สัตว์ - eReportz

Download Report

Transcript สัตว์ - eReportz

สั ตว์
สัตว์
• สั ตว์ เป็ นสิ่ งมีชีวิตกลุ่มที่ใหญ่ที่สุด จัดอยูใ่ น อาณาจักรสั ตว์ (Kingdom
Animalia) เป็ นสิ่ งมีชีวิตพวกที่นิวเคลียสมีผนังห่อหุม้ ประกอบด้วย
หลายเซลล์มีการแบ่งหน้าที่ของแต่ละเซลล์เพื่อทาหน้าทีเ่ ฉพาะอย่างแบบ
ถาวร ไม่มีคลอโรฟิ ลล์ สร้างอาหารเองไม่ได้ ดารงชีวิตได้หลายลักษณะ
ทั้งบนบกในน้ า และบางชนิดเป็ นปรสิ ต อาณาจักรนี้ได้แก่สตั ว์ทุกชนิด
ตั้งแต่สตั ว์ไม่มีกระดูกสันหลังจนถึงสัตว์ที่มีกระดูกสันหลัง ได้แก่ พยาธิ
ใบไม้ กบ ลิง กระต่าย ดาวทะเล แมงดาทะเล พลานาเรี ย หอยสองฝา
แมลงสาบ ในทางชีววิทยา มนุษย์ ก็จดั อยูใ่ นอาณาจักรสัตว์ โดยคาว่า
สัตว์ กลายความหมายมาจากคาว่า "สตฺ ตฺว" ในภาษาสันสกฤตซึ่งแปลว่า
สิ่ งมีชีวิต
ประเภทของสัตว์
• ประเภทของสั ตว์ สัตว์ในโลกนี้มีมากมายหลายชนิด นักวิทยาศาสตร์ได้
จัดแบ่งสัตว์เป็ นกลุ่ม โดยถือรู ปร่ างลักษณะที่เหมือนกัน หรื อต่างกันเป็ น
สาคัญ อริ สโตเติล นักวิทยาศาสตร์ชาวกรี ก ใช้กระดูกสันหลังเป็ นเกณฑ์
ในการแบ่งสัตว์ได้เป็ น 2 พวก คือ
• 1.สัตว์มีกระดูกสันหลัง
• 2.สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
1.สั ตว์ มกี ระดูกสั นหลัง
• สั ตว์ มกี ระดูกสั นหลัง (Vertebrate) สิ่ งมีชีวติ ประเภทนี้มีกระดูกสันหลังหรื อไขสั นหลัง
สิ่ งมีชีวติ ที่มีกระดูกสันหลังเริ่ มมีววิ ฒั นาการมาเป็ นเวลาประมาณ 505 ล้านปี ในยุคแคมเบรี ยน
กลาง ซึ่งเป็ นส่ วนหนึ่งของช่วงยุคแคมเบรี ยน โครงกระดูกของไขสันหลัง ถูกเรี ยกว่ากระดูกสัน
หลัง Vertebrate เป็ นไฟลัมย่อยที่ใหญ่ที่สุดใน Chordates รวมทั้งยังมีสตั ว์ที่คนรู้จกั
มากที่สุดอีกด้วย (ยกเว้นแมลง) ปลา สัตว์สะเทินน้ าสะเทินบก สัตว์เลื้อยคลาน นก และสั ตว์ เลีย้ ง
ลูกด้ วยนม (รวมทั้งมนุษย์)เป็ นสิ่ งมีชีวติ ที่มีกระดูกสันหลังทั้งสิ้ น ลักษณะเฉพาะของไฟลัมย่อยนี้
คือระบบของกล้ ามเนือ้ จานวนมาก เช่นเดียวกับระบบประสาทส่ วนกลางที่ถูกวางในกระดูกสัน
หลังเป็ นส่ วน ๆ
• สัตว์มีกระดูกสันหลัง คือกระดูกสันหลังจะอยูเ่ ป็ นแนวยาวไปตามด้านหลังของสัตว์ กระดูกสัน
หลังจะต่อกันเป็ นข้อๆ ยืดหยุน่ เคลื่อนไหวได้มีหน้าที่ช่วยพยุงร่ างกายให้เป็ นรู ปร่ างทรวดทรงอยู่
ได้และยังช่วยป้ องกันเส้นประสาทอีกด้วย สัตว์พวกมีกระดูกสันหลัง นักวิทยาศาสตร์ยงั แบ่ง
ออกเป็ น 5 พวก คือ
1.1 สัตว์พวกปลา
• ปลา จัดอยูใ่ นไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง เป็ นสัตว์ที่อาศัยอยูใ่ นแหล่งน้ า ส่ วนใหญ่
เป็ นสั ตว์ เลือดเย็น หายใจด้วยเหงือกและมีกระดูกสันหลัง สามารถเคลื่อนไหวไป
มาด้วยครี บและกล้ามเนื้อของลาตัว บางชนิดมีเกล็ดปกคลุมทัว่ ตัว บางชนิดไม่มี
เกล็ดแต่ปกคลุมด้วยเมือกลื่น ๆ หรื อแผ่นกระดูก มีหวั ใจสองห้องและมีขากรรไกร
ยกเว้นปลาจาพวกปลาฉลาม
• สัตว์ที่อาศัยอยูใ่ นแหล่งน้ าบางประเภท ถูกเรี ยกติดปากว่าปลาเช่นเดียวกันเช่น
ปลาดาว โลมา ปลาวาฬและปลาหมึก ซึ่ งสัตว์ท้ งั หมดนี้กม็ ีแหล่งอาศัยอยูใ่ นน้ า
