เป็นช่องว่างในลำตัว ที่มี stomoderm และท่อซึ่งแตกแขนงย่อยจำนวนมาก

Download Report

Transcript เป็นช่องว่างในลำตัว ที่มี stomoderm และท่อซึ่งแตกแขนงย่อยจำนวนมาก

เอกสารประกอบการบรรยาย
วิชาแพลงก์ตอนวิทยา
Phylum Ctenophora
อ.จรุ งจิต กรุ ดพันธ์
โครงการจัดตั้งภาควิชาประมง
คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
Phylum Ctenophora
(Comb Jellies)
ลักษณะสาคัญ
1. ผนังชั้นในและผนังชั้นนอกแยกออกจากกันโดยผนังชั้นกลาง
2. เซลล์ สมมาตรอยู่ในแกน oral-aboral
3. โครงสร้ างทีช่ ่ วยในการจับเหยือ่ เรียก colloblasts
4. ช่ องว่ างของระบบย่ อยอาหาร (gastrovascular cavity-gut) เป็ นช่ องว่ างในลาตัว
ทีม่ ี stomoderm และท่ อซึ่งแตกแขนงย่ อยจานวนมากกระจายทั่วลาตัว
ช่ องว่ างนีไ้ ปสิ้นสุ ดทีร่ ู ก้น (anal pores) ซึ่งเป็ นรู ขนาดเล็ก 2 รู
5. ระบบประสาทมีลกั ษณะเป็ นร่ างแห หวีว้ ุนไม่ มศี ูนย์ กลางประสาทเหมือนแมงกะพรุ น
แต่ จะมีระบบประสาทพัฒนาดีกว่ า
6. ระบบกล้ ามเนือ้ มีเซลล์ ทอี่ ยู่ในผนังชั้นกลาง
7. วัฏจักรชีวติ ไม่ มีระยะใดเกาะกับพืน้
8. มีแผ่นหวี (comb plate) 8 แผ่น
9. การเคลือ่ นทีถ่ ูกควบคุมโดยอวัยวะรับความรู้ สึกทีป่ ลายสุ ดของลาตัว
10. มีหนวดจับ (tentacle) ยาว 1 คู่ สามารถยืดออกและดึงกลับเข้ าเก็บในลาตัวได้
11. หวีว้ ุนทุกชนิดเป็ นกระเทย มีตวั อ่ อนเรียกว่ า cydippid larva
12. ลาตัวเปราะบางมาก
ลักษณะทัว่ ไป
ส่ วนใหญ่ มรี ู ปร่ างกลม หรือรู ปไข่ บางชนิดอาจแบน แกนของลาตัวคือ
oral-aboral มีปากอยู่ทดี่ ้ าน oral อวัยวะรับความรู้ สึกอยู่ด้านตรงข้ ามปาก (aboral)
บนผิวลาตัวมีแผ่ นหวี 8 แผ่ น อยู่ห่างเป็ นระยะเท่ าๆ กัน หวีแต่ ละอัน (ctene)
ประกอบด้ วยซี่หวี (cilia) อยู่ตดิ กันเป็ นแผ่ น เรียงซ้ อนกันตามขวาง 2 ข้ างของลาตัว
มีกระเปาะข้ างละ 1 กระเปาะ เรียก tentacle sheath ภายในมี tentacle ข้ างละ 1 เส้ น
บน tentacle มีขนบางๆ เรียกว่ า filament หรือ tentillae ผิวชั้นนอกของทั้ง tentacle
และ tentillae มีต่ ุมทีท่ าให้ เหยือ่ มาติดเรียกว่ า colloblast
Anal pore
Anal canal
Statocyst
Tentacle
Aboral canal
Tentacle sheath
Transverse canal
Meridional canal
Adradial canal
Infundibulum
Pharyngeal canal
Pharynx
Ctenes of comb row
Mouth
Oral-aboral axis
Colloblasts
การเคลือ่ นที่ (Locomotion)
เป็ นแพลงก์ ตอนสั ตว์ ที่พบในทะเลเท่ านั้น หวีว้ ุนสามารถลอยตัวอยู่ในนา้ ได้
ดี เนื่องจากตัวเป็ นวุ้นมีความถ่ วงจาเพาะต่า การทีม่ ี tentacle ช่ วยตีนา้ ช่ วยให้ หวีว้ ุน
สามารถเคลือ่ นที่ขนึ้ ลงในนา้ ในระดับที่ต้องการเพือ่ ให้ เหมาะแก่การดารงชีวิต
นอกจากนีห้ วีว้ ุนยังมีกล้ ามเนือ้ ที่อยู่ในผิวชั้นกลาง ช่ วยในการลอยตัว หรือเคลือ่ นที่
