิษ หวีวุน
้ มี
่ (comb rows) อยู ่ 8 แถวทีสะท้
่
อนแสง
แถวของซีหวี
่
่
ได้ชว
่ ยในการเคลือนที
โดยมีระบบประสาทเป็ นตัวควบคุมอ ัตราความเร็วและ
่
่ มีหนวด 2 เส้น ทียาวมาก
่
ทิศทางของการเคลือนที
่
้ รูปร่าง
ใช้เป็ นตัวจับเหยือและป้
องกน
ั ตัว พวกนี มี
้
แตกต่างก ันส่วนใหญ่เป็ นทรงกลมมีขนาดตังแต่
2–3
มิลลิเมตร จนถึง 1–2 เซนติเมตร บางชนิ ดมีรูปร่าง
แบนยาวอาจยาวถึง 1–2 เมตร
้ นอาหาร (carnivores) อาหารส่วนใหญ่
กินเนื อเป็
5. ไฟลัมนี เมอ
เทีย
(Phylum
Nemertea)
• สว่ นใหญ่อาศยั อยูห
่ น ้าดินและมีตวั อ่อนเป็ น
แพลงก์ตอนชวั่ คราวเกือบทัง้ หมด
ั ้ แบนและทางสว่ นท ้ายของลาตัวจะ
• ลาตัวจะสน
ขยายออกเป็ นครีบและมีครีบหางทาหน ้าทีใ่ น
การว่ายน้ า
6. ไฟลัมโรติ
เฟอรา
(Phylum
Rofifera)
• สว่ นใหญ่พบในน้ าจืด 80 % หรือบริเวณปาก
ั อยูใ่ น
แม่น้ าทีม
่ ค
ี วามเค็มตา่ พบน ้อยชนิดทีอ
่ าศย
น้ าทะเล
• ลาตัวแบ่งออกเป็ นสว่ นหัว ลาตัวและเท ้า ซงึ่ อาจ
มีเปลือก (lorica) หุ ้มหรือไม่ก็ได ้
• บริเวณสว่ นหัวมีซเี ลียอยูเ่ ป็ นวง (corona) ทา
่ าก
หน ้าทีพ
่ ัดโบกและกรองอาหารเข ้าสูป
่ Brachionus ทีใ่ ชเป็
้ นอาหารเลีย
ตัวอย่างเชน
้ ง
ั ว์น้ า
ลูกสต
6. ไฟลัม
แอนนี ลด
ิ า
(Phylum
Annelida)
• จัดอยู ่ในคลาสโพลีคตี า (Class Polychaeta)
หรือไส้เดือนทะเล
่ั
• ส่วนใหญ่ทพบเป็
ี่
นแพลงก ์ตอนชวคราวในช่
วง
่ นต ัวอ่อนหรือในขณะผสมพันธุ ์
ทีเป็
8. ไฟลัม
มอลลัสกา
(Phylum
Mollusca)
8.1 เทอร ์โรปอด (pteropods) จัดอยู ่ในซ ับออเดอร ์
โอพิลโทแบรนเชีย (Suborder Opisthobranchia)
้ั
• อาศ ัยอยู ่บริเวณผิวหน้าน้าทะเลบางครงพบรวมกั
น
เป็ นกลุ่ม ส่วนของเท้า (foot) จะขยายแผ่ออกเป็ น
่
แผ่นหรือครีบขนาดใหญ่ 2 อ ัน ทาหน้าทีในการ
่
่
เคลือนที
และลอยตั
วไม่มเี หงือกและเป็ นกระเทย เช่น
่ นอาหารที่
Spiratella, Limaca และ Clione ซึงเป็
สาคัญของปลาวาฬ
่ มเี ปลือกกินอาหาร
• เทอร ์โรปอดมี 2 ชนิ ดคือ พวกทีไม่
่ (predator) ก ับพวกทีมี
่ เปลือก
โดยการล่าเหยือ
้ เปลือกบางขดเป็ นวง
(shell pteropods) พวกนี มี
8.2 เฮดเทอร ์โรปอด (heterropods)
• จัดอยู ่ในซ ับออเดอร ์สเตพโตนิ วรา (Suborder
่
Streptoneura) พบมากในเขตร ้อนและกึงเขต
ร ้อน
่ ความลึกประมาณ 40 เมตร
• พบในอ่าวไทยทีมี