ด้วยกันทั้งสิ้ น แต่ไม่ได้จดั อยูใ่ นจาพวกเดียวกันกับปลา ด้วยลักษณะทางกายวิภาค
และสรี รวิยาที่แตกต่างกันเช่น ปลาดาวเป็ นสัตว์ที่ไม่มีกระดูกสันหลังเช่นเดียวกับ
ปลา มีโครงสร้างที่เป็ นหิ นปูน โลมาและปลาวาฬถูกจัดเป็ นสั ตว์ เลีย้ งลูกด้ วยนมที่
สามารถหายใจได้ทางปอดไม่ใช่ทางเหงือก และปลาหมึกจัดเป็ นสัตว์ที่ไม่มีกระดูก
สันหลัง แต่ถกู จัดรวมอยูก่ บั สัตว์ประเภทเดียวกันกับหอย
1.1.1 ลักษณะทัว่ ไปของปลา
•
•
•
•
•
•
•
ปลาเป็ นสัตว์ที่อาศัยอยูใ่ นแหล่งน้ า มีหลายจานวนมากมายหลากหลายสายพันธุ์ บางชนิดมีเกล็ดและไม่มีเกล็ด ปลาส่ วนมากมีการผสมพันธุ์นอก
ร่ างกาย แต่บางชนิดก็จะมีการผสมพันธุ์ภายในร่ างกายของปลาตัวเมีย มีลกั ษณะลาตัวด้านซ้ายและขวาเท่ากัน สามารถแบ่งกลุ่มทางอนุกรมวิธาน
ของปลาได้ ดังนี้
ปลาปากกลม (cyclostome) แบ่งเป็ น แฮกฟิ ช (Hagfish) พบในปัจจุบนั ประมาณ 65 ชนิด และ ปลาแลมเพรย์ (Lampreys) พบ
ในปัจจุบนั ประมาณ 40 สปี ชีส์
ปลากระดูกอ่อน (cartilaginous fish) ได้แก่ ปลาฉลาม ปลาโรนัน ปลาฉนาก ปลากระเบน พบในปัจจุบนั ประมาณ 300 ชนิด
ปลากระดูกแข็ง (bony fish) คือปลาอื่นๆที่เหลือทั้งหมด ปลากระดูกแข็งเป็ นปลาส่ วนใหญ่ของโลก พบในปั จจุบนั ประมาณ 21,000
ชนิด
ปลาเป็ นสัตว์น้ าที่สามารถดารงชีพอยูไ่ ด้ในสภาพของดินฟ้ าอากาศที่มีความแปรปรวน และแตกต่างกันอย่างมาก ตราบใดเท่าที่ในบริ เวณนั้นยังคง
มีแหล่งน้ าอยู่ เนื่องจากปลาในแต่ละสปี ชีส์จะมีคุณสมบัติเฉพาะตัวในการปรับสภาพของตัวเองให้สามารถมีชีวติ ต่อไปได้ เช่นปลาที่อาศัยใน
มหาสมุทรแอนตาร์กติก ซึ่งปกคลุมไปด้วยนา้ แข็งและอุณหภูมิที่ต่ากว่าจุดเยือกแข็ง จึงต้องปรับสภาพร่ างกายของตัวเองโดยการสร้างสารความ
ต้านทานของเม็ดเลือด หรื อปลาที่อาศัยอยูใ่ นน้ าที่มีอุณหภูมิสูง แหล่งน้ าที่จืดสนิทจนถึงแหล่งน้ าที่มีความเค็มค่อนข้างมาก ก็จะปรับสภาพการ
ดารงชีพที่แตกต่างกันรวมไปถึงวิธีการว่ายน้ าด้วยลักษณะวิธีการที่แตกต่างกัน การปรับตัวและการดิ้นรนเพื่อการดารงชีพของปลา ทาให้ลกั ษณะ
ทางสรี รวิทยารวมถึงพฤติกรรมต่าง ๆ มีความแตกต่างกันอย่างสิ้ นเชิง
สภาพแวดล้อมเป็ นอีกปั จจัยหนึ่งที่มีอิทธิ พลต่อรู ปร่ าง สี สันของเกล็ดรวมถึงลักษณะทางชีววิทยาของปลาในแต่ละชนิด ซึ่งปลาบางชนิดจะ
ปรับเปลี่ยนอวัยวะบางส่ วนที่ไม่จาเป็ นต่อการอยูร่ อดและสร้างอวัยวะใหม่เพื่อให้มีความเหมาะสมกับสภาพแวดล้อมแทน เพื่อให้สามารถดารง
ชีพต่อไปได้และเป็ นการพัฒนาโครงสร้างทางกายวิภาคที่เป็ นประโยชน์แก่ปลาอีกด้วย
ปลาแต่ละชนิดจะมีนิสัยและแหล่งที่อยูอ่ าศัยเฉพาะตัวที่แตกต่างกันออกไป เช่นปลาที่หากินตามบริ เวณพื้นดินจะมีรูปร่ างคล้ายคลึงกับหนอน
ปลาที่อาศัยในกระแสน้ าที่เร็ วและเชี่ยวกราด จะมีรูปร่ างเปรี ยว หัวมีลกั ษณะมนเพื่อให้เหมาะกับการว่ายทวนน้ า หรื อปลาที่มีรูปร่ างแบน ๆ เช่น
ปลากระดี่หรื อปลาสลิด จะอาศัยอยูใ่ นแหล่งน้ าตื้น ๆ เช่นริ มฝั่งแม่น้ า
1.2 สั ตว์ ครึ่งบกครึ่งน้า
• สัตว์สะเทินนา้ สะเทินบก หรื อเรี ยกอย่างทัว่ ไปว่า สัตว์ครึ่งบกครึ่งนา้ (Amphibians) เป็ นสัตว์ที่อยูไ่ ด้ท้งั ในน้ า
