Transcript pps

Slide 1

การจ ัดการความรู ้
(KNOWLEDGE MANAGEMENT: KM)

บรรยายในว ันน ัดพบ “ชมรมอยูด
่ ม
ี ส
ี ข
ุ ” ครงที
ั้ ่ 2/2551
โดย ศาสตราจารย์ชโลบล อยูส
่ ข

ประธานชมรมฯ

2 เมษายน 2551


Slide 2

่ นหนึง่ ของการ
ชมรม “อยูด
่ ม
ี ส
ี ข
ุ ” เป็นสว
ดาเนินงานจ ัดการความรู ้ ของคณะวิทยาศาสตร์
่ นการให้ความสาค ัญ/การเอาใจใส ่
ในสว
“ด้านคุณภาพชวี ต
ิ ” ของบุคลากร
่ ารเป็น
คณะวิทยาศาสตร์มง
ุ่ หว ังสูก
องค์กรแห่งการเรียนรู ้
(Learning organization; LO)
โดยกาหนดว ัตถุประสงค์ไว้ใน
มุมมองด้านการเรียนรูแ
้ ละพ ัฒนา
2


Slide 3

3


Slide 4

ความรูม
้ ี 2 ประเภท

• ความรูช
้ ดแจ้
ง (Explicit Knowledge)
ั ทีอ
เป็นความรูเ้ ด่นชด
่ ยูใ่ นตารา หรือเป็นทฤษฎี

ผ่านกระบวนการสงเคราะห์
วิเคราะห์ และพิสจ
ู น์
มาแล้ว
่ นเร้น (Tacit Knowledge) เป็นความรู ้
• ความรูซ
้ อ
ั ได้จากการปฏิบ ัติ เป็น
ทีฝ
่ ง
ั ลึกในต ัวคน เห็นไม่ชด
ภูมป
ิ ญ
ั ญา หรือ เคล็ดล ับ สะสมจากวิจารณญาณ
หรือปฏิภาณ ไหวพริบ ของผูป
้ ฏิบ ัติงานแต่ละคน
ทีท
่ าให้งานบรรลุผลสาเร็จ
4


Slide 5


การจ ัดการความรูป
้ ระเภท ความรูช
้ ดแจ้

1. การเข้าถึงความรู ้ ในปัจจุบ ัน สามารถได้ประโยชน์สง
ู สุด
จากการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ ระบบ Internet เพือ
่ ดู
้ หาสาระหรือต ัวความรู ้ (Content) และองค์ประกอบที่
เนือ
้ หาสาระ (Context) ทาการตีความและ
ครอบบริบทเนือ
นามาปร ับใชโ้ ดยเอาบริบทของเราใสเ่ ข้าไปแทน ทงนี
ั้ ้
เพือ
่ ให้เกิดประโยชน์สง
ู สุด
2. เรียนรู ้ ยกระด ับความรู ้ เพือ
่ สร้างความรูใ้ หม่ทด
ี่ ข
ี น
ึ้ กว่าเดิม
นาไปใชง้ านและปร ับปรุงเรือ
่ ยๆจนเป็น best practice ใน
ทีส
่ ด

3. รวบรวมความรูใ้ ห้เป็นระบบ หมวดหมู่ เพือ
่ ให้สามารถ
ื ค้นและเข้าถึงได้งา่ ย วนเวียนเรือ
สบ
่ ยไป ไม่รจ
ู้ บ
5


Slide 6

่ นเร้น
การจ ัดการความรูป
้ ระเภท ความรูซ
้ อ
เป็นความรูท
้ จ
ี่ ัดการไม่งา
่ ยเมือ
่ เทียบก ับการจ ัดการ

ความรูช
้ ดแจ้
ง เนือ
่ งจาก เราไม่สามารถบ ังค ับให้ “ใคร” ใน
องค์กรถ่ายทอดความรูต
้ า
่ งๆ ออกมาได้ ความรูจ
้ งึ อาจสูญ
หายไปพร้อมก ับผูน
้ นเมื
ั้

่ ถึงคราวเกษียณอายุจากหน่วยงาน
หรือต้องจากองค์กรนนไป
ั้
จึงต้องทาให้คนในองค์กร



่ ยเหลือเกือ
้ กูล และ
สร้างความห่วงใย มีใจให้ก ันและก ัน ชว
แบ่งปันซงึ่ ก ันและก ัน



เห็นประโยชน์ของการทางานร่วมก ัน เรียนรูจ
้ ากก ัน ประสาน
พล ังให้ได้มากกว่าผลรวมของแต่ละคนรวมก ัน ให้แต่ละคน
ี เวลาไปก ับการลองผิดลองถูก และสามารถสร้าง
ไม่ตอ
้ งเสย
ความรูใ้ หม่ จนสามารถเป็น Best Practice ซงึ่ ไปปร ับใช ้
สาหร ับหน่วยงานต่อไป
6


