ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต

Download Report

Transcript ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต

เกณฑ์ ทวั่ ไปในการจาแนกสิ่ งมีชีวติ
• การจัดหมวดหมู่ของสิ่ งมีชีวติ มี
มาตั้งแต่ อดีตเมื่อประมาณ 350
ปี ก่ อนคริสต์ ศักราช
• โดยนักวิทยาศาสตร์ เหล่านี้
•
•
•
•
อริสโตเติล (Aristotle )
แบ่ งสิ่ งมีชีวติ เป็ น 2 พวกคือ
1. พืช
2. สั ตว์
จอห์ น เรย์ ( John Ray )
•
•
•
•
นักพฤกษศาสตร์ แบ่งพืชออกเป็ น 2 กลุ่ม
1. พืชใบเลี้ยงเดี่ยว
2. พืชใบเลี้ยงคู่
เป็ นบุคคลแรกที่ใช้คาว่า สปี ชีส์ ( Species )
คาโรลัส ลินเนียส ( carolus Linnaeus )
•
•
•
•
•
นักธรรมชาติวิทยาชาวสวีเดน
จาแนกพืชมีดอกออกเป็ นหมวดหมู่
โดยใช้จานวนเกสรตัวผู้
และตั้งชื่อวิทยาศาสตร์ของสิ่ งมีชีวติ เป็ นคนแรก
บิดาแห่งวิชาอนุกรมวิธานสมัยใหม่
เกณฑ์ ทใี่ ช้ จาแนกสิ่ งมีชีวติ
• 1. ลักษณะโครงสร้างภายในและภายนอก
– โครงสร้ างภายนอกเหมือนกัน หรือคล้ ายคลึงกัน แต่ อาจมีโครงสร้ าง
ภายในไม่ เหมือนกัน
– เช่ น ครีบของปลากับครีบของปลาวาฬ
• 2. ลักษณะแบบแผนการเจริญเติบโตของเอ็มบริโอ
–โดยเฉพาะสัตว์มีกระดูกสันหลัง
–เช่น ปลา นก กบ และคน
–ในระยะตัวอ่อนจะมีลกั ษณะช่องเหงือกที่คล้ายคลึงกัน
• 3. ลักษณะของซากดึกดาบรรพ์ของสิ่ งมีชีวติ (Fossil)
–เทอราโนดอล กับ อาร์ คอี อปเทอรริกซ์
–มีขากรรไกรยาว มีฟัน ปลายปี กมีนิว้
–คล้ ายคลึงกันจึงจัดนกและสั ตว์ เลือ้ ยคลานไว้ เป็ นพวก
ใกล้ เคียงกัน
• 4. ลักษณะโครงสร้ างและสารเคมีภายในเซลล์
–เช่น คลอโรพลาสต์ มีในเซลล์พืชแต่ไม่มีในเซลล์สตั ว์
–เซนทริ โอล และไลโซโซมพบในเซลล์สตั ว์เท่านั้น
• 5. ลักษณะพฤติกรรมของสิ่ งมีชีวติ
–เช่นจิงโจ้ เป็ นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ านมที่มีเฉพาะทวีป
ออสสเตรเลีย แต่มีกระเป๋ าหน้าท้อง
–จึงจัดอยูค่ นละกลุ่มกับสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ านมในทวีป
อื่นๆ
ลาดับหมวดหมู่สิ่งมีชีวติ
นักวิทยาศาสตร์ จึงได้ จัดแบ่ งสิ่ งมีชีวติ ดังกล่ าวเหล่ านีอ้ อกเป็ นหมวดหมู่ใหญ่
จนถึงหมวดหมู่ย่อยตามลาดับดังนี้
1. อาณาจักร (Kingdom)
2. ไฟลัม (Phylum )
3. คลาส (Class)
4. ออร์ เดอร์ (Order )
5. แฟลมมิลี่ (Family)
6. จีนัส (Genus)
7. สปี ชีส์ (Species)
ตัวอย่ างการหมวดหมู่ของมนุษย์
– ลาดับ1 หมวดหมู่ ชื่อในหมวดหมู่Kingdom Animalia