และบนบก มีต่อมเมือกทาให้ผวิ หนังชุ่มชื้นตลอดเวลา ผิวหนังเปี ยกลื่นอยูเ่ สมอ ไม่มีเกล็ดหรื อขน หายใจด้วยเหงือก
ปอด ผิวหนัง หรื อผิวในปากในคอ สื บพันธุ์โดยการผสมพันธุ์ภายนอกลาตัว สื บพันธ์เมื่ออายุ 2–3 ปี ส่วนใหญ่ตวั
ผูจ้ ะมีถุงลมปากเพื่อใช้ส่งเสี ยงร้องเรี ยกตัวเมีย ออกลูกเป็ นไข่อยูใ่ นน้ า ไม่มีเปลือก วางไข่เป็ นกลุ่มในน้ ามีสารเป็ นวุน้
หุม้
• ลูกอ่อนที่ออกจากไข่มีรูปร่ างคล้ายปลา อยูใ่ นน้ าหายใจด้วยเหงือก เมื่อเติบโตเต็มที่แล้วมีปอดหายใจ ขึ้นบกได้ แต่
ต้องอยูใ่ กล้น้ า เช่น กบ คางคก อึง่ อ่าง เขียด
• สัตว์ครึ่ งบกครึ่ งน้ าส่วนใหญ่จะมีการเปลี่ยนแปลงรู ปร่ างทั้งภายนอกและภายในอย่างสิ้นเชิง ไปตามวงจรชีวิต ตัว
อ่อนอาศัยอยูใ่ นน้ า หายใจด้วยเหงือก เมื่อโตขึ้นจะเปลี่ยนรู ปร่ างอาศัยอยูบ่ นบก หายใจด้วยปอดหรื อผิวหนัง
โดยเฉพาะในหน้าแล้งใน
• ช่วงระหว่างฤดูหนาวถึงฤดูร้อน สัตว์พวกนี่ส่วนใหญ่จะขุดรู จาศีล เพื่อหนีความแห้งแล้ง มิให้ผวิ หนังแห้ง ถ้าผิวหนัง
แห้งมันจะหายใจไม่ได้และอาจตายได้ เพราะก๊าชจากอากาศต้องละลายไปกับน้ าเมือกที่ผวิ หนัง แล้วจึงแพร่ เข้าสู้
กระแสโลหิ ต ระยะนี้มนั จะใช้อาหารที่สะสมไว้ในร่ างกายอย่างช้าๆ นิวต์และซาลามานเดอร์กเ็ ป็ นสัตว์ครึ่ งบกครึ่ ง
น้ าเหมือนกัน แต่แตกตางกันตรงที่นิวต์และซาลามานเดอร์จะยังคงหางของมันไว้ เมื่อเจริ ญเติบโตเต็มที่
• สัตว์ครึ่ งบกครึ่ งน้ าเป็ นสัตว์เลือดเย็น เช่น เดียวกับสัตว์พวกปลา กินแมลง และ หนอนที่ยงั มีชีวิตอยู่
1.3 สัตว์เลื้อยคลาน
• สั ตว์ เลือ้ ยคลาน (Reptilia) จัดอยูใ่ นไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง โดยคาว่า Reptilia มาจาก
คาว่า Repera ที่มีความหมายว่า "คลาน" เป็ นสัตว์มีกระดูกสันหลังที่จดั เป็ นสัตว์ในกลุ่มแรก
ๆ ของโลกที่มีการดารงชีวติ บนบกอย่างแท้จริ ง สัตว์เลื้อยคลานที่รอดชีวติ จากการสูญพันธุ์และยัง
ดารงชีวติ ในปัจจุบนั มีจานวนมากถึง 7,000 ชนิด กระจายอยูท่ วั่ โลกทั้งชนิดอาศัยในแหล่งน้ า
และบนบก สัตว์เลื้อยคลานจัดเป็ นกลุ่มของสัตว์ที่ประสบความสาเร็ จในการปรับสภาพร่ างกาย
ในการเอาตัวรอด จากเหตุการณ์หินอุกกาบาตพุง่ ชนโลกมามากกว่า 100 ล้านปี มาแล้ว
• ในยุคจูแรคสิ ค (Jurassic period) ที่อยูใ่ นมหายุคมีโซโซอิค (Mesozoic era)
ซึ่งมีอายุของยุคที่ยาวนานถึง 100 ล้านปี จัดเป็ นยุคที่สตั ว์เลื้อยคลานมีววิ ฒั นาการจนถึงขีดสุ ด
มีสตั ว์เลื้อยคลานมากมายหลากหลายขนาด ตั้งแต่กิ้งก่าตัวเล็ก ๆ จนถึงไทรันโนซอรัส เร็กซ์ซ่ ึง
เป็ นไดโนเสาร์กินเนื้อขนาดใหญ่ ที่มีจานวนมากมายครอบครองพื้นที่ทวั่ ทุกแห่งในโลก ยุคจูแรค
สิ คจึงถือเป็ นยุคของสัตว์เลื้อยคลานอย่างแท้จริ ง ต่อมาภายหลังเกิดเหตุการณ์อกุ กาบาตพุง่ ชนโลก
ทาให้กลุ่มสัตว์บกที่อาศัยในยุคจูแรคสิ ค เกิดล้มตายและสูญพันธุ์อย่างกระทันหันโดยไม่ทราบ
สาเหตุของการสูญพันธุ์ที่ชดั เจนและแน่นอน
1.3.1 ลักษณะทัว่ ไปของสัตว์เลื้อยคลาน
•
•
•
•
•
สัตว์เลื้อยคลานโดยทัว่ ไป จะมีรยางค์เป็ นคู่และมักจะมีนิ้วเท้าทั้งหมด 5 นิ้วเสมอเพื่อช่วยในการเคลื่อนที่ได้อย่างรวดเร็ ว มีการปรับสภาพร่ างกาย
