Phylum Echinodermata T-O ภาคต้น 2557

Download Report

Transcript Phylum Echinodermata T-O ภาคต้น 2557

Phylum Echinodermata
Phylum Echinodermata
- ลักษณะเด่ นของสัตว์ ในไฟลัมนีค้ ือมีหนามแหลมปกคลุม
ทั่วตัว ซึ่งเป็ นที่มาของชื่อไฟลัม (Gr. echinos, spiny
+ derma, skin + ata, to bear)
- นอกจากนีส้ มาชิกทุกตัวในไฟลัมยังมีโครงร่ างภายใน
ประกอบด้ วยชิน้ หินปูน
- สัตว์ ในไฟลัมนีเ้ รี ยกว่ าพวกเอไคโนเดิร์ม (echinoderm)
ซึ่งเป็ นพวกที่อยู่ในทะเลทัง้ สิน้ พบในทะเลแทบทุก
แห่ งของโลก และพบในทุกระดับความลึก
- ปั จจุบนั เอไคโนเดิร์มที่มีชีวติ มีอยู่ราว 7,000 สปี ชีส์
ตัวอย่ างเอไคโนเดิร์ม ได้ แก่
- ดาวทะเล (sea star, starfish)
ในคลาสแอสเทอรอยเดีย (Asteroidea)
- ดาวเปราะ (brittle star หรือ serpent star)
ในคลาสโอฟิ ยูรอยเดีย (Ophiuroidea)
- แตงกวาทะเลหรือปลิงทะเล (sea cucumber)
ในคลาสโฮโลทูรอยเดีย (Holothuroidea)
- เม่ นทะเล (sea urchin)
ในคลาสเอไคนอยเดีย (Echinoidea)
• นักสัตววิทยาส่ วนใหญ่ เชื่อว่ าเอไคโนเดิร์มมีบรรพบุรุษ
ร่ วมกับเฮมิคอร์ เดตและคอร์ เดต
• จากหลักฐานที่เป็ นพวกดิวเทอโรสโตม (deuterostome) โดย
มีทวารหนักเกิดจากบลาสโทพอร์ (blastopore)
• ช่ องว่ างลาตัวเกิดจากการขยายออกของทางเดินอาหาร
เรี ยกว่ า เอนเทอโรซีล (enterocoel)
• การแบ่ งตัวของตัวอ่ อนแบบ radial indeterminate cleavage
• ถึงแม้ ตัวเต็มวัยจะมีสมมาตรแบบรั ศมี แต่ เชื่อว่ าพวกนี ้
วิวัฒนาการมาจากบรรพบุรุษที่มีสมมาตรครึ่งซีก เนื่องจาก
ตัวอ่ อนมีสมมาตรแบบครึ่งซีก
สายวิวัฒนาการยังไม่ ทราบแน่ ชัดว่ ากาเนิดจากสัตว์ ประเภทใด
ลักษณะของเอไคโนเดิร์มที่ไม่ พบในสิ่งมีชีวิตอื่น
1. มีระบบท่ อนา้ (water vascular system) อยู่ในช่ องว่ างลาตัว
2. มีโครงร่ างภายใน (endoskeleton) ประกอบด้ วยหินปูน
3. มีระบบฮีมอล (hemal system) ที่เปลี่ยนแปลงมาจากช่ องว่ างลาตัว
4. มีเมตามอร์ โฟซีสจากตัวอ่ อนที่มีสมมาตรครึ่งซีก (bilateral
symmetry) ไปเป็ นตัวเต็มวัยที่มีสมมาตรรั ศมี (radial symmetry)
5. เพดิเซลลาเรี ย (pedicellaria) และเหงือกที่ผิวหนัง (dermal
branchiae)
ลักษณะสาคัญของสัตว์ ในไฟลัมเอไคโนเดอร์ มาตา
1. ลาตัวไม่ แบ่ งเป็ นปล้ อง ลาตัวกลม หรือทรงกระบอก หรื อเป็ น
รูปดาว มีสมมาตรแบบรัศมี 5 แฉก (radial pentamerous
symmetry) ส่ วนของแฉกเรี ยก แอมบูลาครา (ambulacra) และ
ส่ วนที่อยู่ระหว่ างแฉกบริเวณอินเตอร์ แอมบูลาครา
(interambulacral area) และมักมีร่องตามยาวแฉกเรียกว่ า ร่ อง
แอมบูลาคา (ambulacral groove)
2. ระยะตัวอ่ อนมีสมมาตร
แบบครึ่งซีก ไม่ มีส่วนหัว
หรือสมอง
3. ระบบประสาท
ประกอบด้ วย
เส้ นประสาทเป็ นวง
(nerve ring) รอบปาก
แล้ วมีเส้ นประสาทแยก
ออกไปตามแนวรัศมี
(radial nerve) ออกไป
ตามลาตัว
4. มีโครงร่ างภายใน
(endoskeleton) แข็ง
เป็ นชิน้ หินปูน
(dermal calcareous
ossicle) และมีหนาม
แข็ง (spine or
spicule) ในชัน้ เดอร์
มิส (dermis) และปก
คลุมด้ วยชัน้ เอพิ
เดอร์ มิสบางชนิดมี
เพดิเซลลาเรีย
5. มีระบบท่ อนา้ (water-vascular system) ที่ดัดแปลงมาจาก