– ลักษณะสิ่ งมีชีวติ ในหมวดหมู่ เป็ นสิ่ งมีชีวติ พวกทีน่ ิวเคลียสมีผนัง
ห่ อหุ้ม ประกอบด้ วย หลายเซลล์ มีการแบ่ งหน้ าทีข่ องแต่ ละเซลล์ เพือ่
ทาหน้ าที่เฉพาะอย่ างแบบถาวร ไม่ มีคลอโรฟิ ลล์ สร้ างอาหารเอง
ไม่ ได้ ดารงชีวติ ได้ หลายลักษณะทั้งบนบกในนา้ และบางชนิดเป็ น
ปรสิ ต อาณาจักรนีไ้ ด้ แก่ สัตว์ ทุกชนิด ตั้งแต่ สัตว์ ไม่ มีกระดูกสั นหลัง
จนถึงสั ตว์ ทมี่ ีกระดูกสั นหลัง
– 2 หมวดหมู่ Phylum Chordata ลักษณะสิ่ งมีชีวติ ในหมวดหมู่ มีแกนลาตัว
– 3 หมวดหมู่ Class Mammalia ลักษณะสิ่ งมีชีวติ ในหมวดหมู่ มีต่อมนา้ นม ขน
สั้ นเล็ก ๆ (hair)
– 4 หมวดหมู่ Order Primate ลักษณะสิ่ งมีชีวติ ในหมวดหมู่ มีนิว้ 5นิว้ ปลายนิว้ มี
เส้ นแบน นิว้ หัวแม่ มือพับขวางกับนิว้ อืน่ ๆ
– 5 หมวดหมู่ Family Homonidaeลักษณะสิ่ งมีชีวติ ในหมวดหมู่ เดิน 2 ขา มีฟัน
เขีย้ วเล็กอยู่ระดับเดียวกับฟันอืน่
– 6 หมวดหมู่ Genus Homo ลักษณะสิ่ งมีชีวติ ในหมวดหมู่ สามารถประดิษฐ์
เครื่องมือและสะสมเครื่องมือไว้
– 7 หมวดหมู่ Species Homo sapiens sapiens ลักษณะสิ่ งมีชีวติ ใน
หมวดหมู่ มีความสามารถเชิงศิลป์ วาดรูปไว้
ชื่อของสิ่ งมีชีวติ
• ชื่อวิทยาศาสตร์ มีความสาคัญในการแยกแยะและการจัด
หมวดหมู่
• ชื่อทั่วไปบางชื่อนั้นสามารถนาไปใช้ กบั สิ่ งมีชีวติ ได้ หลาย
ชนิด และในขณะเดียวกันสิ่ งมีชีวติ ชนิดเดียวกันก็อาจมีชื่อ
ทั่วไปได้ หลายชื่อ ทาให้ เกิดความสั บสนและเกิดความ
ผิดพลาด
• ชื่อวิทยาศาสตร์ ถูกคิดค้ นขึน้ ในศตวรรษที่ 18 โดยนัก
พฤกษศาสตร์ ชาวสวีเดนชื่อ Carolus Linnaeus
• ลักษณะการตั้งชื่อที่เรียกว่ า Binomial
nomenclature
• คือการตั้งชื่อที่มีการใช้ ชื่อสองชื่อมาเรียงต่ อกัน ประกอบไปด้ วย
ชื่อสกุล (Genus ,พหูพจน์ : Genera) ตามด้ วยชื่อ
พันธุ์ (Species,พหูพจน์ : Species - คาเดียวกัน)
รากศัพท์ ของภาษาที่ใช้ จะมาจากภาษาลาตินหรือกรีก
เกณฑ์ การตั้งชื่อ
•
•
•
•
ชื่อวิทยาศาสตร์ ส่วนใหญ่ จะตั้งขึน้ ตามลักษณะเฉพาะ,
ถิน่ ที่อยู่อาศัยของสิ่ งมีชีวติ นั้นๆ,
ชื่อบุคคลที่ค้นพบ
หรือตั้งขึน้ เพือ่ เป็ นเกียรติแก่ บุคคลสาคัญๆ
• ตัวอย่ างเช่ นดอกไม้ ทะเล Stichodactyla
gigantea ซึ่งเป็ นหนึ่งในดอกไม้ ทะเลที่มีขนาดใหญ่ มาก
ทีส่ ุ ด (Gigantea = Giant = สิ่ งทีมีขนาดใหญ่ มาก),
• ปลาการ์ ตูน Amphiprion chagosensis จะ
พบในเฉพาะบริเวณหมู่เกาะ Chagos ในมหาสมุทอินเดีย