• ลาต ัวโปร่งใสส่วนของเปลือกลดขนาดลง ส่วน
่
หัวและเท้ามีขนาดใหญ่เมือเที
ยบกับลาตวั
• ส่วนของเท้าพัฒนาไปเป็ นครีบช่วยในการ
ลอยต ัวเช่นเดียวกับเทอร ์โรปอด แต่ม ี 1–3 อ ัน
มีหนวด 1 คู ่ และตาขนาดใหญ่ 1 คู ่ บางชนิ ดมี
ปุ่ มดูดและฝาปิ ดเปลือก (operculum) ต ัวที่
รู ้จักกันดี ได้แก่ Atlanta, Carinaria และ
ตัวอ่อนหอยฝาเดียวและหอย
สองฝา
•ในหอยฝาเดียวโบราณมีตวั อ่อนในระยะนี ้
แต่หอยฝาเดียวส่วนใหญ่วางไข่ในแคปซูล
่ กออกจากไข่จะเป็ นตัวอ่อนระยะวิล ิ
• เมือฟั
เจอร ์ (veliger larvae) มีเปลือก มีวล
ี ม
ั
่ ายปี กขนาดใหญ่ 1 คู ่
(velum) ทีคล้
•มีซเี รียล้อมรอบช่วยในการว่ายน้าและ
กรองอาหารเข้าสู ป
่ าก หอยสองฝาและหอย
้ นก ัน
งาช้างมีตวั อ่อนในระยะนี เช่
Phylum
Brachiopoda
• ตัวอ่อนของหอยตะเกียงจัดเป็ นแพลงก์ตอน
ชวั่ คราว
• สกุลทีพ
่ บบ่อย Lingula
• ลาตัวของLingula larva จะเป็ นรูปครึง่ วงกลม
หรือรูปไข่ ตัวอ่อนมีสเี หลืองยาวประมาณ 0.31.5 มม.
9. ไฟลัมอาร ์โทร
โปดา
(Phylum
Arthropoda)
• พบมากกว่า 4,500 ชนิ ด และอาศ ัยอยู ่ในทะเล
•
•
•
•
มากกว่า 90 เปอร ์เซ็นต ์
้
Order copepoda โคพีพอดทังหมด
11,500
species 200 families 1,650 genera (Humes
้ เป็
่ นพาราสิต (parasites)
1994) รวมทังที
่
้ านวน
โคพีพอดเป็ นแพลงก ์ตอนสัตว ์ทีพบมากทั
งจ
่ ความสาคญ
ชนิ ดและปริมาณและเป็ นกลุ่มทีมี
ั มาก
่ ดของแพลงก ์ตอนสัตว ์ในทะเล
ทีสุ
้ ขนาดเล็กยาวประมาณ 0.2 มิลลิเมตร ถึง 2
พวกนี มี
เซนติเมตร
้
โคพีพอดมีปล้องทังหมด
15 ปล้อง โดยแบ่งออกเป็ น
่
้
Calanoida
Harpacticoida
Poecilostomatoida
Cyclopoida
9.2 ไมซิด
(mysid
หรือ opossum
shrimps)
• จัดอยู ่ในอ ันด ับไมซิดาเซีย (Order Mysidacea)
• พบมากตามปากแม่น้าและชายฝั่ งทะเลและมักอยู ่
•
•
•
•
รวมกันเป็ นฝู งใหญ่ๆ มีรูปร่างคล้ายกุง้ ลาตวั ขาว
โปร่งใสส่วนของเปลือกบางและหุม
้ ส่วนนอกเกือบ
้
่
ทังหมดแต่
ไม่เชือมติ
ดกับปล้องอก
ตามีกา้ นและเป็ นตาประกอบ (compound eyes)
รยางค ์อกเป็ นแบบไบรามัส (biramous) มี 8 คู ่
ส่วนท้องมีรยางค ์ 6 คู ่ โดย 5 คูแ
่ รกเป็ นขาว่ายน้ า
่ ขนาดเล็ก
(swimmeret) ทีมี
่
่ ยกว่า แพน
รยางค ์คูท
่ ี่ 6 เปลียนรู
ปไปเป็ นส่วนทีเรี
หาง (uropod)
• ไมซิดจะมีสตาโตซิสท ์ (statocyst) เป็ นอวัยวะ