ช่ องว่ างลาตัว (coelomic origin) และไหลไปยังเท้ าท่ อ (tube feet
หรือ podia) ทาให้ เคลื่อนที่ได้ เท้ าท่ อยืดหดได้ เนื่องจากแรงดัน
นา้ เพิ่มขึน้ โดยมีช่องเปิ ดออกภายนอกที่แมดริโพไรต์
(madriporite หรือ hydropore)
6. เคลื่อนที่โดยใช้ เท้ าท่ อซึ่งยื่นออกจากร่ องแอมบูลาครา
(ambulacral groove) หรือโดยการเคลื่อนที่ของหนาม หรือการ
เคลื่อนที่ของแขนที่ย่ นื ออกมาจากแกนกลางของร่ างกาย
7. ระบบย่ อยอาหารสมบูรณ์ ปากมักอยู่ด้านล่ าง (ด้ านท้ อง) ทวาร
หนักมักอยู่ด้านบน (ด้ านหลัง) ในพวกโอฟิ ยูรอยด์ (ophiuroids)
ไม่ มีทวารหนัก
8. ช่ องว่ างลาตัวใหญ่ เป็ นช่ องว่ างรอบอวัยวะภายใน (perivisceral
cavity) และช่ องของระบบท่ อนา้ ช่ องว่ างลาตัวเป็ นชนิดเอน
เทอโรซีล (enterocoelous type) ของเหลวในช่ องว่ างลาตัวมี
เซลล์ อมีโบไซต์ (amebocyte)
9. ระบบหมุนเวียนเลือดหรือระบบฮีมอล (hemal system) ลด
ขนาดลง และลดหน้ าที่ในการหมุนเวียนเลือด แต่ มีช่องว่ าง
ลาตัวขนาดใหญ่ และมีของเหลวในช่ องว่ างนี ้ ทาหน้ าที่แทน
10. หายใจด้ วยเหงือกที่ผิวหนังหรือเดอร์ มัลแบรงเคีย (dermal
branchiae) เท้ าท่ อ เรสไปแรทอรี่ ทรี (respiratory tree) ในพวก
โฮโลทูรอยด์ ) หรือใช้ เบอร์ ซา (bursa, ในพวกโอฟิ ยูรอยด์ )
11. ไม่ มีอวัยวะขับถ่ าย
12. ระบบสืบพันธุ์แยกเพศผู้เพศเมีย มีอวัยวะสืบพันธุ์ขนาดใหญ่
ส่ วนใหญ่ มีหลายอัน การปฏิสนธิเกิดภายนอกตัว ไข่ ท่ ีถูกผสม
เจริญเป็ นตัวอ่ อนที่ว่ายนา้ เป็ นอิสระ แล้ วจึงเกิดเมตามอร์ โฟ
ซิสเป็ นตัวเต็มวัย
13. มีความสามารถในการงอกส่ วนที่ขาดหายไป (regeneration)
และสามารถสลัดส่ วนของร่ างกายที่บาดเจ็บทิง้ ไปได้
(autotomy)
ไดอะแกรมของสัตว์ ในไฟลัมเอไคโนเดอร์ มาตา 5 คลาสโดยตัดดูภายในเพื่อเห็น
ความสัมพันธ์ ของปาก ทวารหนัก เท้ าท่ อ และหนาม
การจัดจาแนก
เดซี่ทะเล
คลาสแอสเทอรอยเดีย (Asteroidea)
• คลาสแอสเทอรอยเดีย (Asteroidea, Gr. aster, star + oides, in
the form of) ได้ แก่ ดาวทะเล (sea star) มีอยู่ประมาณ 1,500
สปี ชีส์ มักพบตามหาดหิน หาดทราย หรือโคลน มีสีสวยงาม
เช่ น สีแดง ฟ้า ส้ ม เทา
ลักษณะทั่วไป
• ดาวทะเลประกอบด้ วยแผ่ นกลางลาตัว (central disc) ที่มีแขน
ยื่นออกมา 5 แขน ลาตัวแบน ปกคลุมด้ วยชัน้ เอพิเดอร์ มิส มี
ปากอยู่ทางด้ านล่ างของแผ่ นกลางลาตัว เรียกว่ า ด้ านปาก (oral
side) ล้ อมรอบด้ วยเยื่อ peristomial membrane จากปากมีร่อง
ทอดไปตามแขนทุกแขน เรียกว่ า ร่ องแอมบูลาครา (ambulacral
groove)
ด้ านปาก
ด้ านตรงข้ ามปก
• ในร่ องนีม้ ีเท้ าท่ อเรียงเป็ นแถวตามความยาวของร่ อง 2-4 แถว
และมีหนามช่ วยป้องกันอันตราย ด้ านบนหรือด้ านตรงข้ ามกับ
ปาก (aboral side) มีหนาม (spine) ปกคลุมทั่วไป รอบๆ โคน
ของหนามมีอวัยวะเล็กๆ คล้ ายคีมหรือปากคีบสัน้ ๆ เรียกว่ า
เพดิเซลลาเรีย (pedicellaria) ใช้ จับอาหารหรือทาความสะอาด
ลาตัว และช่ วยป้องกันแพพูลี (papulae หรือ dermal branchia)
• ที่ด้านบนนีย้ ังมีส่วนของผนังลาตัวที่ย่ นื ออกมาจากช่ องว่ าง
ลาตัว เรียกว่ า เดอร์ มัลแบรงเคีย (dermal branchiae) หรือ
เหงือกที่ผิวหนัง (skin gill) หรื อแพพูลี