• ดอกไม้ ทะเล S. haddoni เพือ่ เป็ นเกียรติแก่ Alfred
C. Haddon นักสั งคมศาสตร์ ท่านหนึ่ง ผู้ซึ่งสะสมและ
ศึกษาดอกไม้ ทะเลเป็ นงานอดิเรก
วิธีเขียนชื่อวิทยาศาสตร์
• ในทุกกรณี ชื่อสกุลจะใช้ อกั ษรตัวใหญ่ สาหรับตัวอักษรแรก และ
ชื่อพันธุ์จะใช้ อกั ษรตัวเล็กทั้งหมด Amphiprion
percula
• ควรจะใช้ อกั ษรตัวเขียนหรือขีดเส้ นใต้ เพือ่ แสดงให้ เห็นว่ าเป็ น
ภาษาลาตินหรือกรีก ผู้เขียนจะต้ องสะกดชื่อสกุลเต็มคาเมื่อเขียน
ชื่อนั้นเป็ นครั้งแรก หลังจากนั้นอาจจะใช้ ตัวย่ อแทนได้
Amphiprion percula เป็ น A. percula
• ชื่อสกุลสามารถใช้ ได้ โดยไม่ จาเป็ นต้ องตามด้ วยชื่อพันธุ์
แต่ ชื่อพันธุ์จะต้ องนาด้ วยชื่อสกุลเสมอ เพราะชื่อพันธุ์
อาจจะซ้ากันได้ ในสกุลที่ต่างกัน
• เพือ่ ความแม่ นยา หลายที่อาจจะใส่ ชื่อผู้ค้นพบและปี ที่
ค้ นพบตามหลังชื่อวิทยาศาสตร์
• ถ้ าหากชื่อของผู้ค้นพบอยู่ในวงเล็บแสดงว่ าได้ มีการ
เปลีย่ นแปลงสกุลสาหรับสิ่ งมีชีวติ นั้นๆ
ตัวอย่างชื่อวิทยาศาสตร์
•
เลขทะเบียน : 7-53000-001-0025
ชื่อทัว่ ไป : โกสน
ชื่อสามัญ : Croton
ชื่อพื้นเมือง : โกสน, โกต๋ น
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Codiaeum variegatum
ชื่อวงศ์ : EUPHORBIACEAE
BIume.
เลขทะเบียน : 7-53000-001-0021
ชื่อทัว่ ไป : กุหลาบมอญ
ชื่อสามัญ : Damask Rose
ชื่อพื้นเมือง : กุหลาบมอญ, (ทัว่ ไป); ยีส่ ุ่ น, (กรุ งเทพฯ); กุหลาบออน, (แม่ฮ่องสอน)
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Rosadamascena Mill.
ชื่อวงศ์ : ROSACECE
เลขทะเบียน : 7-53000-001-0091
ชื่อทัว่ ไป : น้อยหน่า
ชื่อสามัญ : ชื่อพื้นเมือง : น้อยหน่า , หม่าน้อยแน่ (ภาคเหนือ)
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Annonasquamosa L.
ชื่อวงศ์ : ANNONACEAE
เลขทะเบียน : 7-53000-001-0133
ชื่อทัว่ ไป : พริ กขี้หนู
ชื่อสามัญ : Bird Chilli
ชื่อพื้นเมือง : พริ กขี้หนู (กลาง) ; พริ กแด้ , พริ กนก (เหนือ)
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Capsicum frutescens L. var. frutescens
ชื่อวงศ์ : SOLANACEAE
อาณาจักรสั ตว์ (Animal Kingdom )
• ลักษณะสาคัญของสิ่ งมีชีวติ ในอาณาจักรสั ตว์ มีดังนี้
–เซลล์มเี ยือ่ หุ้มนิวเคลียส (Ucaryotic Cell )
–ประกอบด้ วยหลายเซลล์ รวมกันเป็ นเนือ้ เยือ่
–สร้ างอาหารเองไม่ ได้
–เคลือ่ นที่ได้ ด้วยตัวเองบางช่ วงชีวติ หรือตลอดชีวติ