อยู ่ทแพนหางและไม่
ี่
มเี ฟอร ์คอลเรไม (furcal
่ นข้อ
rami) แต่จะมีหนามตรงปลายแทนซึงเป็
่
แตกต่างระหว่างไมซิดกับคร ัสเตเชียนชนิ ดอืน
่ ลก
ทีมี
ั ษณะคล้ายกุง้
• ส่วนของแพนหางและหาง (telson) จะรวมกัน
เป็ นส่วนของหาง (tail fan) ช่วยในการว่ายน้ า
• ไมซิดตัวเมียจะมีอูสทีไจท ์ (oostegites) อยู ่ที่
่ บไข่ ไข่อาจถูกเก็บไว้ในทีเก็
่ บ
ส่วนอกเป็ นทีเก็
้
ไข่จนมีรูปร่างคล้ายต ัวโตเต็มวัยจากนันจะถู
ก
ปล่อยลงในน้ าหรือไข่อาจถูกปล่อยลงในน้ า
แล้วจึงฟั กเป็ นตัวอ่อนระยะนอเพลียส
(nauplius) ก็ได้ ส่วนไมซิดตัวผู ไ้ ม่มอ
ี ู สทีไจท ์
แต่ขาว่ายน้ าคูท
่ ี่ 4 จะมีขนาดใหญ่กว่าคูอ
่ นๆ
ื่
• ไมซิดกินแพลงก ์ตอนขนาดเล็กเป็ นอาหาร
และมันจะถูกปลากินเป็ นอาหารอีกทอดหนึ่ง
9.3 ยู ฟาวซิด
(euphausiids
หรือ krill shimp)
• จัดอยู ่อ ันดับยู ฟาวซิเซีย (Order Euphausiacea)
้ ลก
• พวกนี มี
ั ษณะคล้ายไมซิดมากแต่มข
ี นาดใหญ่กว่า
•
•
•
•
้
ลาตัวยาวตังแต่
8 มิลลิเมตรถึง 6 เซนติเมตร
ลาตัวใสแต่บางชนิ ดมีสแ
ี ดงตามีกา้ นตา
รยางค ์ส่วนอกเป็ นไบรามัสและไม่มส
ี ่วนใด
่
้ วนของคารา
เปลียนแปลงไปเป็
นแมกซิลเิ ปด พวกนี ส่
่ ม
่
เปส (carapace) ทีหุ
้ ส่วนอกจะเชือมติ
ดก ับส่วนอก
้
ทังหมด
่ างจากกุง้ จริงๆ
มีเหงือกโผล่ออกมานอกคาราเปสซึงต่
ยู ฟาวซิดกินโคพีพอดเป็ นอาหารและตัวมันเป็ น
อาหารของสัตว ์หลายชนิ ด เช่น ปลา นกทะเล และ
ปลาวาฬ ตัวอย่างเช่น Pseudoeuphausia
latifrons ชาวบ้านเรียกว่า เคย
9.4 ออสตราคอด
(ostracods หรือ
bean clams)
• จ ัดอยู ่ในอ ันด ับออสตราโคดา (Order Ostracoda)
้
้ าจืดและทะเลส่วนมากอาศ ัยอยู ่ตามพืนท้
้ องทะเล
• พบทังในน
•
•
•
•
หรือติดตามสาหร่ายหรืออาจขุดรู อยู ่ตามโคลนหรือฝั งตัวอยู ่
้
ตามพืนทราย
้ ขนาดเล็กประมาณ 1–2 มิลลิเมตร ลาตัวแบนข้างมี
พวกนี มี
้
ตาประกอบ 1– 2 อ ัน ขึนอยู
่กบ
ั ชนิ ดของมัน
มีเปลือก (carapace) 2 อ ัน ประกบกันและมีสน
ั (hinged) ยึด
้
ติดกันคล้ายหอยสองฝา โดยหุม
้ ลาตวั ไว้ภายในเกือบทังหมด
่
้
่
และอาจยืนเฉพาะส่
วนปลายของรยางค ์ออกมาเท่านันเพื
อใช้
ในการว่ายน้ า
บางชนิ ดเรืองแสงได้
ออสตราคอดส่วนใหญ่จะเก็บไข่ไว้ในถุงเก็บไข่ทอยู
ี่ ่ทางส่วน
หลังของลาต ัว เช่น Cypridina
9.5 ไรน้ า
(Water flea)