• อวัยวะเหล่ านีป้ กคลุมด้ วยเอพิเดอร์ มิสและบุภายในด้ วยเยื่อ
เพอริโทเนียม (peritoneum)
• อวัยวะนีจ้ ะยื่นออกมาระหว่ างออสซิเคิล (ossicle) เพื่อทา
หน้ าที่หายใจ
• บริเวณแผ่ นกลางลาตัวด้ านตรงข้ ามกับปากยังมีช่องเปิ ดของ
ทวารหนัก (anus) และช่ องแมดริโพไรต์ (madreporite) เป็ น
ช่ องทางให้ นา้ ไหลเข้ าไปยังระบบท่ อนา้
โครงร่ างภายใน (endoskeleton)
• ลาตัวปกคลุมด้ วยเอพิเดอร์ มิส
• ใต้ ชัน้ เอพิเดอร์ มิสเป็ นโครงร่ างภายในที่เกิดจากมีโซ
เดิร์ม
• ประกอบด้ วยแผ่ นหินปูนเล็กๆ หรื อออสซิเคิล (ossicle)
ติดต่ อกันด้ วยเนือ้ เยื่อเกี่ยวพันและใยกล้ ามเนือ้
• จากออสซิเคิลนีจ้ ะมีหนามยื่นออกมาทาให้ ผิวลาตัวเป็ น
หนามขรุ ขระ เช่ น ดาวทะเล เม่ นทะเล มีหนามขนาด
ใหญ่ อีแปะทะเล มีหนามขนาดเล็ก
ระบบท่ อนา้ (water vascular system)
• เป็ นระบบให้ นา้ ไหลผ่ าน ประกอบด้ วยแมดริโพไรต์ อยู่ทางด้ านตรง
ข้ ามปากเป็ นช่ องนา้ เข้ า มีลักษณะเป็ นแผ่ นหินปูนคล้ ายตะแกรง นา
นา้ จากภายนอกเข้ ามาในระบบท่ อนา้
• จากนัน้ ต่ อไปยังท่ อหินปูน (stone canal) เพื่อรั บนา้ ไปยังท่ อวง
แหวน (ring canal) ที่อยู่รอบปากแล้ วส่ งนา้ ไปตามท่ อรั ศมี (radial
canal) ของแขนแอมบูลาครา
• จากท่ อรั ศมีมีท่อแยกออกทางด้ านข้ างมากมายเรี ยกว่ า ท่ อด้ านข้ าง
(lateral canal) เพื่อส่ งนา้ เข้ าไปยังเท้ าท่ อ ซึ่งเป็ นท่ อตันปลายข้ าง
หนึ่งพองเป็ นกระเปาะ เรี ยกว่ า แอมพุลลา (ampulla) อีกข้ างหนึ่งมี
ลักษณะคล้ ายแว่ นดูด (sucker) สาหรั บเกาะติดวัตถุ
• ในพวกแอสเทอรอยด์ ส่วน
ใหญ่ ยกเว้ น Asterias จะมีโพ
เลียนเวซิเคิล (Polian vesicle)
ติดอยู่ท่ ที ่ อวงแหวนเพื่อช่ วย
เก็บนา้ ที่เข้ าสู่ระบบท่ อนา้
• นา้ จากภายนอกจะไหลเข้ าทางแมดริโพไรต์ ผ่านท่ อหินปูนไปยัง
ท่ อวงแหวน ท่ อรั ศมี ท่ อด้ านข้ าง และเข้ าสู่เท้ าท่ อตามลาดับ
• เมื่อนา้ เข้ าสู่เท้ าท่ อจะมีแรงดันเกิดขึน้ ทาให้ เท้ าท่ อยืดออกทาให้
ดาวทะเลเคลื่อนที่ได้
• การทางานของระบบท่ อนา้ เริ่มจากกล้ ามเนือ้ ในแอมพุลลาหด
ตัว ทาให้ นา้ ไหลออกจากแอมพุลลาเข้ าสู่เท้ าท่ อ เท้ าท่ อจึงยืด
ยาวออกจนสัมผัสวัตถุท่ มี ันเกาะอยู่และมีแรงดูดเกิดที่ปลายเท้ า
ท่ อ ทาให้ เท้ าท่ อเกาะติดพืน้ ได้
• ต่ อมากล้ ามเนือ้ ตามยาวของเท้ าท่ อหดตัว ทาให้ เท้ าท่ อสัน้ ลง
หมดแรงดูดและหลุดจากพืน้ นา้ ไหลกลับแอมพุลลาแล้ วเริ่ม
กระบวนการใหม่ อีก จึงทาให้ ดาวทะเลเคลื่อนที่ได้ ช้าๆ
นา้ ภายนอกตัว
Stone canal
Madrepolite (แผ่ นตะแกรงให้ นา้ เข้ า)
สรุ ปทางเดินของนา้
สามารถยึดเกาะพืน้
Ring canal (สารหินปูนที่แข็ง)
เท้ าท่ อเต่ ง & ยืด
มีท่อแยก
โป่ งเป็ นก้ อนไทดีแมนด์ Tube feet (อยู่ด้านปาก)
Radial canal
หดตัว & บีบนา้
(อยู่ในแถบแอมบูลาครา)
Ampula (อยู่ด้านตรงข้ ามปาก)
ท่ อแยกด้ านข้ าง
มีกระเปาะ
Lateral canal
การกินอาหารและระบบย่ อยอาหาร
• ดาวทะเลกินอาหารได้ หลายชนิด เช่ น หอย 2 ฝา หอยโข่ ง
(snail) ครัสเตเชียน พอลิคีต (polychete) ปะการัง เอไคโนเดิร์ม
อื่นๆ แม้ กระทั่งปลาตัวเล็กๆ ได้
• บางชนิดกินพวกตะกอน และซากพืช ซากสัตว์