–แบ่ งออกเป็ น 9 ไฟลัม ดังนี้
ไฟลัมพอริเฟอรา (Phylum Porifera)
–สิ่ งมีชีวติ ในไฟลัมพอริเฟอรา ได้ แก่ ฟองนา้ ชนิดต่ าง ๆ พบได้
ทั้งนา้ เค็มและนา้ จืด
–ส่ วนใหญ่ จะพบอยู่ในนา้ เค็ม พบอยู่ตามโขดหิน ก้ อนหิน
ตั้งแต่ ระดับชายฝั่งทะเลจนถึงทะเลลึก มีหลายสี สวยงาม
รู ปร่ างเป็ นก้อน ๆ บางพวกมีลกั ษณะคล้ายแจกัน ดูเผิน ๆ อาจ
คิดว่ าไม่ ใช่ สัตว์ เพราะไม่ เคลือ่ นที่
– มีรูพรุน เป็ นทางนา้ เข้ า (Ostium) มีขนาดเล็ก ส่ วน
ทางนา้ ออก (Osculum) มีขนาดใหญ่ กว่ า ภายใน
ลาตัวมีโพรงและทางของนา้ อยู่ทวั่ ไป
ไฟลัมซีเลนเทอราตา (Phylum
coelenterata)
• เป็ นสิ่ งมีชีวติ ที่พบน้ อยชนิดในน้าจืด แต่ จะพบมากชนิดในน้าทะเล
ตั้งแต่ ชายฝั่งทะเลระดับน้าขึน้ น้าลงจนกระทั่งถึงทะเลลึก บางพวกมี
รูปร่ างคล้ ายกระดิง่ ควา่ เรียกว่ า เมดูซ่า (medusa) ว่ ายน้าได้
บางพวกมีรูปร่ างคล้ ายต้ นไม้ เรียกว่ า โปลิป (polyp) ด้ านฐานยึด
ติด
• ด้ านตรงข้ ามเป็ นปากมีเทนตาเคิล (tentacle) หรือหนวดอยู่
รอบ ๆ ไว้ จับอาหาร โดยใช้ เข็มพิษ เรียกว่ า เนมาโทซีส
(nematocyst) เมื่อสั ตว์ ถูกแล้ วจะเป็ นอัมพาตและถูกจับกิน
เข้ าทางเดินอาหาร การสื บพันธุ์ส่วนใหญ่ ใช้ วธิ ีการแตกหน่ อ
ไฟลัมแพลทิเฮลมินทีส (Phylum
Platyhelminthes)
• ได้ แก่ หนอนตัวแบน มีเนือ้ เยือ่ สามชั้น ไม่ มีช่องตัว มีสมมาตร
แบบด้ านข้ าง (bilateralsymmetry) มีระบบย่ อย
อาหาร (บางชนิดไม่ มี)
• ได้ แก่ พลานาเรีย (Dugesia)
• พยาธิใบไม้ (fluke) เช่ น พยาธิใบไม้ ในตับ
(Opisthorchis viverrini)
• พยาธิตัวตืด (tape worm) เช่ น พยาธิตวั ตืดหมู
(Taenia solium)
ไฟลัมเนมาโทดา (Nematoda)
• ได้ แก่ หนอนตัวกลม มีเนือ้ เยือ่ สามชั้นมีสมมาตรแบบ
ด้ านข้ าง มีช่องตัวเทียม (pseudocoet) เช่ น
พยาธิไส้ เดือน (Ascarislumbricoides)
โรคเท้ าช้ าง (Brugia malayi)
ไฟลัมแอนเนลิดา (Phylum Annelida)
• หนอนปล้ อง ลาตัวแบ่ งเป็ นปล้ องชัดเจน มีเนือ้ เยื่อสามชั้น
มีสมมาตรแบบด้ านข้ าง มีช่องตัวที่แท้ จริง
(coelom) มีระบบไหลเวียนและระบบประสาท
• ได้ แก่ แม่ เพรียง (Nereis) หนอนฉัตร
(trbe worm)
• ไส้ เดือนดิน (Pheretima)
• ปลิง (leech) ทากดูดเลือด (landleech)
ไฟลัมมอลลัสกา (Phylum
Mollusca)
• สิ่ งมีชีวติ ในไฟลัมนีร้ วมเรียกว่ า มอลลัส (Mollus) เป็ นพวกทีม่ ีลาตัว
อ่ อนนุ่ม มีเปลือกแข็งหุ้มภายนอกมีจานวนมากอันดับสองลองจากแมลงพบ