เพื่อรองรับการปี นป่ าย การวิง่ รวมทั้งการว่ายน้ าด้วย ซึ่ งการปรับสภาพร่ างกายของสัตว์เลื้อยคลาน มีบางกลุ่มเท่านั้นเช่นงูและสัตว์จาพวกกิ้งก่า
บางชนิด ที่ไม่มีรยางค์ สัตว์เลื้อยคลานจะมีผวิ หนังหรื อระบบเครื่ องห่อหุ ม้ (integumentary system) ซึ่งจะแตกต่างกันตามรู ปร่ าง
ลักษณะของสัตว์เลื้อยคลาน ที่มีความแตกต่างกันไปในกลุ่มต่าง ๆ ผิวหนังและตลอดทัว่ ทั้งลาตัวมีเกล็ดขึ้นปกคลุม ซึ่ งเป็ นเกล็ดที่เกิดจากอิพิเดอร์
มิส (horny epidermal scale) และอาจจะมีแผ่นกระดูกจากชั้นของผิวหนังเดอร์ มิส (dermal plate) ร่ วมอยูด่ ว้ ย
สัตว์เลื้อยคลานจะมีต่อมที่บริ เวณผิวหนังน้อยมาก หรื อไม่มีเลยในบางกลุ่มและบางชนิด ผิวหนังหยาบหนา กระด้างและแห้งซึ่ งจะช่วยป้ องกัน
การระเหยของน้ าออกจากร่ างกาย และป้ องกันอันตรายแก่ผวิ หนัง สัตว์เลื้อยคลานมีผวิ หนังที่ประกอบด้วยอิพิเดอร์ มิสที่บางและหนา มีเดอร์มิ
สที่มีเซลล์เม็ดสี (chromatophore) ช่วยทาให้ผวิ หนังของสัตว์เลื้อยคลาน มีสีสันต่าง ๆ เช่น สี เกล็ดของงู สี เกล็ดของจระเข้หรื อสี เกล็ด
ของกิ้งก่า เป็ นต้น เกล็ดส่ วนใหญ่เกิดจากอิพิเดอร์ มิส ซึ่ งในสัตว์เลื้อยคลานบางชนิด จะมีเกล็ดถาวรตลอดชีวติ ตั้งแต่ออกจากไข่จนถึงตัวเต็มวัย
เช่นจระเข้า แต่สาหรับสัตว์เลื้อยคลานบางชนิดเช่นจิ้งจก งูหรื อกิ้งก่า จะทาการสร้างเกล็ดขึ้นมาใหม่ภายใต้ช้ นั ผิวหนังที่มีเกล็ดเดิมปกคลุมอยู่
การสร้างเกล็ดใหม่จะช่วยทาให้เกล็ดเดิมที่บริ เวณชั้นผิวหนัง เกิดการลอกหลุดออกทั้งชั้น เช่นการลอกคราบของงู โดยงูจะทิ้งเกล็ดเดิมเอาไว้
ทั้งหมด ด้วยวิธีการปลิ้นออก โดยที่คราบจะยังคงรู ปไม่ฉีกขาด แต่สาหรับลิซาร์ ดหรื อสัตว์จาพวกกิ้งก่า จะใช้วธิ ี การทาให้เกล็ดที่ปกคลุมผิวหนัง
อยูเ่ ดิมนั้น เกิดการแตกแยกออกเป็ นชิ้นเล็ก ๆ แล้วเกล็ดใหม่จะขึ้นมาแทนที่เกล็ดเดิมที่หลุดออกไป
เต่าจะมีกระดองที่เป็ นผิวหนังชื้อเยือ่ บุผวิ ซึ่ งกระดองเต่านั้นจะเป็ นแผ่นเกล็ดปกคลุมร่ างกาย (epidermal horny shield
scutes) และผิวหนังชั้นในที่มีแผ่นกระดูก (dermal hony plate) ซึ่ งเกิดจากการเปลี่ยนแปลงของกระดูก มีลกั ษณะติดอยูก่ บั ด้าน
ในของแผ่นเกล็ด ซ้อนกันเป็ นชั้นจนกลายเป็ นกระดองของเต่า ที่มีความแข็งแรงคงทน สาหรับช่วยป้ องกันอันตรายต่าง ๆ ให้แก่เต่า กระดองเต่า
บริ เวณด้านหลังเรี ยกว่าคาราเพส (carapace) มีลกั ษณะเหมือนกับรู ปโดม ขนาดของกระดองเต่าจะขึ้นอยูก่ บั ลักษณะภายนอกและขนาด
ของเต่าเป็ นสาคัญ
กระดูกสันหลังและกระดูกซี่โครงของเต่า จะขยายตัวออกและเชื่อมติดกันเป็ นเนื้อเดียว ติดกับบริ เวณผิวด้านในของเกล็ด สาหรับกระดองเต่า
บริ เวณด้านท้องเรี ยกว่าพลาสทรอน (plastron) จะมีกระดูกรองรับบริ เวณแขน ขาและส่ วนกระดูกบริ เวณอกที่แบนลงไป และจะเกาะติดกับ
บริ เวณด้านในของเกล็ดบริ เวณด้านท้องของกระดองเต่า แผ่นเกล็ดและแผ่นกระดูกจะมีการเรี ยงตัวอย่างสวยงามและเหลื่อมซ้อนกันอย่างเป็ น