• ทางเดินอาหารของดาวทะเลประกอบด้ วยปากอยู่ด้านล่ าง ซึ่งเปิ ด
เข้ าสู่หลอดอาหารสัน้ ๆ
• ถัดไปเป็ นกระเพาะอาหารซึ่งมีขนาดใหญ่ และแบ่ งเป็ น 2 ส่ วน คือ
กระเพาะคาร์ ดเิ อก (cardiac stomach) อยู่ใกล้ ปาก และกระเพาะ
ไพลอริก (pyloric stomach) อยู่ถดั ขึน้ ไป มีขนาดเล็กกว่ า
• จากกระเพาะไพลอริกมีแขนงแยกไปที่แขนแล้ วจึงแยกเป็ น 2
แขนงย่ อย แต่ ละแขนงมีส่วนยื่นเรี ยกว่ า ไพลอริกซีกัม (pyloric
caecum)
• ถัดจากกระเพาะขึน้ มาเป็ นลาไส้ เป็ นท่ อสัน้ ๆ และมีแขนงแยก
ออกไปเป็ น เรกตัลซีกัม (rectal caecum)
• จากลาไส้ มาเปิ ดออกที่ทวารหนัก (anus) ซึ่งอยู่ด้านตรงข้ ามปาก
• ดาวทะเลสามารถกินหอย 2 ฝาได้ โดยใช้ เท้ าท่ อยึดดูดเปลือก
หอยไว้
• เมื่อฝาหอยเปิ ดออกกว้ างประมาณ 0.1 เซนติเมตร มันจะปลิน้
กระเพาะคาร์ ดแิ อกออกมา
• สอดกระเพาะเข้ าไประหว่ างเปลือกหอยนัน้ แล้ วปล่ อยเอนไซม์
ออกไปย่ อยในตัวหอย ซึ่งเป็ นการย่ อยบางส่ วน
• หลังจากนีอ้ าหารที่ยังไม่ ถูกย่ อยจะถูกนาเข้ าสู่กระเพาะไพลอริก
และไพลอริกซีกัม เพื่อให้ เกิดการย่ อยและดูดซึมต่ อไป ส่ วน
กากอาหารขับออกทางทวารหนัก
ระบบหมุนเวียนเลือด (Circulatory System)
• หรื อระบบฮีมอล (Hemal System): ระบบนีล้ ดขนาดลง
• สัตว์ พวกนีไ้ ม่ มีเลือดและหัวใจ การหมุนเวียนเกิดใน
ช่ องว่ างลาตัวโดยใช้ ของเหลวในช่ องว่ างลาตัว (coelomic
fluid) ทาหน้ าที่แทน
• ระบบนีป้ ระกอบด้ วยวงแหวนฮีมอลรอบปาก (oral hemal
ring) วงแหวนฮีมอลตรงข้ ามปาก (aboral hemal ring)
และท่ อฮีมอลรั ศมี (radial vessel) ที่ส่งไปตามแขน ขนาน
กับท่ อรั ศมีของระบบท่ อนา้
การแลกเปลี่ยนแก๊ สและการขับถ่ าย
• การขนส่ งแก๊ ส ของเสีย และสารอาหารในช่ องว่ างลาตัว
เกิดโดยการแพร่ และโดยเซลล์ ท่ บี ุช่องว่ างลาตัว
• ในช่ องว่ างลาตัวมีของเหลวอาบอยู่รอบอวัยวะภายใน
และยังแทรกเข้ าไปในแพพูลีด้วย
• การแลกเปลี่ยนแก๊ สและการขับถ่ ายของเสียพวก
ไนโตรเจนซึ่งส่ วนใหญ่ เป็ นแอมโมเนียเกิดโดยการแพร่
ผ่ านเดอร์ มัลแบรงเคียหรื อแพพูลี ซึ่งเป็ นผิวลาตัวที่ย่ นื
ออกไปและที่เท้ าท่ อ
• ของเสียบางอย่ างอาจถูกกาจัดโดยซีโลโมไซต์
(coelomocyte) ซึ่งเป็ นอมีโบไซต์ (amoebocyte) ชนิด
หนึ่งอยู่ในของเหลวในช่ องว่ างลาตัว
• โดยซีโลโมไซต์ นาของเสียผ่ านเยื่อบุผิวของแพพูลีหรื อ
เท้ าท่ อออกไปทิง้ ภายนอก
ระบบประสาทและอวัยวะรั บความรู้ สึก
• ระบบประสาทประกอบด้ วยวงแหวนประสาท (nerve
ring) ล้ อมรอบปาก และแขนงประสาทรั ศมี (radial nerve)
แยกไปตามแขนแต่ ละแขน โดยอยู่ในร่ องแอมบูลาครา
และขนานกับท่ อรั ศมีของระบบท่ อนา้
• เส้ นประสาทเหล่ านีเ้ ชื่อม
ต่ อกันเป็ นร่ างแห (nerve net)
ทั่วตัว
• อวัยวะรับความรู้สึกกระจาย
อยู่ตามผิวลาตัวและเท้ าท่ อ
• ดาวทะเลตอบสนองต่ อแสง
สารเคมี และอื่นๆ
• อวัยวะรับแสง (photoreceptor)
อยู่ท่ ปี ลายสุดของแขนแต่ ละ
อัน เรียกว่ า จุดตา (eyespot)
หรือโอเซลลัส (ocellus) ใกล้ ๆ
• อวัยวะรับแสงมีเทนทาเคิลทา
หน้ าที่รับสัมผัส
ระบบสืบพันธุ์
•
•
•
•
ดาวทะเลมีเพศผู้ เพศเมียแยกกันคนละตัว
มีอวัยวะสืบพันธุ์ (gonad) 1 คู่ อยู่ท่ ฐี านของแขนแต่ ละอัน