ทั่วไปบนบกในนา้ เค็ม นา้ จืด และนา้ กร่ อย ส่ วนใหญ่ ดารงชีวิตเป็ นอิสระ
เคลือ่ นที่และว่ ายนา้ ไปมาได้ มีบางชนิดยึดติดกับหิน ฝังตัวในดินและทราย
พวกนีม้ ีเนือ้ เยือ่ 3ชั้น แบ่ งเป็ นกลุ่มๆ ดังนี้
• 1. หอยฝาเดียว (gastropoda) 2. หอยสอฝา (pelecypoda)
• 3. พวกทีม่ ีลาตัวเป็ นรู ปรี 4. พวกที่มีเปลือกแข็งชั้นเดียว 5. พวกที่มีหัวยืน่ ไป
ข้ างหน้ า
ไฟลัมอาร์ โทรโพดา (Phylum Arthropda)
• สั ตว์ ในกลุ่มนีร้ วมเรียกว่ า อาร์ โทรพอด เป็ นกลุ่มที่มีชนิด
และจานวนมาก มีลกั ษณะสาคัญร่ วมกัน คือ
• มีเปลือกแข้ งหุ้มลาตัว (exoskelton) ลาตัว
แบ่ งเป็ น 3 ส่ วน คือ
• ส่ วนหัว (head)
• ส่ วนอก(thorax)
• ส่ วนท้ อง (abdomen
• บางกลุ่มอาจมีส่วนหัวและส่ วนอกเชื่อมเป็ นส่ วนเดียวกัน
เรียกว่ า เซฟาโลทอ แรกช์ (cephalothorax)
• มีหนวด (antenna) และมีรยางค์ ที่เป็ นข้ อๆ ต่ อกัน
รยางค์ ทาหน้ าที่ในการเคลือ่ นที่และจับอาหาร
• ไรนา้ (daphnia)
• เพรียงหิน (Balanus)
• กั้งตั๊กแตน (Squilla mantis)
• ตัวกระปิ (Oniscus)
• กุ้งก้ามกราม (Macrobrachium)
ไฟลัมเอไคโนเดอร์ มาตา (Phylum Echinodermata)
• สัตว์ในไฟลัมนี้อยูใ่ นทะเลทั้งหมด ลักษณะสาคัญ คือ
• ผิวหยาบขรุ ขระเพราะมีสารประกอบพวกหิ นปูนผสมอยู่
• มีรูปร่ างกลมแบน สี สนั สวยงาม ลาต้นมีส่วนยืน่ ออกจากจุด
ศูนย์กลางในแนวรัศมีเป็ นแขนจานวน 5 แฉก หรื อทวีคูณ 5
แฉก
• โครงสร้างภายในเป็ นแผ่นหิ นปูนยึดติดกัน บางชนิดมี หนาม
ยืน่ ออกมาทางเดินอาหารสมบูรณ์
• ปากอยู่ด้านล่าง ทวารหนักเปิ ดทางด้ านบน มี มีทิวบ์ ฟีต (tube
feet) สาหรับใช้ ในการเคลือ่ นที่และจับอาหาร
• บางพวกมีการมีการสืบพันธุ์โดยไม่ อาศัยเพศ
• และสามารถงอกส่ วนที่ขาดหายไปได้
• ตัวอย่ างสิ่ งมีชีวติ ในไฟลัมนีเ้ ช่ น ดาวทะเล (Sea star)
• ขนนกทะเล (Antedon )
• ดาวเปราะ (Brittle star )
• ปลิงทะเล(Holothuria)
• เม่ นทะเล (Diadema)
ไฟลัมคอร์ ดาตา (Phylum Chordata)
•
•
•
•
สั ตว์ ในไฟลัมนีแ้ บ่ งเป็ น 2 กลุ่มใหญ่ คือ
โพรโทคอร์ เดต(Protochordate) กับ
สั ตว์ ทมี่ กี ระดูกสั นหลัง (Vertebrate)
โพโทคอร์ เคต (Protochordate)
สั ตว์ ในกลุ่มนีม้ โี ครงสร้ างทีเ่ รียกว่ าโนโตคอร์ ด เป็ นแกนของ
ร่ างกายอยู่ทางด้ านหลังของลาตัวเหนือทางเดิน
อาหาร ตัวอย่ างเช่ น
• แอมฟิ ออกซัส (Amphioxus) และ
• เพรียงหัวหอม (Sea Squirt)
• สั ตว์ มกี ระดูกสั นหลัง(Vertebrate) สั ตว์ มีกระดูกสั น