• จัดอยู ่ในอ ันด ับคลาโดเซอรา (Order
•
•
•
•
Cladocera)
่ เปลือก 2 ฝา หุม
เป็ นพวกทีมี
้ ลาต ัวเกือบ
้
ทังหมด
้ อยู
่ ่นอกเปลือกและ
ยกเว้นส่วนหัวเท่านันที
เปลือกไม่มส
ี น
ั
ตัวใหญ่แบนข้าง (compressed) มีขนาดเล็ก
ประมาณ 0.5–1 มิลลิเมตร
มีตาประกอบ 1 อ ัน หนวดคูท
่ ี่ 2 มีขนาดใหญ่
้
9.6 ไอโซปอด
(Isopods )
• จัดอยู ่ในอ ันดับไอโซโปดา (Order Isopoda)
• ส่วนใหญ่อาศ ัยอยู ่หน้าดินไม่มเี ปลือกหุม้ ตัว
• ลาต ัวแบนจากบนลงล่าง (dorsoventally
flattened)
• มีรยางค ์อก 7 คูเ่ ป็ นแบบยู นิรามัส
(uniramous)
• มีตาประกอบและไม่มกี า้ นตา (sessile)
่ น
• มีเหงือกอยู ่บนรยางค ์ท้อง ไอโซปอดทีเป็
แพลงก ์ตอนและพบเสมอๆ ได้แก่ Eurydice
9.7 แอมฟิ พอด
(beach fleas,
scuds)
• จัดอยู ่ในอ ันดับแอมฟิ โปดา (Order
Amphipoda)
่
• ไม่มเี ปลือกหุม้ มีรูปร่างโดยทัวไปคล้
ายไอโซ
ปอด
• แต่มลี าต ัวแบนทางด้านข้าง (compressed)
• มีเหงือกเป็ นเส้นๆ อยู ่บนขาทีส่่ วนอกพวกที่
เป็ นแพลงก ์ตอนจัดอยู ่ในครอบคร ัวไฮเพอริด ี
(Family (Family Hyperiidae)
9.8 เดคา
ปอด
(Decapod
s)• จ ัดอยู่ในอ ันด ับเดคาโปดา (Order Decapoda)
่ ขนาดใหญ่ทสุ
• เป็ นพวก คร ัสเตเชียนทีมี
ี่ ด ได้แก่ กุง้ กุง้ มังกร
•
•
•
•
•
•
•
ปู เสฉวน
่
และปู ส่วนใหญ่เป็ นพวกทีอาศ
ัยอยู ่หน้าดินและมีตวั อ่อน
่ั
เป็ นแพลงก ์ตอนชวคราวอยู
่ในน้ า
่ นแพลงก ์ตอนตลอดชีพมีไม่มากนักและมีขนาด
ส่วนพวกทีเป็
ใหญ่
ว่ายน้ าได้คอ
่ นข้างเร็วและมักอยู ่รวมกันเป็ นกลุ่ม ได้แก่ ลู ซ ิ
เฟอร ์(Lucifer) หรือเคยสาลี
่
ลาต ัวเรียวยาวส่วนหัวมีกา้ นตาทียาวมาก
่ ้ าลึกไม่เกิน 30 เมตร ตามปากแม่น้ าใช้
พบมากตามชายฝั่ งทีน
ทากะปิ
้
่ รูปร่างเรียว
นอกจากนันพวกเซอเจสทิ
ด (Sergestids) ซึงมี
ยาวคล้ายกุง้
้
ตา
(Phylum
Chaetognatha)
• หนอนธนู (Arrow worms หรือ glass worms) เป็ นสัตว ์ที่
•
•
•
•
•
•
้
อาศ ัยอยู ่ในทะเลเท่านัน
่
พบแพร่กระจายทัวโลกมี
ประมาณ 50 ชนิ ด
รู ปร่างยาวคล้ายหนอนตวั ใสและมีขนาดใหญ่อาจมีความยาว
้
ถึง 1 นิ ว
ลาต ัวแบ่งเป็ นสามส่วน คือ ส่วนหัว ลาตัวและหาง
้ (jaws) ทีโค้
่ งงอใช้จ ับเหยือล
่ าตัว
ส่วนปลายสุดของหัวมีเขียว
มีครีบ 1-2 คู ่
้ นกระเทยมีร ังไข่อยู ่
มีครีบหางช่วยในการทรงตวั พวกนี เป็
ด้านข้างของลาตวั ถุงเก็บสเปิ ร ์มอยู ่ทส่