การปฏิสนธิเกิดภายนอกร่ างกายในนา้ ทะเล
ไข่ ท่ ถี ูกปฏิสนธิจะเจริญไปเป็ นตัวอ่ อน เรียกว่ า ตัวอ่ อนไบพิน
นาเรีย (Bipinnaria larva) ซึ่งมีสมมาตรแบบครึ่งซีก
• ต่ อมาจะสร้ างแขนเพิ่มขึน้ และมีแว่ นดูดสาหรับยึดเกาะ จัดเป็ น
ตัวอ่ อนระยะบราคิโอลาเรีย (Brachiolaria larva)
• ต่ อมามีเมตามอร์ โฟซีสเปลี่ยนเป็ นตัวเต็มวัยที่มีสมมาตรแบบ
รัศมี
• ดาวทะเลยังมีความสามารถงอกส่ วนที่ขาดหายไปขึน้ มา
ใหม่ เรี ยกว่ า รี เจเนอเรชัน (Regeneration) แม้ มีแขน
เพียง 1 อัน หักออกมาก็สามารถเจริญเป็ นตัวใหม่ ท่ ี
สมบูรณ์ ได้
• นอกจากนีย้ ังมีความสามารถในการสลัดแขนที่บาดเจ็บ
ออกตรงโคนทิง้ ไป เพื่อหนีจากศัตรู ได้ วิธีการนีเ้ รี ยกว่ า
ออโตโตมี (autotomy) หลังจากนีม้ ันจะสร้ างแขนขึน้ มา
ใหม่ ได้ อีก
คลาสโอฟิ ยูรอยเดีย (Ophiuroidea)
• คลาสโอฟิ ยูรอยเดีย (Ophiuroidea, Gr. ophis, snake + oura,
tail + oeides, in the form of)
• ได้ แก่ ดาวเปราะ (brittle star) และดาวตะกร้ า (basket star)
• เป็ นกลุ่มที่มีจานวนสปี ชีส์มากที่สุด คือมากกว่ า 2,000 สปี ชีส์
ลักษณะทั่วไป
• ลักษณะของสัตว์ ในคลาสนีจ้ ะมีแขนยาวเรียว 5 แขน
และแยกออกจากแผ่ นกลางลาตัวอย่ างเด่ นชัด
• แขนเคลื่อนไหวคล้ ายงู จึงเรียกว่ า serpent star และแขนเปราะ
หักง่ ายจึงเรียกว่ า ดาวเปราะ (brittle star)
• ในพวกดาวตะกร้ า (basket star)
แขนมีการแตกแขนงมากจนคล้ ายตะกร้ า
• โอฟิ ยูรอยด์ ไม่ มีเดอร์ มัลแบรงเคีย
และเพดิเซลลาเรีย
• เท้ าท่ อไม่ มีแอมพุลลาและแว่ นดูด
• แมดริโพไรต์ อยู่ทางด้ านปาก
• แขนที่ใช้ ในการเคลื่อนที่มีลักษณะ
เป็ นข้ อ
• แต่ ละข้ อมีแผ่ นออสซิเคิลเรียงเป็ น
วงและต่ อเป็ นแถวยาว แต่ ละข้ อ
เรียกว่ า เวอร์ ทบี รา (vertebra)
เชื่อมต่ อกันด้ วยกล้ ามเนือ้ และมี
แผ่ น (plate) ปิ ด
Ophiuroidea
Anatomy
• แผ่ นกลางลาตัวเป็ นรูปห้ าเหลี่ยม ด้ านปากมีเขีย้ ว 5 อัน หัน
ปลายแหลมเข้ าหาปาก ไม่ มีทวารหนัก อวัยวะภายในเรี ยงอยู่
ในแผ่ นกลางลาตัว กระเพาะเป็ นถุงแต่ ไม่ มีลาไส้ อาหารที่ไม่
ย่ อยขับทิง้ ทางปาก
• มีเบอร์ ซา (bursa) 5 คู่ เปิ ดออกทางด้ านปากที่โคนแขนทาง
ช่ องเปิ ดของเบอร์ ซา (bursal slit) ทาหน้ าที่ในการแลกเปลี่ยน
แก๊ ส
• ในช่ องว่ างของแต่ ละเบอร์ ซามีอวัยวะสืบพันธุ์ (gonad) ที่จะ
ปล่ อยเซลล์ สืบพันธุ์เข้ ามาในเบอร์ ซา และผ่ านออกภายนอก
ทางช่ องเบอร์ ซา หรือช่ องสืบพันธุ์ (genital slit) เพื่อไปปฏิสนธิ
ในทะเล
• โอฟิ ยูรอยด์ มักมีเพศแยก
เป็ นเพศผู้เพศเมีย
• มีน้อยที่เป็ นกระเทย
ส่ วนใหญ่ มีเพศแยก (เพศผู้เล็กกว่ าเพศเมีย)
ไม่ อาศัยเพศ
อาศัยเพศ
การแบ่ งตัวเป็ นส่ วนๆ
ไข่ & อสุจอิ อกจากอวัยวะสืบพันธุ์
(Fissiparity)
(อวัยวะอยู่ใกล้ เบอร์ ซา)
แต่ ละส่ วนเจริญเป็ นตัวใหม่
มาอยู่ในเบอร์ ซาก่ อน
ปฏิสนธิภายนอก
ตัวอ่ อนโอฟิ โอพลูเทียส (Ophiopluteus larva)
คลาสเอไคนอยเดีย (Echinoidea)
• คลาสเอไคนอยเดีย (Echinoidea, Gr. echinos, spiny + oeides,
in the form of) ได้ แก่ เม่ นทะเล (sea urchin) อีแปะทะเล หรือ
เหรียญทะเล (sand dollar) เม่ นหัวใจ (heart urchin) มีอยู่ราว