หลังทุกชนิดนั้น ในช่ วงที่เป็ นตัวอ่ อน (embryo)
• ในระยะแรกๆ ยังไม่ มกี ระดูกสั นหลังแต่ มไี นโตคอร์ ด เป็ นแกน
ของร่ างกาย เมือ่ ร่ างกายเจริญขึน้ จึงเกิดกระดูกสั นหลัง
ขึน้ มาทาหน้ าที่เป็ นแกนของร่ างกายแทน
• สั ตว์ มกี ระดูกสั นหลังในไฟลัมนีแ้ บ่ งออกเป็ นหลายคลาส ดังนี้
1. คลาสออสติอคิ ไทอิส (Class Osteichthyes)
สั ตว์ ในคลาสนีเ้ ป็ นปลากระดุกแข็งต่ างๆ อาศัยอยู่ในนา้ จืดและนา้ เค็ม
2. คลาสคอนดริคไทอิส (Class Chondirichythyes)
สั ตว์ ในคลาสนีม้ โี ครงสร้ างเป็ นกระดูกอ่ อนทั้งหมด
3. คลาสแอมฟิ เบีย (Class Amphibia) สั ตว์ สะเทินนา้ สะเทินบก
4. คลาสเรปทีเลีย (Class Reptilia)
สั ตว์ ในคลาสนีเ้ รียกว่ า สั ตว์ เลือ้ ยคลาน เป็ นสั ตว์ ที่มกี ระดูกสั นหลังที่ดารงชีวติ ได้ ดบี นพืน้ ดิน
5. คลาสเอวีส (Class Aves ) สั ตว์ ในคลาสนีเ้ ป็ นพวก สั ตว์ ปีก ได้ แก่ นกต่ างๆ
6. คลาสแมมมาเลีย (Class Mammalia)
สั ตว์ ในคลาสนีเ้ รียกว่ า สั ตว์ เลีย้ งลูกด้ วยนม (mammal) เป็ นสั ตว์ เลือดอุ่น
อาณาจักรพืช (Kingdom Plantae)
• สิ่ งมีชีวติ ทีจ่ อั ยู่ในอาณาจักรนี้ ได้ แก่ พืชสี เขียวทั้งหมดซึ่งมี
ประมาณ 240,000สปี ชีส์
• กระจ่ ายอยู่ทวั่ ไปทั้งบนบก ในนา้ จืดและนา้ เค็ม
• พืชเหล่านีม้ ีหลายเชลล์ที่มีการจัดเรียงตัวเป็ นเนื้อเยือ่
• ผนังเชลล์ส่วนใหญ่ เป็ นเชลล์ลูโลส
• เป็ นสิ่ งมีชีวติ ที่สามารถสร้ างอาหารได้
เอง (Autotrophicorganisms)
• แบ่ งออกเป็ น 8 ดิวชิ ันดังนี้
ดิวชิ ันไบรโอไฟตา (Division Bryophyta)
• พืชดิวชิ ันนีม้ ีประมาณ 20,000 สปี ชีต ์์
• เป็ นพืชที่ไม่ มีท่อลาเลียงนา้ และอาหาร (vascular
ndle)
• มีขนาดเล็กไม่ มีราก ลาต้ น และใบที่แท้ จริง ต้ นพืชระยะที่
เห็น เด่ นชัดและ
• ดารงชีวติ อยู่ยนื นานถึงระยะทีเ่ ป็ นแกมีโทไฟต์ ชอบขึน้ ในที่
แฉะ เช่ น
• มอส (moss) ลิเวอร์ ต (liverwort) เป็ นต้ น
ดิวชิ ันไซโลไฟตา (Division Psilophyta)
• พืชในวิดชิ ันนีเ้ ป็ นพืชที่มีเนือ้ เยือ่ ลาเลียงลาต้ นมีขนาดเล็ก เป็ น
เหลีย่ ม ลาต้ นส่ วนใหญ่ อยู่ในดินเรียกว่ าลาต้ นใต้
ดิน (rhizome)
• มีสีนา้ ตาล ส่ วนอยู่ เหนือดินเหนือดินมีสีเขียวแตกกิง่
• ไม่ มีใบ แต่ มีเกล็ดเล็กๆ ติดอยู่ทผี่ วิ
• ตัวอย่ างเช่ น หวายทะนอย หรือไซโลตัม (Psilotum)
ดิวชิ ันไลโคไฟตา(Divison Lycopyta)
• พืชในดิวชิ ันนีบ้ างชนิดเจริญเป็ นอิสระ บางชนิดเจริ ญบนต้ นไม้