ี่ วนหาง
หนอนธนู กินโคพีพอด ตัวอ่อนของปลา ตวั อ่อนของ เดคา
พอดและกินพวกเดียวกันเป็ นอาหารและมันเป็ นอาหารของ
11. ไฟลัมเอคไคโน
เดอร ์มาทา
(Echinodermata)
• 10.1 แอสเทอร ์รอยด ์ (asteroids) ได้แก่ ดาว
ทะเล (sea star)
้ ต ัวอ่อนระยะไดพลู รูลาเรีย
• พวกนี มี
(dipleurularia) รู ปร่างค่อนข้างยาว
• มีแถบของซิเลีย 1 แถบ ล้อมรอบปาก แล้ว
เจริญไปเป็ นระยะออริคูลาเรีย (auricularia) ที่
่
มีขนาดใหญ่ขน
ึ ้ และแถบของซิเลียเริมแบ่
ง
่
ออกเป็ นสองส่วนและมีส่วนของแขนยืนยาว
้ า ไบพินนาเรีย
ออกไป เรียกต ัวอ่อนระยะนี ว่
11.2 โอฟิ ยูรอยด ์ (ophiuroids) ได ้แก่
ดาวเปราะ (brittle star) และดาวตาข่าย
(basket star)
• มีต ัวอ่อนระยะแรกคือ ไดพลู รูลา
้
• จากนันเจริ
ญไปเป็ นต ัวอ่อนระยะโอฟิ โอพลู
่ แขนยืนออกไป
่
เทียส (ophiopluteus) ทีมี
3-4
คู ่
11.3 เอคไคนอยด ์ (Echinoids) เช่น เม่น
ทะเล (sea urchins) เหรียญทะเล (sand
dollars) และเม่นหัวใจ (heart urchins)
• ตัวอ่อนระยะแรก คือไดพลู รูลา
• แล้วเจริญเป็ นต ัวอ่อนระยะเอคไคโนพลู เทียส
่ แขนยืนออกไป
่
(echinopluteus) ทีมี
6 คู ่ และ
มีรูปร่างคล้ายกับตัวอ่อนระยะโอฟิ โอพลู
เทียสของดาวเปราะมาก
11.4 โฮโลทูรอยด ์ (holothuroids) เช่น
ปลิงทะเล (sea cucumbers)
• ตัวอ่อนระยะแรก คือ ไดพลู รูลา
่
• แล้วเจริญไปเป็ นต ัวอ่อนระยะออลิคูลารียทีมี
รู ปร่างคล้ายออลิคูลาเรียของดาวทะเล
้
• จากนันเจริ
ญไปเป็ นต ัวอ่อนระยะโดลิโอลาเรีย
(doliolarias larvae) มีรูปร่างคล้ายถังเบียร ์
และมีแถบของซิเลียเป็ นวงรอบลาตัว
11.5 ไครนอยด ์ (crinoides) เช่น ดาว
ขนนก (feather stars) และซีลล
ิ ี่ (sea
lily)
• มีตัวอ่อนระยะไวเทลลาเรีย (vitellaria larvae)
มีรป
ู ร่างลักษณะคล ้ายเรดิโอลาเรีย ของ
ปลิงทะเล
12. Phylum
Tentaculata
• หรือ Phylum Phoronida
่ นแพลงก ์ตอน
• ได้แก่ Phoronids ซึงเป็
่ั
ชวคราว
ต ัวอ่อนเรียกว่า actinotrocha
larva
13. ไฟลัมคอร ์
ดาตา
(Phylum
Chordata)
13.1 Appendicularia
• จ ัดอยู ่ในคลาส ลาร ์วาเชีย หรือโคพีลาต้า (Class Larrvarcea
•
•
•
•
•
•
หรือ Copelata)
รู ปร่างคล้ายตัวอ่อนของเพรียงหัวหอม (tunicates)
่ ขนาดใหญ่
ประกอบด้วยส่วนหัวทีมี
ลาต ัวและส่วนหางแบน
แอพเพนดิคูลาเรียมีลก