1,000 สปี ชีส์
• ส่ วนใหญ่ มีรูปร่ างทรงกลมแบน หรือครึ่งวงกลม ด้ านที่ตดิ พืน้
แบน และเป็ นด้ านปาก
ลักษณะทั่วไป
• ร่ างกายของเอไคนอยด์ ล้อมรอบด้ วยเปลือก (test หรื อ
shell) ที่เป็ นโครงร่ างแข็งภายใน ซึ่งประกอบด้ วยออสซิ
เคิล เป็ นแผ่ นแบนมาเชื่อมต่ อกันเป็ นแถบ 10 แถบ
• เอไคนอยด์ ไม่ มีแขน แต่ สะท้ อนให้ เห็นสมมาตรแบบ
รั ศมี 5 แฉก โดยมีแถบแอมบูลาครา (ambulacral plate)
5 แถบ ซึ่งโฮโมโลกัสกับแขนทัง้ ห้ าของดาวทะเล สลับ
กับแถบอินเตอร์ แอมบูลาครา (interambulacral plate) 5
แถบ
• แถบแอมบูลาครามีรูเปิ ดให้ เท้ าท่ อออกมา
• ส่ วนแถบอินเตอร์ แอมบูลาครามีต่ ุม (tubercle) ให้
หนาม (spine) ยื่นออกมา
• หนามมีทงั ้ หนามแหลมและทู่ ใช้ ป้องกันตัว
• โคนหรื อฐานของหนามแต่ ละอันเป็ นแง่ ง และมี
กล้ ามเนือ้ เล็กๆ อยู่ท่ โี คน ช่ วยทาให้ หนามเคลื่อนไหว
ได้
• หนามมักแหลมและกลวง และมีสารพิษอยู่ซ่ งึ เป็ น
อันตรายต่ อผู้ดานา้
• เอไคนอยด์ มีเพดิเซลลาเรียหลายแบบ ส่ วนใหญ่ มีเขีย้ ว (jaw) 2
อัน 3 อัน และติดกับผนังลาตัวด้ วยก้ านยาวๆ
• เพดิเซลลาเรียใช้ ในการทาความสะอาดร่ างกาย และจับ
สิ่งมีชีวติ เล็กๆ เป็ นอาหาร
• เพดิเซลลาเรียของเม่ นทะเลบางชนิดมีต่ ุมสารพิษซึ่งจะปล่ อย
สารพิษออกไปทาร้ ายเหยื่อได้
• ระบบท่ อนา้ คล้ ายกับเอไคโนเดิร์มอื่นๆ มีท่อรัศมีว่ ิงไปตามผนัง
ลาตัวชัน้ ในระหว่ างปากและทวารหนัก เท้ าท่ อมีแอมพุลลาและ
แว่ นดูด ระบบท่ อนา้ เปิ ดออกภายนอกด้ านตรงข้ ามปากที่
แมดริโพไรต์
• เอไคนอยด์ เคลื่อนที่โดยใช้ หนามผลักดันที่พนื ้ และใช้ เท้ า
ท่ อในการดึงดูด
• เหรี ยญทะเลและเม่ นหัวใจใช้ หนามช่ วยในการฝั งตัวใน
ทราย
• เม่ นทะเลบางชนิดฝั งตัวในหินและปะการั งเพื่อหลบคลื่น
และกระแสนา้ ที่รุนแรง
• เอไคนอยด์ กินอาหารพวกสาหร่ าย ไบรโอซัว (bryozoan)
ปะการัง และซากสัตว์ ท่ ตี ายแล้ ว
• การกินอาหารโดยอาศัยเท้ าท่ อรอบปาก และโครงสร้ างที่ช่วย
ในการฉีกอาหาร เรียกว่ า Aristotle’s lantern ซึ่งประกอบด้ วย
ออสซิเคิลจานวนมาก
• ปลายออสซิเคิลมีฟันยื่นออกมา 5 ซี่ ใช้ ตัดอาหารเป็ นชิน้
เล็กๆ โครงสร้ างนีย้ ดึ กับกล้ ามเนือ้ ทาให้ ฟันยื่นออกมาและ
หุบเข้ าไปในเปลือก
• จากปากต่ อไปยังฟาริงซ์ หลอดอาหาร และลาไส้ ท่ ขี ดกันเป็ น
วง และไปสิน้ สุดที่ด้านตรงข้ ามปากที่ทวารหนักหรือ
เพริพร็อก (periproct)
• เอไคนอยด์ มีช่องว่ างลาตัวขนาดใหญ่
• ของเหลวในช่ องว่ างลาตัวทาหน้ าที่เป็ นระบบหมุนเวียน
• เหงือกมีขนาดเล็ก เป็ นเยื่อบางๆ อยู่รอบปาก ยื่นออก
จากผนังลาตัวและบุด้วยเยื่อบุผิวที่มีซิเลีย
• การแลกเปลี่ยนแก๊ ส เกิดการแพร่ ผ่านเยื่อบุผิว และผ่ าน
เท้ าท่ อ
• ระบบขับถ่ ายและระบบประสาทคล้ ายของดาวทะเล
การสืบพันธุ์: เอไคนอยด์ มีเพศแยก (dioecious)
• อวัยวะสืบพันธุ์อยู่ในผนังลาตัวของแถบอินเตอร์ แอมบู
ลาครา
• ไข่ และอสุจถิ ูกปล่ อยออกมาผสมนอกตัว
• ตัวอ่ อนระยะพลูเทียส เรี ยกว่ า เอไคโนพลูเทียส
(echinopluteus) ซึ่งใช้ เวลาล่ องลอยอยู่ในทะเลหลาย
เดือน จึงเกิดเมตามอร์ โฟซิสเป็ นตัวเต็มวัย
Class Echinoidea
คลาสโฮโลทูรอยเดีย (Holothuroidea)