Slide 7

สรุปแนวคิด “การจ ัดการ” ความรู ้
Create/Leverage

Access/Validate
เข้าถึง
ตีความ

สร้างความรู ้
ยกระด ับ


ความรูช
้ ดแจ้

รวบรวม/จ ัดเก็บ
store

่ นเร้น
ความรูซ
้ อ

Explicit

นาไปปร ับใช ้

Tacit

Knowledge

Apply / utilize

Knowledge

เรียนรู ้
ยกระด ับ

เรียนรูร้ ว
่ มก ัน
Capture& Learn

มีใจ/แบ่งปัน
Care & Share

เน้

“2T”
วงจร 2 วงหมุนไปด้วยก ัน เป็นการจ ัดการความรูไ้ ม่รจ
ู้ บ
Tool &( Infinity KM)
7


Slide 8

่ นใหญ่ ไป“ผิดทาง”
KM สว

อย่าลืมว่า
ต้อง“สมดุล”

ให้ความสาค ัญก ับ“2P”
People & Processes

ให้ความสาค ัญก ับ “2T”
Tool & Technology

8


Slide 9

แนวทางหนึง่ ทีจ
่ ะชว่ ยให ้ “ไม่ไปผิดทาง”
KM Model “ปลาทู”
• Knowledge Vision (KV)

Knowledge
Sharing

สว่ นกลางลาต ัว สว่ นทีเ่ ป็น “ห ัวใจ”

ให้ความสาค ัญก ับการแลกเปลีย
่ น
่ ยเหลือ เกือ
้ กูลซงึ่ ก ัน
เรียนรู ้ ชว
และก ัน (Share & Learn)

• Knowledge Sharing (KS)
• Knowledge Assets (KA)

KV

Knowledge
Vision
สว่ นห ัว สว่ นตา
มองว่ากาล ังจะไปทางไหน
ต้องตอบได้วา

Model ปลา
ทู

“ทา KM ไปเพือ
่ อะไร”

KS

KA

Knowledge
Assets
สว่ นหาง สร้างคล ังความรู ้
ื่ มโยงเครือข่าย ประยุกต์ใช ้ ICT
เชอ

“สะบ ัดหาง”
สร้างพล ังจากชุมชนน ักปฏิบ ัติ/CoPs 9


Slide 10

จาก KV สู่ KS

สว่ นกลางลาต ัว สว่ นทีเ่ ป็น
Knowledge “ห ัวใจ” ให้ความสาค ัญก ับการ
Sharing (KS) แลกเปลีย
่ ยเหลือ
่ นเรียนรู ้ ชว

้ กูลซงึ่ ก ันและก ัน
เกือ
(Share & Learn)

Knowledge
Vision (KV)
สว่ นห ัว สว่ นตา มองว่ากาล ัง
จะไปทางไหน ต้องตอบได้วา่

จาก KV สู่ KS

“ทา KM ไปเพือ
่ อะไร”
10


Slide 11

จาก KS สู่ KA

สว่ นกลางลาต ัว สว่ นทีเ่ ป็น “ห ัวใจ”
่ น
Knowledge ให้ความสาค ัญก ับการแลกเปลีย
Sharing (KS) เรียนรูช
่ ยเหลือ เกือ
้ กูลซงึ่ ก ัน
้ ว

และก ัน (Share & Learn)

Knowledge
Vision (KV)
สว่ นห ัว สว่ นตา
มองว่ากาล ังจะไปทางไหน

ต้องตอบได้วา่
จาก KS สู่
KA

“ทา KM ไปเพือ
่ อะไร”

Knowledge
Assets (KA)
สว่ นหาง สร้างคล ังความรู ้
ื่ มโยงเครือข่าย ประยุกต์ใช ้ ICT
เชอ
“สะบ ัดหาง”
สร้างพล ังจาก CoPs

11


Slide 12

การเล่าเรือ
่ งในประเด็น (ห ัวปลา) ทีเ่ ลือกไว้
 จ ัดให้เป็นเวทีแลกเปลีย
่ นเรียนรูข
้ องผูท
้ ท
ี่ าจริง/ต ัวจริง ....
เรียก คุณกิจ เพือ
่ สามารถแลกเปลีย
่ นประสบการณ์และ
เรียนรูไ้ ด้อย่างเต็มที่
 ผูเ้ ข้ากลุม
่ ผล ัดก ันเล่าความสาเร็จ ความภูมใิ จ เล่าสงิ่ ทีเ่ กิด
้ จริงว่า ทาไมถึงประสบความสาเร็จ หรือสามารถก้าวข้าม
ขึน
พ้นปัญหาทีเ่ คยพบไปได้
 ร ับฟังอย่างไม่มอ
ี คติ
้ อานวย .... เรียก คุณอานวย คอยคุมให้
 ควรมีผท
ู ้ าหน้าทีเ่ อือ
การแลกเปลีย
่ นเรียนรูล
้ น
ื่ ไหล ไม่หลงประเด็นหรือออกนอก
ทาง และเป็นผูค
้ อยป้อนคาถามเพือ
่ ให้ได้ขอ
้ มูลเชงิ ลึก เป็น
การ “แคะ” tacit knowledge ออกมา
12