ขึน้ ลงในแนวดิง่ ได้ ด้วย
การกินอาหารและการย่ อยอาหาร (Feeding and digestion)
หวีว้ ุน เป็ นสั ตว์ ทกี่ นิ สั ตว์ อนื่ เป็ นอาหาร โดยใช้ ต่ ุมเล็กๆ จานวนมาก ซึ่งอยู่ที่
ผิวนอกของ tentacle และ tentillae เรียกว่ า colloblast เมือ่ colloblast แตะกับเหยือ่
ตุ่มจะแตกออกแล้ วปล่ อยสารเหนียวๆ ออกมา
การกินอาหารในพวกที่มี tentacle สั้ นมาก เช่ น Order Lobata และ Cestida
โดยสั ตว์ ขนาดเล็กจะถูกจับไว้ บนผิวของหวีว้ ุนซึ่งมีสารเมือก และเหยือ่ จะถูกส่ งเข้ า
ปากโดยการเคลือ่ นไหวของร่ องที่เรียกว่ า auricular groove ภายในร่ องมีขนบางๆ
จานวนมาก ร่ องนีพ้ บใน order Lobata ส่ วนร่ องใน Order Cestida มีชื่อว่ า oral
groove
อาหารถูกส่ งเข้ าปาก และผ่ านไปที่ pharynx หรือ stomodeum ภายใน
pharynx มี gland cell จานวนมาก ซึ่งจะผลิตนา้ ย่อยมาย่ อยอาหาร อาหารที่ถูกย่ อย
แล้ วจะถูกส่ งไปที่ infundibulum funnel หรือ stomach และส่ งต่ อไปที่ anal canal
และออกสู่ ภายนอกทีช่ ่ อง anal pore
การหมุนเวียน ขับถ่ าย แลกเปลีย่ นแก๊ ส และ ออสโมเร็กกูเลชัน (Circulation,
excretion, gas exchange and osmoregulation)
หวีว้ ุนไม่ มรี ะบบหมุนเวียนในลาตัว ดังนั้นของเหลวภายในตัวจึงหมุนเวียน
โดยระบบทีเ่ รียกว่ า gastrovascular canal system ซึ่งนาอาหารไปเลีย้ งและนาของ
เสี ยออกนอกลาตัว การแลกเปลีย่ นแก๊สเกิดขึน้ ได้ ท้งั ผิวลาตัว หรือโดยผ่านทาง
gastrovascular canal system
ระบบสื บพันธุ์และการเจริญเติบโต (Reproductive system and development)
หวีว้ ุนมีการสื บพันธุ์ 2 แบบ ดังนี้
1.
การสื บพันธุ์แบบไม่ มเี พศ รวมทั้งการสร้ างส่ วนของตัวขึน้ ใหม่
(regeneration) หวีว้ ุนมีความสามารถในการสร้ างส่ วนของลาตัวทีข่ าดหายไป
ได้ ใหม่ ท้งั หมด
2. การสื บพันธุ์แบบมีเพศ หวีว้ ุนเกือบทุกชนิดเป็ นกระเทย (hermaphrodite) อวัยวะ
สื บพันธุ์ (gonads) อยู่ทผี่ นังชั้นใน แกมีตถูกปล่ อยออกนอกตัวโดยทางปาก
การผสมเกิดขึน้ นอกตัว ตัวอ่อนเรียก cydippid larva มีการเจริญเติบโตแบบ
ค่ อยเป็ นค่ อยไป
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้ สึก (nervous system and sense organs)
หวีว้ ุนมีระบบประสาททีก่ ระจายทัว่ ตัว โดยไม่ มศี ูนย์ กลางของประสาท
และมีอวัยวะรับความรู้ สึกทีช่ ่ วยในการทรงตัวเรียกว่ า statocyst ซึ่งประกอบด้ วย
statolith ทาหน้ าที่หาทิศทาง และรักษาระดับของลาตัวในนา้ statolith ประกอบด้ วย
ก้อนแคลเซียมซึ่งมี cilia อยู่กนั เป็ นกลุ่ม 4 กลุ่ม แต่ ละกลุ่มเรียกว่ า balancer อยู่ใน
โครงสร้ างรู ปโดมใส แต่ ละ balancer จะมีร่อง 1 คู่ เรียกว่ า ciliated furrows หรือ
ciliated grooves ซึ่งแต่ ละร่ องจะเชื่อมอยู่กบั แผ่ นหวี
การจัดหมวดหมู่ แบ่ งออกเป็ น 2 Class คือ
1.