• คลาสโฮโลทูรอยเดีย (Holothuroidea, Gr. holothourion, sea
cucumber + oeides, in the form of) สมาชิกของคลาสนีม้ ี
ประมาณ 1,500 สปี ชีส์ ได้ แก่ พวกปลิงทะเลหรือแตงกวาทะเล
(sea cucumber) ซึ่งพบในนา้ ทะเลทุกความลึก
โดยคลานอยู่ตามพืน้ หรือฝั งตัวอยู่ในทราย
ที่พนื ้ ทะเล
ลักษณะทั่วไป
• ปลิงทะเลไม่ มีแขน มีลาตัวยาวเป็ นทรงกระบอก ในแนวปากตรงข้ ามปาก (oral-aboral axis) ซึ่งขนานกับพืน้
• ลาตัวด้ านที่ตดิ กับพืน้ มักแบนกว่ า จัดเป็ นด้ านท้ อง ทาให้ เกิด
สมมาตรแบบครึ่งซีก
• ด้ านหน้ าของลาตัวมีเท้ าท่ ออยู่รอบปาก ซึ่งมีความยาวและ
เปลี่ยนเป็ นหนวด (tentacle) มีจานวน 10-30 เส้ น
• เท้ าท่ อทางด้ านหลัง (dorsal) ของลาตัวมี 2 แถว และมักลด
ขนาดจึงมีขนาดเล็ก
• ส่ วนเท้ าท่ อทางด้ านท้ องมีแว่ นดูด เจริญดีกว่ า มี 3 แถว ใช้ ใน
การเคลื่อนที่
• ตัวเต็มวัยมีขนาดความยาว 10-30 เซนติเมตร
• ผิวลาตัวหนาเป็ นกล้ ามเนือ้ ไม่ มีหนามยื่นออกมา และไม่ มีเพดิ
เซลลาเรีย
• ใต้ ชัน้ เอพิเดอร์ มิสเป็ นชัน้ เดอร์ มิสที่มีชนั ้ เนือ้ เยื่อเกี่ยวพันหนา
และมีออสซิเคิลขนาดเล็กฝั งอยู่
• ใต้ ชัน้ เดอร์ มิสมีกล้ ามเนือ้ วงและกล้ ามเนือ้ ตามยาวเรียงไปตาม
แถบแอมบูลาครา
• ช่ องว่ างลาตัวขนาดใหญ่ มีของเหลวอยู่และมีเซลล์ อมีโบไซต์
• ในช่ องว่ างลาตัวนีม้ ีแมดริโพไรต์ และระบบท่ อนา้
• โดยท่ อวงแหวน (ring canal) อยู่รอบหลอดอาหาร และมีท่อ
รัศมี 5 ท่ อไปเชื่อมกับหนวด และเชื่อมกับเท้ าท่ อที่ลาตัว
• ทางเดินอาหารอยู่ในช่ องว่ างลาตัวประกอบด้ วยปาก ฟาริงซ์
หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร ลาไส้ ซ่ งึ ยาวและขดเป็ นห่ วง
โคลเอกา (cloaca) หรือไส้ ตรง (rectum) และทวารหนัก
• เวลากินอาหารจะใช้ เมือกที่หนวดจับอาหารและหนวดหดเข้ า
ไปในปาก การย่ อยอาหารอาศัยซีโลโมไซต์ ปล่ อยเอนไซม์
ออกมาย่ อย และนาอาหารที่ย่อยแล้ วไปทั่วร่ างกาย
• อวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ สอาศัยเรสไปแรทอรี (respiratory tree) มี
ลักษณะเป็ นท่ อ 2 ท่ อ ติดกับไส้ ตรงหรือโคลเอกา และแตก
แขนงอยู่ 2 ข้ างทางเดินอาหาร เมื่อโคลเอากาหดตัวจะดันนา้
เข้ าเรสไปราทอรีทรี เมื่อโคลเอกาคลายตัว นา้ จะไหลออกจาก
ท่ อนี ้ ทาให้ เกิดการแลกเปลี่ยนแก๊ สและของเสียระหว่ างช่ องว่ าง
ลาตัวกับนา้ ทะเล
• ปลิงทะเลส่ วนใหญ่ คืบคลานช้ าๆ หรือฝั งตัวอยู่ในพืน้ ทะเล
บางชนิดเคลื่อนที่โดยอาศัยการหดตัวของกล้ ามเนือ้ ลาตัว
ปลิงทะเลบางชนิดเมื่อถูกรบกวนจะหดช้ าๆ แต่ ถ้าถูกรบกวน
รุ นแรงจะปล่ อยสารเหนียวออกมาจากอวัยวะคูวเิ รียน
(cuvierian organ) ออกมาทางทวารหนักเป็ นเส้ นใยสีขาว
เหนียวเหมือนกาว พันหรือจับศัตรูได้
• ระบบสืบพันธุ์ของปลิงทะเลส่ วนใหญ่ มีเพศแยกกัน
อวัยวะสืบพันธุ์มี 1 อันเป็ นเส้ นฝอย รวมเป็ นมัดอยู่ใน
ช่ องว่ างลาตัว
• ท่ อสืบพันธุ์ (gonopore) มี 1 ท่ อเปิ ดออกที่โคนหนวด
• การปฏิสนธิภายนอกตัวอ่ อนเรี ยกว่ า ออริคูลาเรี ย
(auricularia) ล่ องลอยในนา้ แล้ วเกิดเมตามอร์ โฟซิส
เป็ นตัวเต็มวัย ดารงชีวิตที่พนื ้ ทะเล
Class Holothuroidea
คลาสไครนอยเดีย (Crinoidea)