ชนิดอืน่ เรียกว่ า อีพไิ ฟต์ (Epiphyte) มีรากจานวนมาก
ต้ นแต่ มอี ายุส้ั น
• ลาต้ นสร้ างใบที่แท้ จริงแล้วเป็ นใบชนิดไม
โคฟี ลล์ (microphyll)
• ซึ่งมีขนาดเล็กและไม่ มีเส้ นใบ
• หรืออาจมี เส้ นใบไมแต่ ไม่ แตกแขนง
• เมื่อสปอโรไฟต์ เจริญเต็มที่จะสร้ างสปอร์ ภายในอัปสปอร์ บนใบ
คล้าย ไมโครฟี ลล์ เรียกว่ า สปอโรฟี ลล์ (sprophyll)
• ซึ่งจะเรียงตัวกันแน่ นเห็น เป็ นแท่ ง เรียกว่ า
• สตอบิลสั (strobilus) อยู่ตรงบริเวณปลายสุ ดของกิง่
• หรือลาต้ นสปอร์ เจริญเป็ นแกมีโทไฟต์
• ทีบ่ างส่ วนอยู่บนดิน บางส่ วนอยู่ใต้ ดนิ
• ซึ่งได้ แก่ ต้ นตีนตุ๊กแก สามร้ อยยอดหรือหางกระรอก
ดิวชิ ันสฟี โนไฟตา (Division Sphenophyta)
• ในดิวชิ นั นี้สปอร์โรไฟต์มีลาต้นที่มีขอ้ และปล้องเห็นได้ชดั เจน เมื่อ
เจริ ญเต็มที่ภายในกลวง
• ประกอบด้วยลาต้นที่อยูเ่ หนือพื้นดินมีสีเขียว
• ทาหน้าที่สงั เคราะห์ดว้ ย แสงแทนใบเพราะใบชนิดไมโครฟี ลล์ มีขนาด
เล็กมาก ลักษณะเป็ นเกล็ด
• จานวนหลายใบเจริ ญรอบๆ ข้อ ลาต้น ที่อยูใ่ ต้ดิน สี น้ าตาล มีรากจานวน
มากเจริ ญจากข้อมีสรอบิลสั ที่บริ เวณปลายกิ่ง
• เช่น หญ้าถอดปล้อง หรื อหญ้าเงือก หรื อ หญ้าหู
หนอก (Equisetum)
ดิวชิ ันเทอโรไฟตา(Division Pterophyta)
• พืชในดิวชิ ันนี้ เป็ นกลุ่มพืชทีม่ จี านวนชนิดหรือสปี ชีส์มากกว่ าดิ
วิชันอืน่ ๆ ทั้งหมดที่ผ่านมา
• ตัวอย่ างพืชในดิวชิ ันนี้ เช่ นเฟิ ร์ น มีราก ลาต้ น และใบ เห็นได้
ชัดเจน และมีความสั บซ้ อนมากขึน้ กว่ าพืชกลุ่มทีผ่ ่ านมา
เฟิ ร์ นมีขนาดแตกต่ างกันตั้งแต่ ขนาดเล็กถึงขนาดใหญ่
• ส่ วนใหญ่ ชอบขึน้ ในทีช่ ่ ุมชื้นและมีร่มเงา เช่ น เฟิ ร์ น
ก้างปลา เฟิ ร์ นเกล็ดหอย
- บางชนิดเป็ นพืชลอยนา้ เช่ น แหนแดง จอกหูหนู
- บางชนิดอยู่ในร่ มหรือทีช่ ื้นแฉะ เช่ น ผักแว่ น ผักกูด
- บางชนิดแกาะอยู่ตามต้ นไม้ หรือกิง่ ไม้ เช่ น ชายผ้ าสี ดา เฟิ ร์ นเขากวาง
ดิวชิ ันโคนิเฟอโรไฟตา
( Division Coniferophyta)
• พืชในดิวชิ ันนีเ้ ป็ นไม้ ยนื ต้ นทีม่ ขี นาดสู งใหญ่ แตกกิง่ ก้านมาก
• ใบเป็ นใบเดีย่ วแต่ มกั มีขนาดเล็ก คล้ายรู ปเข็ม มีเมล็ดสาหรับ
สื บพันธุ์ ใบเป็ นใบเดีย่ ว
• แต่ มกั มีขนาดเล็ก คล้ายรู ปเข็ม มีเมล็ดสาหรับสื บพันธุ์ เมล็ดไม่
มีผนังรังไข่ ห่อหุ้มเมล็ดติดอยู่กบั ส่ วนทีม่ ลี กั ษณะเป็ นแผ่ นแข็ง
• สี นา้ ตาลที่เรียกช้ อนกันแน่ น เป็ นอวัยวะที่เรียกว่ า สตรอบิลสั