ระเบียบ ซึ่ งระหว่างกระดองเต่าบริ เวณด้านหลังและกระดองเต่าบริ เวณด้านท้อง จะมีเยือ่ หรื อกระดูกที่เชื่อมต่อทางด้านข้าง แต่สาหรับเต่าบาง
ชนิดนั้นจะไม่มีแผ่นเกล็ด ผิวหนังบริ เวณลาตัวจะมีความอ่อนนุ่มและเหนียงคล้ายคลึงกับผิวหนังแทน
1.4 สัตว์ปีก
• สั ตว์ ปีก เป็ นสัตว์เลือดอุ่น จึงรักษาอุณหภูมิของร่ างกายไว้ได้คงที่ประมาณ 40
องศา ขาหน้ามีลกั ษณะคล้ายกับขาของสัตว์เลื้อยคลาน ซึ่ งจะเปลี่ยนเป็ นปี กเพื่อใช้
สาหรับบิน และมีขนปกคลุมตลอดตัว มีเกล็ดที่ขาและนิ้วเท้า ออกลูกเป็ นไข่ มี
เปลือกแข็งหุม้
• สัตว์ปีกไม่มีฟันแต่มีจะงอยปาก สัตว์ปีกที่กินพืชจะใช่ส่วนของกระเพาะบดอาหาร
ที่เรี ยกว่า กึ๋น เป็ นตัวบดอาหารให้ละเอียด บางครั้งสัตว์ปีกจะกินเม็ดทรายเข้าไป
เพื่อช่วยให้บดอาหารได้ดีข้ ึน
• โครงกระดูกสัตว์ปีกจะเบามาก เนื่องจากกระดูกหลายชิ้นมีช่องกลางและมี
โครงสร้างแบบรังผึ้งที่แข็งแรงอยูภ่ ายใน สัตว์กลุ่มนี้มถี ุงลมติดกับปอด โดยหายใจ
เอาอากาศเข้าออกจากถุงลม ซึ่ งกระจายอยูใ่ นร่ างกายเหนือปอด โดยอากาศจะไหล
ผ่านปอดไปด้วย
1.5 สั ตว์ เลีย้ งลูกด้ วยนา้ นม
• สั ตว์ เลีย้ งลูกด้ วยนา้ นม (Mammalia) จัดอยูใ่ นไฟลัมสัตว์มีแกนสันหลัง โดยคาว่า
Mammalia มาจากคาว่า Mamma ที่มีความหมายว่า "หน้าอก" เป็ นกลุ่มของสัตว์เลี้ยง
ลูกด้วยน้ านม ที่มีการวิวฒั นาการและพัฒนาร่ างกายที่ดีหลากหลายประการ รวมทั้งมีระบบ
ประสาทที่เจริ ญก้าวหน้า สามารถดารงชีวติ ได้ในทุกสภาพสิ่ งแวดล้อม[1] มีขนาดของร่ างกาย
และรู ปพรรณสัณฐานที่แตกต่างกันออกไป รวมถึงการทางานของระบบต่าง ๆ ภายในร่ างกาย ที่มี
การปรับเปลี่ยนไปตามลักษณะของสายพันธุ์ มีลกั ษณะเด่นคือมีต่อมนา้ นมที่มีเฉพาะในเพศเมีย
เท่านั้น เพื่อผลิตน้ านมเพื่อใช้เลี้ยงลูกวัยแรกเกิด[2] เป็ นสัตว์เลือดอุ่น มีขนเป็ นเส้น ๆ (hair)
หรื อขนอ่อน (fur) ปกคลุมทัว่ ทั้งร่ างกาย เพื่อเป็ นการรักษาอุณหภูมิในร่ างกาย ยกเว้นสัตว์น้ าที่
ไม่มีขน
• สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ านม ไม่จดั อยูใ่ นประเภทสัตว์กลุ่มใหญ่ คือมีจานวนประชากรประมาณ
4,500 ชนิด ซึ่งถือว่าเป็ นปริ มาณน้อยมากเมื่อเทียบกับนก ที่มีประมาณ 9,200 ชนิด และ
ปลาอีกประมาณ 20,000 ชนิด รวมทั้งแมลงอีกประมาณ 800,000 ชนิด ส่ วนใหญ่เป็ น
สัตว์บก เช่น สุ นขั ช้าง ลิง เสื อ สิ งโต จิงโจ้ เม่น หนู ฯลฯ สาหรับสัตว์น้ าที่จดั เป็ นเลี้ยงลูกด้วย
น้ านม ได้แก่ โลมา วาฬ มานาทีและพะยูน แต่สาหรับสัตว์ปีกประเภทเดียวที่เลี้ยงลูกด้วยน้ านม
คือค้างคาว ซึ่งกระรอกบินและบ่างนั้น ไม่จดั อยูใ่ นประเภทของสัตว์ปีก เนื่องจากใช้ปีกในการ
ร่ อนไปได้เพียงแค่ระยะหนึ่งเท่านั้น สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ านมส่ วนใหญ่ออกลูกเป็ นตัว ยกเว้นตุ่น
ปากเป็ ดและอีคดิ นาเท่านั้นที่ออกลูกเป็ นไข่
1.5.1 ลักษณะทัว่ ไปของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
• สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ านม มีลกั ษณะที่แตกต่างจากสัตว์ชนิดอื่น ๆ อย่างชัดเจน มีลกั ษณะทัว่ ไปคือตลอดทัว่ ทั้งลาตัวมี