• คลาสไครนอยเดีย (Crinoidea, Gr. krinon, lily + oeides, in the
form of) สมาชิกในคลาสนีไ้ ด้ แก่ พลับพลึงทะเล (sea lilies) และ
ดาวขนนก (feather star)
• ไครนอยด์ จัดเป็ นเอไคโนเดิร์มที่โบราณที่สุด ปั จจุบันเหลือเพียง
630 สปี ชีส์ ส่ วนใหญ่ อยู่ในทะเลลึก แต่ ดาวขนนกอาจอยู่ท่ ี
ระดับนา้ ที่ตนื ้ กว่ า โดยเฉพาะน่ านนา้ อินโด-แปซิฟิก และแถบ
ทะเลคาริเบียน
ลักษณะทั่วไป
• ไครนอยด์ มีลักษณะคล้ ายดอกไม้
• ลาตัวเป็ นรูปถ้ วยเรียกว่ า เคลิกซ์ (calyx) ประกอบด้ วยแผ่ น
หินปูน ส่ วนของลาตัวติดต่ อกับแขน 5 แขน
• แขนนีย้ ังแตกแขนงออกเป็ นรยางค์ ย่อยๆ เรียกว่ า พินนูล
(pinnule)
• พลับพลึงทะเลมีก้าน (stalk) ยาว ใช้ ยดึ เกาะกับพืน้ ทะเล
• ก้ านมีลักษณะเป็ นข้ อต่ อของออสซิเคิล ต่ อออกมาจากด้ านตรง
ข้ ามปาก หรือด้ านล่ างของเคลิกซ์
• ปลายของก้ านที่ใช้ ยดึ เกาะมีลักษณะคล้ ายราก
• ก้ านมักมีส่วนยื่นหรือเซอไร (cirri) เรียง
เป็ นวงรอบก้ าน
• ส่ วนดาวขนนก (Antedon) ไม่ มีก้าน
stalk มีแต่ เซอไรเรียงเป็ นวงใช้ จับวัตถุ
ในนา้
• ทัง้ ปากและทวารหนักอยู่ด้านบน
• ทวารหนักมักอยู่บนกรวยที่ยกขึน้
• จากปากมีร่องแอมบูลาครา 5 ร่ อง แยก
ออกไปตามแขน ซึ่งมีซเิ ลียและเท้ าท่ อที่
คล้ ายหนวดอยู่ ทัง้ หนวดและซิเลียช่ วย
จับอาหารและพัดโบกเข้ าสู่ปาก
• ไครนอยด์ ไม่ มีแมดริโพไรต์
• ส่ วนการแลกเปลี่ยนแก๊ ส การขับถ่ าย และการหมุนเวียน
คล้ ายกับเอไคโนเดิร์มอื่นๆ
• ไครนอยด์ ไม่ มีวงแหวนประสาท (nerve ring) แบบเอไคโน
เดิร์มส่ วนใหญ่
• แต่ มีระบบประสาทรวมคล้ ายรู ปถ้ วยอยู่ใต้ เคลิกซ์ และส่ ง
เส้ นประสาทรั ศมี (radial nerve) เข้ าไปตามแขน เพื่อ
ควบคุมเท้ าท่ อ และกล้ ามเนือ้ ของแขน
• ไครนอยด์ มีเพศแยก
• เซลล์ สืบพันธุ์สร้ างขึน้ ภายในช่ องว่ างลาตัวและปล่ อย
ออกจากภายนอก
• โดยผนังของแขนแตกออก เพื่อปฏิสนธิในนา้ ทะเล
• ตัวอ่ อนระยะแรกไม่ มีปาก หลังจากล่ องลอยอยู่ในนา้
ทะเล 2-3 วัน แล้ วจะเกาะกับพืน้ และพัฒนาลาตัว
• แขนและก้ าน ไครนอยด์ มีความสามารถในการงอก
อวัยวะ (regeneration) แทนส่ วนที่ขาดหายไปได้ ดีมาก
คลาสคอนเซนไตรไซคอยเดีย (Concentricycloidea)
• คลาสคอนเซนไตรไซคอยเดีย (Concentricycloidea, ME
consentrik, having a common center + Gr. kykloeides,
like a circle)
• มีเพียง 1 สปี ชีส์ คือพวก sea daisy (Xyloplax
medusiformis)
• พบในทะเลลึกกว่ า 1,000 เมตร นอกฝั่ งนิวซีแลนด์ มี
ขนาดเส้ นผ่ านศูนย์ กลางน้ อยกว่ า 1 เซนติเมตร
• พวกนีไ้ ม่ มีแขน มีเท้ าท่ ออยู่รอบๆ ลาตัว แทนที่จะอยู่ใน
แถบแอมบูลาครา
• ระบบท่ อนา้ มีท่อวงแหวน 2 วง เรียงเป็ นวงกลม
• ระบบท่ อนา้ วงในเป็ นท่ อวงแหวน (ring canal) เพราะมีโพ
เลียนเวซิเคิล (Polian vesicle) ติดอยู่
• ส่ วนระบบท่ อนา้ วงนอกเป็ นท่ อรัศมี (radial canal) เพราะ
ติดต่ อกับเท้ าท่ อและแอมพุลลา
• พวกนีไ้ ม่ มีระบบย่ อยอาหารภายในตัว แต่ ท่ ผี ิวลาตัวปกคลุม
ด้ วยเยื่อบางๆ เรียกว่ า วีลัม (velum) ช่ วยย่ อยและดูดซึม
อาหารได้
• ภายในลาตัวมีถุงฟั กตัวอ่ อน 5 คู่ ไม่ มีระยะตัวอ่ อนที่ว่ายนา้
อิสระ ยังไม่ ทราบกลไกในการปฏิสนธิ
The End