• รู ปโคนพืชพวกนีช้ อบขึน้ ตามทีม่ อี ากาศเย็น เช่ นในเขตหนาว
• ถ้ าเป็ นเขตร้ อนจะอยู่ตามผู้เขาสู งระดับ 800 เมตรขึน้ ไปเพราะ มี
อากาศเย็น เช่ น ดอยอินทนนท์ ภูกระดึง ดอยขุนตาล
• ตัวอย่ างพืช เช่ นสนสองใบ (Pinus merkusii)
สนสามใบ (Pinus khasya)
ดิวชิ ันไชแคโดไฟตา (Division
Cycadophyta)
• พืชในดิวชิ ันนีม้ ีลาต้ นใหญ่ ลาต้ นส่ วนใหญ่ ใต้ ดนิ มีลกั ษณะเป็ น
หัวเก็บอาหารจาพวกแป้ ง อีกส่ วนหนึ่งอยู่เหนือดิน
• สร้ างใบเป็ นกระจุกอยู่ทยี่ อดของลาต้ น ซึ่งไม่ ค่อยแตกแขนง ใบ
เป็ นใบประกอบขนาดใหญ่
• ใบย่ อยมีจานวนมาก ขนาดเล็กและแข็ง พืชในกลุ่มนี้ คือ
• ปรง (cycads) ปรงมีประโยชน์ คือ นามาใช้ ในการ
ประดับ ตกแต่ งใน สถานที่ บางท้ องถิน่
ใช้ ลาต้ นเป็ นแหล่งอาหารแป้ ง เช่ น ในแอฟริกา
ดิวชิ ันแอนโทไฟตา(Division Anthophyta)
• พืชในดิวชิ ันนีเ้ ป็ นพืชทีส่ ร้ างอวัยวะสื บพันธุ์ เรียกว่ า ดอก เป็ น
กลุ่มพืชทีม่ วี วิ ฒ
ั นาการมากทีส่ ุ ด
• ในบรรดาพืชที่มีเนือ้ เยือ่ ลาเลียงทั้งหมด ดอกที่เป็ น
อวัยวะ สื บพันธุ์สร้ างเมล็ดมีรังไข่ ห่อหุ้ม
• บางชนิดมีดอกขนาดใหญ่ เห็นได้ ชัดเจน เช่ น กุหลาบ ชบา
• บางชนิดดอกอาจมีขนาดเล็ก เช่ น จอก แหน สนทะเล บางชนิด
ไม่ ค่อยเห็นดอก เช่ น ตะไคร้ สาหร่ าย หางกระรอกพลูด่าง
• พืชมีดอกเหล่ านี้ บางชนิดอยู่ในนา้ เช่ น บัว ผักตบ
• บางชนิดเกาะต้ นไม้ อนื่ เช่ นกล้วยไม้ บางชนิดเลือ้ ย
พันกับต้ นไม้ อนื่ เช่ น เถาวัลย์ เป็ นต้ น บางชนิดเป็ นปรสิ ต
เช่ น กาฝาก ฝอยทอง
• ดิวชิ ันนีแ้ บ่ งเป็ น 2กลุ่มย่ อย คือ พืชใบเลีย้ งคู่ และพืชใบเลีย้ ง
เดีย่ วโดยใช้ โครงสร้ างสาคัญของเอ็มบริโอ ราก ลาต้ น ใบ และ
ดอกเป็ นเกณฑ์
• พืชใบเลีย้ งเดีย่ ว (Monocotyledon)
• พืชใบเลีย้ งคู่ (Dicotyledon)
ดิวชิ ันกิงโกไฟตา(Division Ginkgophyta)
• พืชในอาณาจักรนีป้ ัจจุบันมีเพียงชนิดเดียว คือ
แป๊ ะก๊วย (ginkgobilloba)เป็ นไม้ ยนื่ ต้ นเหมือนสน
เจริญได้ ดี ในเขตหนาวเช่ น จีน ญีป่ ุ่ น แป๊ ะก๊วยเป็ นพืชแยกเพศ
คือ ต้ นตัวผู้สร้ างสตรอบิลสั ตัว
ผู้ (malestrobilus)เป็ นช่ อ
• ประกอบ ด้ วยสตรอบิลสั หลายอัน ต้ นตัวเมียจะสร้ างเมล็ดที่ไม่ มี
รังไข่ ห่อหุ้ม เป็ นช่ อ ช่ อละ 2 เมล็ด
• เมื่อยังอ่อนจะมีสีเขียว เมื่อแก่จะมีสีเหลือง เมล็ดแพร่ พนั ธุ์โดย
เอ็มบริโอที่จะงอกเป็ นต้ น กล้าและเจริญเติบโตต่ อไป เช่ น ต้ น
แป๊ ะก๊วย