ขนปกคลุม (hair) แต่สาหรับสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ านมบางชนิด อาจมีการวิวฒั นาการของร่ างกายให้มีจานวนเส้น
ขนลดน้อยลง มีผวิ หนังที่ปกคลุมทัว่ ทั้งร่ างกายและมีต่อมเหงือ่ (sweat glands) ต่ อมกลิน่ (scent
glands) ต่ อมนา้ มัน (sebaceous glands) และต่อมน้ านม (mammary glands) มีฟันที่
แข็งแรงสาหรับล่าเหยือ่ และบดเคี้ยวอาหารจานวน 2 ชุด (diphyodont) ทั้งบริ เวณขากรรไกรด้านบนและ
ขากรรไกรด้านล่าง มีฟันชุดแรกคือฟันน้ านม (milk teeth) ที่จะถูกแทนที่ดว้ ยฟันแท้ (permanent
teeth) มีเปลือกตาที่สามารถเคลื่อนไหวได้ นัยน์ตา 2 ข้างสามารถกลอกไปมาเพื่อใช้สาหรับมองเห็นและป้ องกัน
ตัวเองจากศัตรู รวมทั้งมีใบหูที่อ่อนนุ่ม
• สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ านมบางชนิด มีการวิวฒั นาการด้วยการปรับเปลี่ยนรยางค์ท้งั 2 คู่ ให้เป็ นไปตามแบบของแต่ละ
สายพันธุ์หรื อในการดารงชีวิต เช่นวาฬที่แต่เดิมจัดเป็ นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่อาศัยบนบก และมีการวิวฒั นาการ
ปรับเปลี่ยนตัวเองด้วยการลดรยางค์จากเดิมที่เป็ นขาคู่หน้า ให้กลายเป็ นครี บเพื่อสาหรับอาศัยในท้องทะเล จาก
หลักฐานโครงกระดูกของวาฬ เมื่อทาการเปรี ยบเทียบลักษณะของกระดูกบริ เวณครี บหน้า จะเห็นว่ามีการพัฒนาและ
เปลี่ยนแปลงด้วยการลดรยางค์คู่หน้า จากเท้าหน้าให้กลายเป็ นครี บ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ านมบางชนิดอาจลดรยางค์ลง
หรื อหายไปเลยก็มี ทั้งนี้กเ็ พื่อการเคลื่อนไหวในรู ปแบบต่าง ๆ และสาหรับการดารงชีวิต มีระบบหมุนเวียนภายใน
ร่ างกาย ที่ประกอบด้วยหัวใจที่มี 4 ห้องเช่นเดียวกับมนุษย์ มีเม็ดเลือดแดงที่มีลกั ษณะกลมแบน และเว้าทั้ง 2 ข้าง
รวมทั้งไม่มีนิวเคลียสเป็ นส่วนประกอบ
การวิวฒั นาการของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
• จากหลักฐานทางธรณี วิทยาพบว่า สัตว์มีกระดูกสันหลังพวกแรกคือออ
สตราโคเดิร์ม (ostracoderm) ซึ่งเป็ นปลาไม่ มีขากรรไกร
ปัจจุบนั สัตว์ในกลุ่มนี้ที่พบคือปลาปากกลม สัตว์มีกระดูกสันหลังอื่นๆที่
พบในลาดับถัดมาคือปลามีขากรรไกรพวกแรก เรี ยกพลาโคเดิร์ม
(placoderm) ซึ่งวิวฒั นาการต่อมาเป็ นปลากระดูกแข็งและปลา
กระดูกอ่อนในปัจจุบนั ต่อมาจึงเกิดสัตว์ครึ่ งบกครึ่ งน้ า สัตว์เลื้อยคลาน
นก และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมตามลาดับ
การจัดจาแนกสัตว์มีกระดูกสันหลัง
• ชั้นใหญ่ พสิ เซส ซึ่งเป็ นสัตว์มีกระดูกสันหลังที่เป็ นสัตว์น้ าหายใจด้วยเหงือก ที่เหงือกมีช่องให้น้ าผ่านเข้าออก อาจมี
แผ่นแข็งปกคลุมหรื อมีผวิ หนังปิ ด มีครี บใช้เคลื่อนไหวและทรงตัว มีหวั ใจ 2 ห้อง เส้นประสาทสมอง 10 คู่ ปก
คลุมตัวด้วยหนังหรื อเกล็ด แบ่งได้เป็ น 3 ชั้นคือ
– ชั้นอะแบทา ได้แก่ปลาปากกลม พบในเขตหนาว ไม่พบในประเทศไทย
– ชั้นคอนดริกไทออส ได้แก่ปลากระดูกอ่อน โครงสร้างเป็ นกระดูกอ่อนทั้งหมด เช่นปลากระเบน ปลาฉลาม ปลาฉนาก
– ชั้นออกตีอกิ ไทออส ได้แก่ปลากระดูกแข็ง เช่น ปลามีปอด ปลาหมอเทศ ปลาดุก