Slide 13

“คุณอานวย”
Knowledge
Facilitators

สว่ นกลางลาต ัว สว่ นทีเ่ ป็น “ห ัวใจ”
่ น
Knowledge ให้ความสาค ัญก ับการแลกเปลีย
้ กูลซงึ่ ก ันและก ัน
Sharing (KS) เรียนรู ้ ชว่ ยเหลือ เกือ

ต้องไม่ใช่ “คุณอานาจ”

(Share & Learn)

้ ”
“คุณเอือ
Chief
Knowledge
Officer

CKO

Knowledge
Vision (KV)
สว่ นห ัว สว่ นตา

มองว่ากาล ังจะไปทางไหน
ต้องตอบได้วา


“ทา KM ไปเพือ
่ อะไร”

“คุณกิจ”
Knowledge
Assets (KA)

Knowledge
Practitioners

สว่ นหาง สร้างคล ังความรู ้
ื่ มโยงเครือข่าย ประยุกต์ใช ้ ICT
เชอ
สร้าง CoPs ทีม
่ พ
ี ล ัง

ดุจดง่ ั ปลา“สะบ ัดหาง”

13


Slide 14

ั ันธ์
การจ ัดการความสมพ

การจ ัดการความรู ้

Care & Share

/ Give & Grow

Share & Shine

Learn - Care - Share - Shine

14


Slide 15

… KM เริม่ ต้นทีใ่ จ
… เป็นเรือ
่ งของสายใย
… เป็นเรือ
่ งของเครือข่าย

…เป็นเรือ่ งของความ
ื่ มโยง
เชอ
… ทีม
่ าจากความผูกพ ัน
อ ันมน
่ ั คง
15
KM เริม
่ ต ้นที่


Slide 16

คุณล ักษณะขององค์กรแห่งการเรียนรู ้
ต้องมีวน
ิ ัย 5 ประการ (โมเดลของ Peter Senge)
ั ัศน์รว่ ม (Shared Vision; SV) กาหนดภาพในอนาคต
• มีวส
ิ ยท
ไว้ให้คนในองค์กรเดินไปร่วมก ัน โดยไม่หลงทิศ
่ า่ ง
• มีการเรียนรูร้ ว
่ มก ันเป็นทีม (Team Learning; TL) ไม่ใชต
คนต่างอยู่ ต่างคนต่างเรียนรู ้

• มีผท
ู้ ม
ี่ ใี จใฝ่เรียนรู ้ (Learning Person; LP) เป็นผูท
้ ม
ี่ ง
ุ่ มน
่ั
ฝึ กฝนพ ัฒนาตนเองอย่างต่อเนือ
่ ง มีการปร ับปรุงสงิ่ ทีท
่ าอยู่
ตลอดเวลา
• มีผท
ู ้ รี่ จ
ู ้ ักพ ัฒนากรอบความคิด ตระหน ักรูค
้ วามคิดของต ัวเอง
แต่ไม่ยด
ึ ติด เปิ ดร ับพร้อมทีจ
่ ะปร ับเปลีย
่ น
ื่ มโยงเป็นระบบ คิดได้รอบด้าน
• มีผท
ู้ ค
ี่ ด
ิ ได้อย่างครอบคลุมเชอ
เห็นภาพใหญ่ในขณะทีเ่ ข้าใจสว่ นประกอบย่อยไปพร้อมก ัน
16


Slide 17

ั ันธ์ก ันอย่างไร
KM และ LO สมพ
KM
LO

=
=

KV + KS+ KA
SV + TL + LP

KV = knowledge vision, KS = knowledge sharing,
KA = knowledge assets
SV = shared vision, TL = team learning,
LP = learning person
17


Slide 18

การจ ัดการความรูท
้ ด
ี่ าเนินมาทงหมดภายใน
ั้
ิ้ เชงิ หากไม่ม ี
องค์กรต้องถือว่าไร้คา่ อย่างสน
การเพิม
่ คุณค่าโดยนาความรูท
้ เี่ ก็บอยูใ่ นคล ัง
่ ารปฏิบ ัติ
ความรูข
้ ององค์กรไปสูก

ื เรือ
ข้อมูลจาก หน ังสอ
่ ง
“การจ ัดการความรู ้ ฉบ ับข ับเคลือ
่ น”
โดย ดร.ประพนธ์ ผาสุกยืด
สาน ักพิมพ์ใยไหม พ.ศ.2550
18