ั ษณะพิเศษคือ ตวั จะอยู ่ภายใน เฮาส ์
่
(house) ลักษณะเป็ นวุน
้ ทางด้านบนเป็ นทีกรองอาหารโดยมี
รู
เล็กๆ ยอมให้แพลงก ์ตอนขนาดเล็กผ่านได้
่ าให้เกิดกระแสน้ า น้ าจะไหลสู ่เฮาส ์ผ่าน
ส่วนของหางจะสันท
้
ต ัวมันและเกิดการกรองอาหารขึน
่
เฮาส ์ชารุดหรือบริเวณทีกรองอาหารอุ
ดตน
ั มันจะออกจาก
เฮาส ์เดิมแล้วไปสร ้างเฮาส ์ใหม่ทน
ั ที
่ บได้นนจะไม่
้ั
ในต ัวอย่างแพลงก ์ตอนทีเก็
พบเฮาส ์ของมันอาจ
13.2 ซลั พ ์และโด
ลิโอลิด
(salps and
doliolid)
• จ ัดอยู ่ในคลาสทาร ์ลิเอเชีย (Class Thaliacea)
• ได้แก่สตั ว ์ในครอบคร ัว ซ ัลพิด ี ้ (Family Salpidae) และ
•
•
•
•
•
•
ครอบคร ัวโดลิโอลิด ี ้ (Family Doliolidae)
้ รูปร่างเป็ นทรงกระบอก ตวั ใส ผนังลาตวั หนาเป็ นพวก
พวกนี มี
ทู นิค (tunic)
้ อมรอบตวั เป็ นวงหลายวงเห็นได้
ยืดหยุ่นได้ มีแถบกล้ามเนื อล้
ช ัด
้
มีชอ
่ งขนาดใหญ่อยู ่ทปลายเปิ
ี่
ดทังสองข้
าง
่
่
้ า
เคลือนที
ไปข้
างหน้าโดยการยืดหดตวั ของแถบกล้ามเนื อท
ให้เกิดแรงด ันน้ าออกทางส่วนท้ายของลาตวั
้ อยู
่ ่เดียวๆ
่
พบทังที
(Solitary) และอยู ่รวมกันเป็ นกลุ่ม
่
โดยมีรูปร่างเปลียนแปลงไปบ้
าง ทาให้เข้าใจผิดคิดว่าเป็ น
คนละชนิ ดก ัน ตวั อย่างแพลงก ์ตอนในกลุ่มนี ้ ได้แก่ Salpa และ
13.3 เพรียงหัว
หอม
(tunicate)
่
• มีตวั อ่อนชือแทดโพล
(tadpole)
• มีรูปร่างคล้ายก ับแอพเพนดิคูลาเรียนแต่ยงั ไม่มเี ซลล ์
•
•
•
•
สืบพันธุ ์และทวารหนัก
ลาตวั แบ่งออกเป็ นส่วนหัวและส่วนหาง มีทูนิค
(tunic) ปกคลุมลาตัว
มีสตาโตซิส
มีไขสันหลัง (tubular nerve cord) ลักษณะเป็ นท่อ
่
มีโนโตคอร ์ด (notochord) อยู ่ใต้ไขสันหลังและยืน
ยาวออกไปทางส่วนหาง
13.4 ไข่ปลาและปลา วัยอ่อน(fish eggs
and fish larvae)
• ระยะทีเ่ ป็ นแพลงก์ตอนชวั่ คราว ได ้แก่ ไข่ปลา
และตัวอ่อนของปลา ระยะนีค
้ อ
่ นข ้างยากในการ
จาแนกชนิด เนือ
่ งจากมีรป
ู ร่างทีแ
่ ตกต่างจากตัว
เต็มวัย จากนัน
้ จะเจริญไปเป็ นตัวเต็มวัยทัง้ ที่
ดารงชวี ต
ิ เป็ น เนคตอนและปลาหน ้าดิน
่ ในการจาแนกชนิ ด
เอกสารทีใช้
Brodsky (1950),
Wellershaus (1969,1970),
Research group of Carcinology (1979),
Nishida (1985),
Walter (1986,1987,1989),
Huy and Baxshall (1991),
สุนีย ์ สุวภีพน
ั ธ ์ (2527)
และ วรรณา สุวรรณร ัมภา(1987)