• ชั้นใหญ่ เตราโปดา มีรยางค์ใช้ในการเคลื่อนไหว 2 คู่ หัวใจมี 3 – 4 ห้อง หายใจด้วยปอด แบ่งได้เป็ น 4 ชั้นคือ
–
–
–
–
ชั้นแอมฟิ เบีย ได้แก่สัตว์ครึ่ งบกครึ่ งน้ า เช่น กบ คางคก เขียด ปาดอึง่ อ่าง งูดิน
ชั้นเรปทิเลีย ได้แก่สัตว์เลื้อยคลาน เช่น ตะพาบนา้ ตุ๊กแก กิ้งก่า จิ้งเหลน งู จระเข้
ชั้นเอวีส ได้แก่สัตว์ปีก พวกนกต่างๆ
ชั้นแมมมาเลีย ได้แก่สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม แบ่งได้อีกเป็ น 2 ชั้นยอย คือ
• ชั้นย่อยโปรโตเทเรีย ออกลูกเป็ นไข่ ได้แก่ ตุ่นปากเป็ ดและตัวกินมด
• ชั้นย่อยเทเรีย ออกลูกเป็ นตัว ได้แก่สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่เหลือเช่น จิงโจ้ ค้างคาว นิ่มเกล็ด กระต่าย กระรอก โลมา
2.สั ตว์ ไม่ มกี ระดูกสั นหลัง
• สั ตว์ ไม่ มีกระดูกสั นหลัง (Invertebrates) หมายความรวมถึงสัตว์
ที่ไม่มีแท่งกระดูกสันหลังสาหรับยึดติดให้เป็ นส่ วนเดียวกันของร่ างกาย
จัดเป็ นสัตว์ประเภทที่ไม่มีกระดูก (Bone) อยูภ่ ายในร่ ายกายหรื อมี
เพียงแค่กระดูกอ่อน (Cartilage) มีความแตกต่างจากสัตว์ทมี่ ีกระ
ดุกสันหลัง ที่ท้ งั หมดถูกจัดอยูใ่ นไฟลัมเดียวในอาณาจักรสัตว์ แต่
สาหรับสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง มีจานวนมากมายหลากหลายไฟลัม
และมีจานวนมากกว่าสัตว์ที่มีกระดูกสันหลังมากที่สุดในโลก เช่น
2.1พวกฟองนา้
พวกฟองนา้ เป็ นหนึ่งในสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง สัตว์พวกฟองน้ ามี
ลักษณะคล้ายพืชเกาะนิ่งอยูก่ บั ที่ ฟองน้ าทุกชนิดอาศัยอยูใ่ นน้ าสื บพันธุ์
โดยวิธีแตกหน่ อ ลาตัวมีรูพรุ นเพื่อให้น้ าไหลเข้าไปในโพรงลาตัว
หลังจากดูดเอาออกซิเจนและอาหารแล้วน้ าก็จะออกทางช่องตรงกลาง
พร้อมเศษอาหาร
2.2 พยาธิ
• พยาธิ เป็ นสิ่ งมีชีวิตประเภทปรสิ ต ดารงชีวิตอยูไ่ ด้โดยการแย่งและดูด
ซึมสารอาหารจากร่ างกาย และสื บพันธุ์ในร่ างกายของคนและสัตว์ บาง
ชนิดก็ไม่ก่อความเดือดร้อนต่อร่ างกายคนและสัตว์ที่มนั อาศัยอยู่ เพียงแต่
แย่งดูดซึมอาหารเท่านั้น บางชนิดก็ก่อให้เกิดพยาธิสภาพรุนแรงถึงชีวิต
ได้ถา้ ไม่ได้รับการรักษา พยาธิมีอยูจ่ านวน 3200 ชนิด
(varieties)ในสี่ กลุ่มใหญ่คือ Protozoa, Trematoda,
Cestoda และ Nematoda
2.3 เอไคโนดอร์มาทา
• เอไคโนดอร์ มาทา (Echinodermata) เป็ นไฟลัมหนึ่งของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง มี
สมาชิกได้แก่ ดาวทะเล ดาวเปราะ ปลิงทะเล เม่ นทะเล พลับพลึงทะเลและเหรียญทะเล พบ
เฉพาะในทะเล ชื่อของไฟลัมหมายถึง "สัตว์ที่มีผวิ หนังเป็ นหนาม" แต่ในที่น้ ีหมายถึงสัตว์ที่มี
โครงร่ างภายนอก ซึ่งมีลกั ษณะเป็ นแผ่นหินปูน ทาให้ผวิ ลาตัวมักมีหนามรู ปร่ างต่างๆกัน
เคลื่อนที่โดยใช้เท้าต่อ หายใจโดยใช้ปุ่มตามผิวหนัง หรื อใช้ช่องเหงือกทุกชนิดอาศัยอยูใ่ นทะเล
ดารงชีวติ เป็ นสัตว์หน้าดิน
• สัตว์ในไฟลัมนี้เป็ นพวก Deuterostome มีช่องลาตัวแท้จริ งซึ่งเกิดจากการแบ่งตัวมา
จาก mesoderm สัตว์ในไฟลัมนี้สามารถเคลื่อนที่ได้ดี แต่ชา้ ๆ โดยการใช้เครื อข่ายแรงดัน
ภายในระบบท่อน้ า ซึ่งระบบท่อน้ านี้พฒั นามาจาก coelom และยังทาหน้าที่หายใจ กิน