Class Tentaculate
เป็ นหวีว้ ุนทีม่ ี tentacle ประกอบด้ วย 6 Order คือ
Order 1 Cydippida
ว่ ายนา้ เป็ นอิสระ แผ่นหวีเจริญดี tentacle ยาว และสามารถหดกลับเข้ าสู่
tentacular sheath ลาตัวกลมหรือรู ปไข่ บางครั้งลาตัวแบนใน stomodeal
plane meridional canals ตัน paragastric canals (ถ้ ามี) จะตันทีป่ าก
Order 2 Platyctenida
เป็ นแพลงก์ตอนหรือเบนโธส สวนใหญ่ มีลาตัวแบน มักมี tentacular
sheath tentacular canals แยกเป็ น 2 แฉก (bifid) gastrovascular system
สลับซับซ้ อน ส่ วนใหญ่ มี anal pore
Order 3 Ganeshida
อาศัยอยู่ในทะเลห่ างจากฝั่ง มีลกั ษณะอยู่ระหว่ าง Order Cydippida และ
Lobata ตัวแบนใน tentacular plane tentacles มีแขนง และมี sheath interradial
canals เกิดจาก infundibulum แบ่ งเป็ นแขนงย่อยเรียกว่ า adradial canals ซึ่งต่ อ
กับด้ านปลาย aboral ของ meridional canals meridional canals และ paragastric
canals ต่ อกันเกิดเป็ น circumoral canal ปากใหญ่ และต่ อกับ tentacular plane ไม่
มี auricles หรือ oral lobes
Order 4 Thalassocalycida
ว่ ายนา้ เป็ นอิสระ ลาตัวค่ อนข้ างแบน มีรูปน่ างคล้ ายร่ มหรือระฆัง ขนาด
ประมาณ 15 ซม. (วัดตามแกน tentacular axis) ลาตัวแบนใน stomodeal plane ไม่
มี tentaculae sheath จุดตั้งต้ นของ tentacle อยู่ใกล้ ปาก และรอบแกน tentacle มี
ขน (filament) comb row สั้ น ปากและ pharynx อยู่บน central conical peduncle
meridional canal ยาว และปลายของทุกท่ อสิ้นสุ ดทีด่ ้ าน aboral
Order 5 Lobata
ว่ ายนา้ เป็ นอิสระ ตัวแบนทั้งใน tentacular plane ละ stomodeal plane มี
oral lobe 1 คู่ ซึ่งเป็ นลักษณะพิเศษประจา Order และมี auricle เป็ นแผ่น 4 แผ่น
ภายใน auricular groove มีขนยาวจนจรดฐานของ auricle paragastric และ
subtentacular meridional canals รวมกันที่ด้าน oral
Order 6 Cestida
ว่ ายนา้ เป็ นอิสระ ลาตัวค่ อนข้ างแบนข้ างในระนาบ tentacular plane และ
ลาตัวยาวเรียวใน stomodeal plane ทาให้ ลาตัวมีลกั ษณะเป็ นแถบแบนยาว (ribbonlike form) และอาจยาวถึง 1 ม. ในบางชนิด substomodeal comb ยาว โดยยาว
ตลอดขอบทางด้ าน aboral จุดตั้งต้ นของ meridional canals อยู่ทใี่ ต้
subtentacular comb rows หรืออยู่กลางของ interradial canals paragastric
canals ยาวตลอดด้ านปาก หวีว้ ุนอันดับนีม้ ี tentacles และ tentacular sheath
2. Class Atentaculata
เป็ นหวีว้ ุนทีไ่ ม่ มี tentacle
Order Beroidea
ว่ ายนา้ อิสระ ลาตัวรู ปทรงกระบอกหรือรู ปปลอกนิว้ เย็บผ้ า ตัวแบนมากในระนาบ
tentacular plane ไม่ มี tentacle และ tentacular sheath ด้ าน aboral กลม หรือมี
สั น 2 แห่ ง stomodeum ใหญ่ aboral sense organ เจริญดี meridional canals มี
แขนงย่อยมาก paragastric canal เป็ นแบบง่ ายหรือแตกแขนง