อาหาร สื บพันธุ์และหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับการหมุนเวียนในร่ างกาย
• ตัวอ่ อนของสัตว์ไฟลัมนี้มีสมมาตรแบบ 2 ส่ วนเท่ากัน แต่เมื่อโตเต็มวัยแล้วจะมีสมมาตรแบบ
ทรงรัศมี 5 แฉก การขับถ่าย และหัวใจไม่ชดั เจน เศษอาหารปล่อยออกทางปาก ระบบประสาท
เป็ น เส้นประสาทแบบวงแหวน อย่างง่ายๆ
2.4 พวกสัตว์ลาตัวกลม
• พวกสั ตว์ ลาตัวกลมเป็ นหนึ่งในพวกสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง สัตว์พวกนี้
มีลกั ษณะเป็ นวุน้ มีโพรงตรงกลางลาตัว มีช่องเปิ ดของลาตัวเพียงช่อง
เดียว ทาหน้าที่เป็ นทั้งปากแลทวารหนัก อาหารเข้าและกากอาหารออก
ทางเดียวกัน มีเข็มพิษไว้ป้องกันตัว ทุกชนิดอาศัยอยูใ่ นน้ า
2.5 พวกหอยกับปลาหมึก
• พวกหอยกับปลาหมึก เป็ นหนึ่งในจาพวก สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง เป็ น
พวกสั ตว์ ทะเลผิวขรุ ขระ สัตว์พวกนี้ตามผิวลาตัวมักมีหนามรู ปร่ าง
ต่างๆกัน เคลื่อนที่โดยใช้เท้าต่อ หายใจโดยใช้ปุ่มตามผิวหนัง หรื อใช้
ช่ องเหงือก ทุกชนิดอาศัยอยูใ่ นทะเล โดยหอยดารงชีวิตเป็ นสัตว์หน้าดิน
ส่ วนหมึกเป็ นสัตว์ที่มีการเคลื่อนที่เป็ นสัตว์ลาตัวนิ่มมีกระดูกอ่อนสี ใส่ ๆ
มีหวั ใจสูบฉีดเลือด หอยเคลื่อนที่ได้โดใช้กล้ามเนื้อที่ ยืน่ ออกจากตัว
ส่ วนหมึกทะเลเคลื่อนที่โดยใช้หนวด และการ พ่นน้ าออกจากลาตัว สัตว์
พวกนี้ ส่ วนใหญ่หายใจด้วยปอดและ ผิวหนัง ออกลูกเป็ นไข่ สืบพันธุ์
แบบอาศัยเพศ ส่ วนใหญ่อาศัยอยูใ่ นน้ าเค็มบางชนิดอาศัยอยูบ่ นบก (พวก
หอยบางชนิด)
2.6 สั ตว์ ขาปล้ อง
• สั ตว์ ขาปล้อง (ชื่อวิทยาศาสตร์ : Arthropoda; อาร์ โธรโพดา) เป็ นไฟลัม
หลักของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง ที่มีขนาดของลาตัวแบ่งเป็ นส่ วน ๆ 3 ส่ วน
ได้แก่ ส่ วนหัว ส่ วนอกและส่ วนท้อง ซึ่ งอาร์ โธรโพดาบางจาพวกอาจจะมีส่วนหัว
และส่ วนอกที่เชื่อต่อกันเป็ นส่ วนเดียวกันด้วยก็ได้ จะมีเปลือกแข็งหุม้ บริ เวณลาตัว
สาหรับทาหน้าที่ป้องกันและช่วยพยุงร่ างกายที่อ่อนนิ่มที่ซ่อนอยูภ่ ายใต้เปลือกแข็ง
และที่สาคัญคือช่วยพยุงให้ร่างกายของพวกอาร์ โธรโพดามีรูปร่ างทีแ่ น่นอน
• อาร์ โธรโพดาจะมีช่องเปิ ดที่สาคัญ มีลกั ษณะเป็ นรู จานวน 2 รู และมีอวัยวะรับ
ความรู ้สึกที่ดี เคลื่อนที่ไปมาได้อย่างรวดเร็ ว และหาอาหารได้อย่างง่ายดาย อาศัย
อยูเ่ กือบทุกแห่งของโลก หรื ออาจเรี ยกได้วา่ อาร์ โธรโพดานั้นมีถิ่นอาศัยอยูท่ ุกแห่ ง
ในโลก เรี ยกได้วา่ ประมาณ 3/4 ของสัตว์ท้ งั หลายภายในโลก คือสัตว์จาพวกอาร์
โธรโพดา
การแบ่งประเภทของสัตว์ตามธรรมชาติ
•
•
•
•
ถ้าจาแนกตามลักษณะที่อยูข่ องสัตว์แล้วก็สามารถแบ่งได้ดงั นี้
สัตว์บก จะอาศัยอยูบ่ นบก เช่น นก หนู ฯลฯ
สัตว์น้ า จะอาศัยอยูใ่ นน้ าเช่น ปลา กุง้ เป็ นต้น
สัตว์ครึ่ งบกครึ่ งน้ า สามารถอาศัยอยูใ่ นน้ าเมื่อแรกเกิด แต่เมื่อโตเต็มวัย
รู ปร่ างจะเปลี่ยนแปลงไปสามารถอาศัยบนบกได้ เช่น กบ เป็ นต้น
จัดทาโดย
• นาย ณัฐนนท์ สุ เมธะ ม.6.4 เลขที่ 22
• นาย กิตติคุณ กุลดี ม.6.4 เลขที่ 19